ค ำขวัญ อัตลักษณ์ - มหาวิทยาลัยรังสิต

ค ำขวัญ อัตลักษณ์ - มหาวิทยาลัยรังสิต ค ำขวัญ อัตลักษณ์ - มหาวิทยาลัยรังสิต

13.07.2015 Views

1ค ำขวัญวิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101)“ ..... ETH วิชาชีวิตพัฒนาจิต พัฒนาความคิดสร้างเสริมปัญญา.....”อัตลักษณ์เป็นต้นแบบของคนดี ประพฤติดี มีมารยาท

1ค ำขวัญวิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101)“ ..... ETH วิชาชีวิตพัฒนาจิต พัฒนาความคิดสร้างเสริมปัญญา.....”อัตลักษณ์เป็นต้นแบบของคนดี ประพฤติดี มีมารยาท


2ที่มำ….การเปิ ดหลักสูตรรายวิชาการพัฒนา และส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101 )*****************************************************************************************************************ด้วยนโยบายด้านคุณธรรม จาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยรังสิตเมื่อปี พ.ศ. 2547 ว่า ……..“.......... ด้านEthics นักศึกษาทุกคนต้องเข้าฟัง Lecture สั้น 3 ช.ม. ที่เกี่ยวกับ Ethicsเทอมละ 2 ครั้งทุกเทอมจนจบการศึกษา ถ้าขาดครั้งใด ต้องเข้าครั้งต่อไปให้ครบจ านวน และ ต้องเรียนวิชาEthics 1วิชาเป็ นCredit ในระยะที่ยังเรียนหนังสือ ถ้าไม่ผ่าน ไม่สามารถจบได้ด้านพฤติกรรมการแต่งกาย นักศึกษาแต่งกายไม่เหมาะสม ไม่ให้เข้าห้องเรียน ไม่ให้ติดต่อใดใดกับทุกหน่วยงาน.......”จากนโยบายข้างต้น ส่งตรงมาที่ ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม อ ธเนศ ศรีวงษ์ ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม(ในขณะนั ้น)ได้ด าเนินการโดยมอบหมายให้อาจารย์ชัชชญา พีระธรณิศร์ ตั ้งคณะท างาน ในการศึกษาค้นคว้า หาข้อมูล จากคณะต่างๆและสถาบันต่างๆ ที่มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับด้านEthics ทั ้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อน ามาวิเคราะห์หาจุดเด่น/จุดด้อย ของแนวทางการด าเนินงาน หาวิธีการจัดการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน พร้อมกันนี ้ ผศ.ยุพา เต็งวัฒนโชติ รองคณบดีฝ่ ายกิจการนักศึกษาคณะแพทย์แผนตะวันออก ก็ได้ช่วยร่างหลักสูตรร่วมกับคณะท างานและเสนออนุมัติโครงการจัดตั ้งวิชาพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษา (ชื่อเดิม) ไปยังผู้อ านวยการส านักงานมาตรฐานวิชาการ ทั ้งยังได้เรียนปรึกษาผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ ายกิจการนักศึกษา และ รองอธิการบดีฝ่ ายวิชาการ เห็นว่าสมควรให้ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เป็ นหน่วยงานดู และ รับผิดชอบ เมื่อตั ้งชื่อวิชาภาษาไทยภาษาอังกฤษ ระบุรหัส หมวดวิชา กลุ่มวิชา เรียบร้อยแล้ว ส านักงานมาตรฐานวิชาการ ได้เสนอยังสภากรรมการมหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณาและอนุมัติ และจากนั ้นก็ส่งเรื่องเพื่อขออนุมัติไปยังส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ต่อไป....วิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม รหัส ETH 101 (Ethics Morals Promotionand Development ) หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ ่มวิชาสังคมศาสตร์ ได้รับการรับรองหลักสูตรนี้จากส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ได้ก่อก าเนิดและ ให้ใช้ได้ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2549...........เนื่องจากการอนุมัติอยู ่ในระหว่างภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2549 วิชานี ้ได้เริ่มการเรียนการสอน ให้กับนักศึกษา คณะแพทย์แผนตะวันออก ชั ้นปี ที่ 1 น าร่อง ทดลองการเรียนการสอนเป็ นครั ้งแรก( รุ ่นที่ 1 ) ในวันอังคารที่ 20 มีนาคม 2550 ใน ภาคฤดูร้อน ของปี การศึกษา 2549


ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2550 ไม่ได้เปิ ดการสอน เนื่องจากมีการปรับปรุงข้อบกพร่อง และพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ ้น และอีกทั ้งส านักงานทะเบียนยังไม่ได้การจัดระบบในการลงทะเบียน และบันทึกข้อมูลในคู่มือนักศึกษาตั ้งแต่ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2550 ได้เปิ ดการเรียนการสอน (รุ่นที่ 2 ) จนถึง ปัจจุบันในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 รวมระยะเวลาในการสอน ก้าวเข้าสู ่ปี ที่ 5 รุ ่นที่ 10ผลการวัดและประเมินและการตอบรับจากนักศึกษาเป็ นที่พึงพอใจ นักศึกษามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักศึกษาจะช่วยประชาสัมพันธ์แนะน าเพื่อนๆ ให้มาลงทะเบียนอย่างต่อเนื่อง อาทิ คณะวิศวกรรมศาสตร์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปและการออกแบบวิทยาลัยดนตรี คณะกายภาพบ าบัด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเภสัชศาสตร์ คณะศิลปะศาสตร์คณะนิเทศศาสตร์ ส่วนคณะที่ให้ความส าคัญและจัดกลุ ่มใหญ่ให้ลงทะเบียนเรียน คือ คณะแพทย์แผนตะวันออก ( เป็ นวิชาบังคับส าหรับนักศึกษา ชั ้นปี ที่ 1 ) คณะบัญชี คณะพยาบาลศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ เป็ นต้นในรุ่นที่ 10 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน 4 กลุ่ม รวมนักศึกษาทั ้งสิ้น 300 คน3---------------------------


้4แผนพัฒนารายวิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101)หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มสังคมศาสตร์( พ.ศ. 2553 – 2557)แนวคิด*****************ตามที่ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรังสิตได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการสอนรายวิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101) มาตั ้งแต่ภาคฤดูร้อน ปี การศึกษา 2549 จนถึงปัจจุบันภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 เป็ นก้าวเข้าสู ่เข้าปี ที่ 5 และ รุ่นที่ 10 นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนได้ทุกภาคการศึกษา มีการจัดระบบการเรียนการสอนตามหลักวิชาการ ที่เน้นการพัฒนาศักยภาพทางใจมุ่งการเรียนรู้จากทฤษฎีสู ่การปฏิบัติจริงและส่งเสริมคุณค่าของความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และเพื่อให้สอดคล้องสมดังเจตนารมณ์ของการศึกษาทั่วไปที่หาใช่เพียงการเรียนรู้ขั ้นพื ้นฐาน บ่มเพาะให้ผู้เรียน มีความพร้อมและมีจิตวิญญาณของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้เรียนสามารถบูรณาการองค์ความรู้ โดยเชื่อมโยงกับชีวิตและวิถีความเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบันเป็ นไปตามแนวปฏิบัติในการพัฒนาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552ลักษณะเฉพาะของการจัดหลักสูตรการจัดหลักสูตรของวิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม(ETH101)ในศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ซึ ่งเป็ นหน่วยงานสนับสนุน1.นโยบายอันเนื่องมาจากภาวะวิกฤติทางสังคม ทางด้านเทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมที่มีผลเยาวชนไทยอย่างรุนแรงโดยเฉพาะด้านคุณธรรมจริยธรรม จากดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต2.รองอธิการบดีฝ่ ายวิชาการมอบหมายให้ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม จัดท าหลักสูตรจัดการเรียนการสอน ด้วยเหตุผลดังนี2.1 ทางคณะมีรายวิชาจริยศาสตร์และวิชาที่เกี่ยวข้องมากอยู ่แล้ว2.2 เป็ นการขยายวิชาการพัฒนานักศึกษาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมเพื่อรองรับนักศึกษาที่มีจ านวนมากขึ ้นได้อีกทางหนึ ่ง2.3 ลักษณะเนื ้อหาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน มีความต่างจากรายวิชาอื่น


้้ที่เห็นได้ชัดคือ เป็ นวิชาที่มุ่งพัฒนาศักยภาพทางใจ มุ่งการเรียนรู้จากทฤษฎีสู ่การปฏิบัติจริงและส่งเสริมคุณค่าของความเป็ นมนุษย์ และความเป็ นวัฒนธรรมไทย มีการปฏิบัติทั ้งในและนอกชั ้นเรียน ให้เห็นและสัมผัสได้จากประสบการณ์จริง ให้สอดคล้องกับ การพัฒนาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 25522.4 ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมเป็ นหน่วยงานที่มีโครงการและกิจกรรมมากในด้านการอนุรักษ์ท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม และวัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ ่งอยู ่ในแผนยุทธศาสตร์ที่ 6 ของการพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต โดยเฉพาะพันธกิจด้านส่งเสริมทางศาสนาคุณธรรมและจริยธรรมกิจกรรมต่างๆจึงเป็ นกิจกรรมรองรับให้นักศึกษาให้ฝึ กภาคปฏิบัติ(กิจกรรมเสริมหลักสูตร)และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะพันธกิจกลุ่มงานที่ 3 กิจกรรมด้านส่งเสริมศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม2.5 เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ (พ.ศ.2545-2559)กับนโยบายในข้อที่ 3 คือการปลูกฝังและเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์3. การรับรองหลักสูตรวิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม รหัสวิชา ETH 101 ( Ethics MoralsPromotion and Development ) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ได้รับการรับรองหลักสูตรนีจากส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ให้ เริ่มใช้ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549...แนวทางการพัฒนารายวิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101)การด าเนินการการเรียนการสอนวิชาดังกล่าว ก าลังเข้าสู ่ก้าวเข้าสู ่ปี ที่ 5 นักศึกษาลงทะเบียนรุ่นที่ 10จากผลการประเมินและการวัดผลในส่วนต่างๆเป็ นที่พึงพอใจของผู้เรียนและอาจารย์ผู้สอน นับว่าเป็ นความภาคภูมิใจเพราะถือว่าเป็ นส่วนหนึ ่งที่ปลูกฝังเยาวชนให้เป็ นคนดีเพื่อไปพัฒนาสังคม ดังนั ้นจึงก าหนดวิสัยทัศน์ และแนวทางการพัฒนาดังนีล าดับ วิสัยทัศน์ แนวทางการพัฒนา ปี การศึกษา หมายเหตุ51. ความเป็ นมาตรฐานวิชาการ- ด้านหลักสูตรมีการปรับปรุงพัฒนา1.ปรับเนื ้อหาหลักและวิธีการสอนให้ทันสมัยต่อสถานการณ์โลกในปัจจุบัน2.เน้นการพัฒนาในด้านพุทธิ2554


62. การเตรียมความพร้อมในโลกของความจริงในชีวิต- ด้านกิจกรรมพิสัย (cognitive domain)ด้านจิตพิสัย (affective domain)และด้านทักษะพิสัย( psycho –motor domain)(เน้นด้านปัญญาและเจตนคติ- พัฒนางานวิจัย/ บทความทางวิชาการและน าผลการวิจัยเพื่อน าพัฒนาต่อไปกิจกรรมในหลักสูตร1. ปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับนโยบายเพื่อสร้างขุมพลังแห่งปัญญา ในการสร้างสังคมธรรมาธิปไตยโดยนักศึกษาจะต้องผ่านการฝึ ก Meditationไม่ต ่ากว่าในระยะเวลา 50 %ของเวลาเรียน2553-25543. คุณภาพผู ้สอนกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพิ่มกิจกรรมพัฒนา/จิตอาสาในสถาบัน สังคมและสิ่งแวดล้อมในชุมชน เสริมสร้างสังคมธรรมาธิปไตย1. พัฒนาระบบการประเมินผู้สอนให้เป็ นมาตรฐานเพิ่มและสรรหาอาจารย์ผู้และการพัฒนาผู้สอน(ด้านกายวาจา ใจ) เพื่อรองรับการเป็ นวิชาบังคับในอนาคต2.อบรมและพัฒนาเนื ้อหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อทดแทนอาจารย์พิเศษ2553-2557 เน้นการฝึ กอบรม1.หลักและวิธีการสอนทั่วไป และหลักการสอนศีลธรรมและคุณธรรม2.การพัฒนาศักยภาพทางใจ(Meditation )


74. คุณภาพการศึกษา(ผู ้เรียน)ด้านการวัดผลและประเมินผลด้านการวัดผล1.พัฒนาระบบการประเมินผู้เรียนและผู้สอนให้เป็ นมาตรฐานตามหลักวิชาการมากยิ่งขึ ้น*2.วัดผลการฝึ กภาคปฎิบัติ ในเชิงตัวเลข....3.การติดตามผลระยะสั ้นและระยะยาวตั ้งแต่ปี 2553 -2557ด้านการประเมินผล1.ในด้านพุทธิพิสัย(cognitivedomain)ด้านจิตพิสัย( affectivedomain)และด้านทักษะพิสัย( psycho – motor domain)3.การติดตามผลระยะสั ้นและระยะยาว


8สรุปผลงานทางวิชาการปี การศึกษา 2551 - 2553**************************งานวิจัยผลงานวิจัยในชั ้นเรียนได้รับทุนวิจัยจากศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน)1. โครงการวิจัย “ การติดตามผลหลังการศึกษาวิชา การพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม( ETH 101 ) ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ”โครงการวิจัยได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัย ซึ ่งอยู ่ในระหว่างการด าเนินการ1. โครงการวิจัยเรื่อง “ การศึกษารูปแบบการพัฒนาและการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม กรณีศึกษา :การมีวินัยของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต ”( จะต้องด าเนินการให้แล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคม ปี การศึกษา 2553 )2. โครงการวิจัยเรื่อง “ การสร้างสื่อการสอน E-Learning : วิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ”( อยู ่ในระหว่างการด าเนินการ )3. ที่ปรึกษาโครงการวิจัยเรื่อง “ ความคิดเห็นต่อผลการท ากิจกรรมของนักศึกษาของคณะกรรมการองค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ”ของส านักงานกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต


9บทความทางวิชาการ1. “ การฝึ กสมาธิกับการเรียนรู ้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ”วารสาร เราช่วยกันท ารวมพลังสร้างสรรค์สังคมไทยโดย คณะอนุกรรมการด าเนินกิจกรรมการสอนที่มุ่งเน้น “ ความรู้คู่คุณธรรม ” และการสอดแทรกจริยธรรม ในการสอน ของ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาอุดมคติไทยกันยายน 25512. “ การบูรณาการกิจกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู ้เรียนในรายวิชา วิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ”วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 25513. “ บทบาทของผู ้สอนในการจัดการสอน สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ”วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตปี ที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2552บทความวิจัย1 เรื่อง “ การติดตามผลหลังการศึกษาวิชา การพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101 )ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ”วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต ปี ที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2553


10TQF : มอค 3รายละเอียดของรายวิชาชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิตวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมหมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป1. รหัสและชื่อรายวิชาETH 101 การพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม( Ethics Morals Promotion and Development )2. จ านวนหน่วยกิต3 หน่วยกิต ( 3-2-3)3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มสังคมศาสตร์4. ผู ้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู ้สอนอาจารย์ชัชชญา พีระธรณิศร์ และคณะ5. ภาคการศึกษา/ ชั ้นปี ที่เรียนทุกภาคเรียนและทุกชั ้นปี6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน( pre-requisite)(ถ้ามี)ไม่มี7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co- requisite)(ถ้ามี)ไม่มี8. สถานที่เรียนมหาวิทยาลัยรังสิต9. วันที่จัดท ารายวิชาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั ้งล่าสุด26 ตุลาคม 2552


11หมวดที่ 2 จุดมุ ่งหมายและวัตถุประสงค์1. จุดมุ ่งหมายของรายวิชาเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื ้นฐานในการด าเนินชีวิต มีภูมิคุ้มกันจิตใจ ทั ้งทางทฤษฎี และปฏิบัติ เทคนิคการผ่อนคลายความเครียด ความอ่อนล้า ความวิตกกังวล สามารถ สร้างพลังใจ กับตนเองได้ การท ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น และการท างานเป็ นทีมได้2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ ปรับปรุงรายวิชาเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ในการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม ทั ้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติให้เข้าไปอยู ่ในใจนักศึกษาได้มีความเข้าใจและ มีหลักในการด าเนินชีวิต มีภูมิคุ้มกันจิตใจ ที่เข้มแข็งได้เรียนรู้เทคนิคการผ่อนคลายความเครียด ความอ่อนล้า ความวิตกกังวล สามารถ สร้างพลังใจ ให้กับตนเองได้ ได้เรียนรู้ ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ทั ้งยังได้ฝึ กฝนการท ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น และการท างานเป็ นทีมหมวดที่ 3 ลักษณะและการด าเนินการ1. ค าอธิบายรายวิชาศึกษาและท าความเข้าใจในสภาพความเป็ นจริงของโลกและชีวิต จนท าให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องส่งผลให้ความคิด ค าพูด และกระท าต่างๆ ถูกต้องตามสภาพความเป็ นจริงของโลกและชีวิตตามไปด้วย จนกลายเป็ นหลักในการด าเนินชีวิตและหลักในการตัดสินใจที่ถูกต้องดีงาม ศึกษามาตรฐานของคนดีที่สังคมต้องการโดยมุ่งเน้นการสร้างเสริมจิตส านึกแห่งความรับผิดชอบต่อตนเอง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมจิตจะได้รับการพัฒนาจากการปฏิบัติให้ตื่นรู้ภายในตน บุคคลจะพึ ่งตนเองได้ จะสามารถคิดเป็ น ยืนหยัดได้ด้วยตนเอง และที่ส าคัญจะมีอาชีพที่สามารถเผื่อแผ่น ้าใจต่อผู้อื่นได้ศึกษาหลักธรรมในการด าเนินชีวิตที่ถูกต้อง ต้นแบบคนดี มาตรฐานคนดี การท าความเห็นให้ตรง และมุ่งเน้นการฝึ กภาคปฏิบัติการ2. จ านวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษาบรรยาย สอนเสริม การฝึ กปฏิบัติงานการศึกษาภาคสนาม/การฝึ กงาน ด้วยตนเอง- บรรยายทฤษฎี24 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา- ภาคปฏิบัติ24 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษามีการสอนและฝึ กภาคปฏิบัตินอกเวลาเรียน ทุกวันพุธสัปดาห์ละ 1ครั ้งๆละ1.30 ชั่วโมงการฝึ กปฏิบัติภาคสนามโดยการเข้าค่ายคุณธรรม1 ครั ้ง( 2 วัน 1 คืน)ศึกษาและปฏิบัติด้วยตนเองทุกวัน( วันละ10-30 นาทีหรือมากกว่านั ้น ตั ้งแต่เปิ ดภาคเรียนจนสิ้นภาคการศึกษาพร้อมทั ้งบันทึกลงสมุดบันทึกความดีทุกวัน3. จ านวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้ค าปรึกษาและแนะน าทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็ นรายบุคคล3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์


้12หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู ้ของนักศึกษา1. คุณธรรม จริยธรรม1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนาผลการเรียนรู้ของวิชาETH101มุ่งเน้นผู้เรียนได้เข้าถึงธรรมชาติที่แท้จริงแห่งมนุษย์ โดยเน้นการฝึ กปฏิบัติและเป็ นการศึกษาแบบองค์รวมจากจิตใต้ส านึกมีความรู้พื ้นฐานในการด าเนินชีวิตที่ถูกต้องในศีลธรรมโดยตรง ผลการเรียนรู้ สามารถน าไปปฏิบัติได้ทุกหัวข้อ เพื่อพัฒนาศักยภาพและพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพจากภายใน (ใจ )สู ่พฤติกรรมภายนอกตามหลักสูตรดังนี1. มีความรู้พื ้นฐานตามหลักธรรมในภาคทฤษฎีที่ น าทางไปสู ่การปฏิบัติ2. มีการปฏิบัติจริงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ ้นเข้าใจความเป็ นจริงของโลกและชีวิต- ต้องมีวินัย มีความเคารพ อดทน ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม- มีภาวะเป็ นผู้น าและผู้ตาม เข้าใจความเป็ นมนุษย์ สามารถท างานเป็ นทีม- สามารถแก้ปัญหาต่างๆ และหาทางออกได้ถูกต้องตามท านองคลองธรรม- สามารถฝึ กปฏิบัติจนเห็นผลการเปลี่ยนแปลง และสามารถพัฒนาตนเองได้- มีจิตอาสาหรือจิตสาธารณะ พร้อมที่จะช่วยเหลือสังคม- น าความรู้ทางคุณธรรมไปวิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหาหาทางออกได้อย่างถูกต้อง ไม่ให้เกิดปัญหาของสังคม- เป็ นกัลยาณมิตรที่ดี ต่อเพื่อน พ่อแม่พี่น้องและบุคคลรอบข้างได้- มีมนุษย์สัมพันธ์ เข้ากับผู้อื่นได้-เคารพกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆของสถาบันการศึกษาสังคมและสิ่งแวดล้อมปฏิบัติตนถูกต้องตามวัฒนธรรมไทย1.2 วิธีการสอน- บรรยาย ประกอบสื่อมัลติมีเดีย มีเรื่องตัวอย่างหรือ case study ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนให้วิเคราะห์ประเด็นต่างๆพร้อมการน าเสนอ- อธิบายประกอบการสาธิต การให้นักศึกษาได้ปฏิบัติจริง- มีแบบฝึ กหัดในชั ้นเรียนในระหว่างเรียน-ในช่วงสอนและระหว่างบรรยาย ให้นักศึกษาได้มีการฝึ กจิตให้สงบนิ่ง ผ่อนคลาย ซึ ่งจะมีผลต่อการเรียน1.3 วิธีการประเมินผล- ดูพฤติกรรมการเข้าเรียน(ขาด-สาย การแต่งกาย มารยาทต่างๆ)


13- ความรับผิดชอบตนเอง ต่อการเรียน งานที่ได้รับมอบหมายและการส่งงานที่ได้รับ มอบหมายให้ตรงเวลา- การเขียนใบงาน การวิเคราะห์ การเขียนรายงาน การท ากิจกรรมและการปฏิบัติงานนอกชั ้นเรียน- การเขียนสมุดบันทึกความดี- การวัดผลสอบกลางภาค และปลายภาค- การท างานเป็ นทีม- การเข้าค่ายคุณธรรม- การท ากิจกรรมนอชั ้นเรียน2. ความรู ้2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ- ความรู้พื ้นฐานของมนุษย์ในการด าเนินชีวิต- เทคโนโลยีชีวิต( สมาธิเบื ้องต้น )- มารยาทไทย- ความจริงของโลกและชีวิต (กฎแห่งกรรม)- เบื ้องหลังความสุข ความส าเร็จในชีวิต ( สัมมาทิฐิ )- หลักในการท าสิ่งที่ดีในชีวิต ( ทาน ศีล ภาวนา)- การสร้างสังคมที่ดี (ทิศ 6)- สูตรส าเร็จการพัฒนาบุคลิกภาพ- หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง2.2 วิธีการสอนบรรยาย ท างานกลุ่ม การน าเสนอ วิเคราะห์กรณีศึกษา สาธิต ปฏิบัติจริง2.3 วิธีการประเมินผลทดสอบย่อย สอบกลางภาค ปลายภาค วิเคราะห์กรณีศึกษา การรายงานผลการปฏิบัติงานนอกชั ้นเรียน3. ทักษะทางปัญญา3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนาการจัดระบบบริหารจัดการกับการด าเนินชีวิตส่วนตัวและการเรียนให้เป็ นระบบ การวิเคราะห์ในการป้ องกันและแก้ปัญหาชีวิต จากนามธรรมสู ่รูปธรรม เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง และเรียนรู้ด้วยตนเอง แก้ปัญหาได้จริง


143.2 วิธีการสอน- บรรยาย แรงจูงใจ/ให้ก าลังใจ (แนะแนวทาง แลกเปลี่ยนประสบการณ์ประสบการณ์ ตรงที่เห็นจริง- วิเคราะห์กรณีตัวอย่าง ให้เกิดการสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม3.3 วิธีการประเมินผล- จากการประเมินผลระหว่างภาค(ผลจากการปฏิบัติจริง)- สอบกลางภาคและปลายภาค เน้นข้อสอบอัตนัย การวิเคราะห์สถานการณ์จริง4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา- พัฒนาทักษะในการมีมนุษย์สัมพันธ์และสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนและผู้สอน- พัฒนาภาวะการณ์เป็ นผู้น าและผู้ตาม การท างานเป็ นทีม กล้าแสดงออก- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจริง ด้วยความซื่อสัตย์ ขยัน อดทนจากการมีความรับผิดชอบ4.2 วิธีการสอน- มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล ในการท ากิจกรรมท าความดี- การน าเสนอรายงาน- วิเคราะห์สถานการณ์4.3 วิธีการประเมินผล- รายงานการปฏิบัติงานด้วยตนเอง- การประเมินตนเองและเพื่อน- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา- ทักษะการใช้ITในการค้นคว้าสืบค้นข้อมูล เรียนรู้ด้วยตนเองจากE-Learning- ทักษะสื่อสารในการพูด การเขียน อ่าน ปฏิบัติ และการน าเสนอในชั ้นเรียนการโต้ตอบแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสม ทันต่อความก้าวหน้าของสถานการณ์ปัจจุบัน5.2 วิธีการสอน- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าจากWebsite สื่อการสอนE-Learning- น าเสนอการสอนโดยใช้รูปแบบและIT ที่เหมาะสม


155.3 วิธีการประเมินผล- ผลจากการด าเนินงานด้วยสื่อIT- การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายหมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล1. แผนการสอนสัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียดที่1 ปฐมนิเทศจ านวนชั่วโมง3กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช้- PRE – TEST- แบบสอบถาม- แนะน าวิชาและวิธีการเรียน- ปรับเจตนคติ- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ผู ้สอนอ.ชัชชญา พีระธรณิศร์อ.ปิ่ นประภา ประวิตรสกลอ.ชนกมณฑ์ รักษาเกียรติ2 บทที่ 1 ความรู ้พื้นฐานของมนุษย์ในการด าเนินชีวิต- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก 3หมวดคือ วิชาการ วิชาชีพวิชาชีวิต- ความรู้พื ้นฐานในการด าเนินชีวิต และเป้ าหมายของชีวิต- ต้นเหตุของปัญหา ซึ ่งเป็ นอุปสรรคของชีวิต กลยุทธ์ในการชนะ อุปสรรค วิธีฟันฝ่ าอุปสรรคต่างๆ3 - บรรยาย- การวิเคราะห์เนื ้อหาจากกรณีศึกษา- ประชุมกลุ่มย่อยน าเสนออ. อดิศวร์ วงศ์วัง


163. บทที่ 2 เทคโนโลยีชีวิต( สมาธิเบื้องต้น )- ความเข้าใจของค าว่า สมาธิเป็ นศาสตร์สากล- ความหมายของสมาธิในลักษณะเชิงผล ในลักษณะเชิงปฏิบัติ- ธรรมชาติของใจประเภทของสมาธิ หลักปฏิบัติในการฝึ กสมาธิเบื ้องต้น- ประโยชน์ของสมาธิในด้านต่างๆ อาทิ สุขภาพ ผู้ครองเรือน และการด าเนินชีวิต3 -บรรยาย ประกอบการใช้สื่อโปรแกรมpower point-วิเตราะห์กรณีตัวอย่างและเขียนลงใบงาน- ฝึ กปฏิบัติในชั ้นเรียนและปฏิบัติเองที่บ้านพร้อมบันทึกลงในสมุดบันทึกท าความดีทุกวันผศ.ยุพาเต็งวัฒนโชติ4. บทที่ 3 มารยาทไทย- ความหมาย และความส าคัญของค าว่า มารยาทไทย- มารยาทไทยที่ควรทราบ- มารยาทไทยประเภทต่างๆ- ความหมาย และข้อควรปฏิบัติของมารยาททางใจ3 -บรรยาย ประกอบการใช้สื่อโปรแกรมpower point-ประชุมกลุ่มย่อยและน าเสนอ- ฝึกปฏิบัติในชั ้นเรียนและทดสอบอ.ชัชชญา พีระธรณิศร์5. บทที่ 4 เบื้องหลังความสุขความส าเร็จในชีวิต (สัมมาทิฐิ)และ หลักในการท าสิ่งที่ดีในชีวิต( ทาน ศีล ภาวนา )- ความหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษาที่แท้จริง- ศึกษาความหมายและความส าคัญของสัมมาทิฐิ3 -บรรยายประกอบการใช้สื่อโปรแกรม powerpoint- เขียนใบงานรศ.ดร.วิมล ชอบชื่นชม


17- แนวคิด ความหมาย และความส าคัญของบุญ- แนวทางการท าบุญ(บุญกิริยาวัตถุ 10 )6. สอบกลางภาค 37. บทที่ 5 การสร้างสังคมที่ดี(ทิศ 6)- ความส าคัญ หน้าที่ แม่บทของสังคมที่ดีคือ ทิศ 6 และการแบ่งกลุ่มประเภท- ศึกษาวงจรการพัฒนาชีวิตและสังคม- ศึกษาโมเดลการสร้างสังคมที่ดีที่โลกต้องการ3 - บรรยาย- เขียนใบงานอ.ปิ่ นประภา ประวิตรสกล8. บทที่ 6 ความจริงของโลกและชีวิต (กฎแห่งกรรม)- ความหมายของค าว่า“ สังสารวัฏ หรือ วัฏสงสาร ”และ “ กฎแห่งกรรม ”- องค์ประกอบที่ท าให้เกิดสังสารวัฏ อาทิ วงจรกิเลสวิบาก กรรม- ประเภทของกรรมมี 2 ฝ่ ายคือ 1. กุศลกรรม 2.อกุศลกรรม และแต่ละฝ่ ายก็สามารถ แบ่งออกตามทวารที่เกิดจาก กาย วาจา ใจ3 - บรรยาย- วิเคราะห์ละครตัวอย่าง- เขียนใบงานอ.อรุณรัตน์ เทพฉิม


189. บทที่ 7 สูตรส าเร็จการพัฒนาบุคลิกภาพ- ความหมายของการพัฒนาบุคลิกภาพและหลักการปฏิบัติที่ก่อให้เกิดบุคลิกภาพที่ดี- มารยาทในสังคมอาทิ วิธีการแต่งกาย การดูแลร่างกาย การดูแลจิตใจ- ภาพรวมของการพัฒนาบุคลิกภาพก็คือ เรื่องของใจเป็ นส าคัญ3 -บรรยาย- ฝึ กปฏิบัติในชั ้นเรียนและเสนอตัวอย่างอ. ดารณี อินทะแสน10. บทที่ 8 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง- ความหมาย ของค าว่าเศรษฐกิจพอเพียง- หลักแนวคิด หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง- ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงแนวทฤษฎีใหม่- ศึกษาความพอเพียงในระดับต่างๆคือ ระดับบุคคลและครอบครัว ระดับชุมชนระดับประเทศ- ศึกษา3 ห่วง 3 เงื่อนไข ทางสายกลาง 3 ทางคือพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี3 - บรรยาย- วิเคราะห์ตัวอย่างเขียนลงใบงานอ.กนกกร ชูแก้ว11. น าเสนอรายงานกลุ่ม 3 อ.ชัชชญา พีระธรณิศร์อ.ปิ่ นประภา ประวิตรสกล


1912. กิจกรรม ETH MUSICAWARD3 นักศึกษาทุกคนท ากิจกรรมร่วมกันเป็ นกลุ่ม โดยการสรุปบทเรียนและน าแต่งมาแต่งเป็ นเพลง ใส่ท านอง น าเสนอโดยร้องเพลงประกอบการแสดง13. กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม 3 นักศึกษาทุกคนเข้าค่ายนอกสถานที่ 2วัน 1 คืน14. ปัจฉิมนิเทศ 3 - ประมวลความรู้- POST- TESTอ.ชัชชญา พีระธรณิศร์อ.ปิ่ นประภา ประวิตรสกลผศ.ยุพา เต็งวัฒนโชติอ.เพ็ญนภาอ.ชัชชญา พีระธรณิศร์อ.ปิ่ นประภา ประวิตรสกลผศ.ยุพา เต็งวัฒนโชติอ.เพ็ญนภาอ.ชัชชญา พีระธรณิศร์อ.ปิ่ นประภา ประวิตรสกล15. สอบปลายภาค 3 อ.ชัชชญา พีระธรณิศร์อ.ปิ่ นประภา ประวิตรสกล2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ้้ ผลการเรียนรู วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล1.1 ,1.22.1 ,5.11.4, 5.1, 1.22.14.1,4.2,2.34.2ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนทดสอบย่อย ใบงานและปฏิบัติจริงสอบกลางภาคทดสอบย่อย ใบงานสอบปลายภาค- ท างานกลุ่ม- ส่งงานตามที่มอบหมาย12,3,467,8,1015ตลอดภาคการศึกษา5 %10%30%10%20%20%


้้20- กิจกรรมนอกชั ้นเรียน- สมุดบันทึกความดี4.1,4.2,4.3 - เช็คชื่อเข้าเรียน- การเข้าชั ้นเรียน(สาย-ขาด)- การมีส่วนร่วมในชั ้นเรียนตลอดภาคการศึกษา5%หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน1.เอกสารและต าราหลัก- เอกสารค าสอนวิชา ETH 101 การพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม- พระสมชาย ฐานวุฑโฒ. มงคลชีวิต 38 ประการ. กรุงเทพฯ : บริษัท ฐานการพิมพ์จ ากัด,2542.- ส. ผ่องสวัสดิ ์ . ครอบครัวอบอุ ่น. กรุงเทพฯ : บริษัท รุ่งศิลป์ การพิมพ์ จ ากัด , 2549.2. เอกสารและข้อมูลส าคัญไม่มี3. เอกสารและข้อมูลแนะน าสื่อ E-Learning / ละครที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ / เว็บไซค์ที่เกี่ยวข้องหมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของรายวิชา1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษาการประเมินประสิทธิผลในรายวิชาโดยนักศึกษาดังนี- สังเกตจากเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของนักศึกษา- สังเกตจากเจตนคติ ในการประเมินผลระหว่างภาคและสิ้นภาคการศึกษา- แบบประเมินผู้สอน- แบบประเมินตนเอง2. กลยุทธ์การประเมินการสอนในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีวิธีการดังนี- ผลการสอบ- การสังเกตการณ์สอนทีมอาจารย์ผู้สอน- ผลประเมินการเรียนรู้


้213. การปรับปรุงการสอน- การวิจัยในและนอกชั ้นเรียน- การปรับปรุงวิธีการสอน- ประชุมคณะกรรมการวิชาในรายงาน การหารือกระบวนการเรียนการสอน4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ ์ของนักศึกษาในรายวิชาในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ ์ ของนักศึกษาดังนี ้ คือ- แบบสอบถาม แบบประเมิน การตรวจผลงาน รวมถึงทดสอบย่อย การรายงานผลการ ปฏิบัติงานนอกชั ้นเรียน- คณะกรรมการวิชา ตรวจและพิจารณา การตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนกิจกรรม คะแนนพฤติกรรม5. การด าเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาจากผลการประเมินต่างๆการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ ์ ของรายวิชาหลักสูตรให้เกิดคุณภาพมากขึ ้นดังนี- ปรับปรุงหลักสูตรและกิจกรรมต่าง- การสับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอนในบทต่างๆ- การท าวิจัยเพื่อประเมินหลักสูตรมีการปรับปรุงและ--------------------------------------


22ผลงานวิจัยและบทความทางวิชาการปี การศึกษา 2551 - 2553**************************งานวิจัยผลงานวิจัยในชั ้นเรียนได้รับทุนวิจัยจากศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน)3. โครงการวิจัย “ การติดตามผลหลังการศึกษาวิชา การพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม( ETH 101 ) ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ”โครงการวิจัยได้รับทุนวิจัยจากสถาบันวิจัย1. โครงการวิจัยเรื่อง “ การศึกษารูปแบบการพัฒนาและการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม กรณีศึกษา :การมีวินัยของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต ”โครงการวิจัยอยู ่ในระหว่างการด าเนินการ2. โครงการวิจัยเรื่อง “ การสร้างสื่อการสอน E-Learning : วิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ”( อยู ่ในระหว่างการด าเนินการ )3. ที่ปรึกษาโครงการวิจัยเรื่อง “ ความคิดเห็นต่อผลการท ากิจกรรมของนักศึกษาของคณะกรรมการองค์กรนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ”ของส านักงานกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต


23บทความทางวิชาการ1. “ การฝึ กสมาธิกับการเรียนรู ้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ”วารสาร เราช่วยกันท ารวมพลังสร้างสรรค์สังคมไทยโดย คณะอนุกรรมการด าเนินกิจกรรมการสอนที่มุ่งเน้น “ ความรู้คู่คุณธรรม ” และการสอดแทรกจริยธรรม ในการสอน ของ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาอุดมคติไทยกันยายน 25514. “ การบูรณาการกิจกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู ้เรียนในรายวิชา วิชาการพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ”วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 25513. “ บทบาทของผู ้สอนในการจัดการสอน สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ”วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิตปี ที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2552บทความวิจัย2 เรื่อง “ การติดตามผลหลังการศึกษาวิชา การพัฒนาและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ( ETH 101 )ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต ”วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต ปี ที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม- มิถุนายน 2553

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!