12.07.2015 Views

Osmopriming Germination Enhancement of Pepper Seed ... - CRDC

Osmopriming Germination Enhancement of Pepper Seed ... - CRDC

Osmopriming Germination Enhancement of Pepper Seed ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 549-552 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 549-552 (2554)การกระตุ ้นความงอกของเมล็ดพันธุ ์พริกด้วยวิธี <strong>Osmopriming</strong><strong>Germination</strong> <strong>Enhancement</strong> <strong>of</strong> <strong>Pepper</strong> <strong>Seed</strong> by <strong>Osmopriming</strong>นิติภูมิ เจริญศรีสัมพันธ์1 พิจิตรา แก้วสอน 1 และ ปริยานุช จุลกะ 1Charoensrisumphan, N. 1 , Kaewsorn, P. 1 and Chulaka, P. 1AbstractCommercial seedling production <strong>of</strong> pepper is <strong>of</strong>ten found the problems with low seed germination, delayedgermination and non-uniformity. Therefore, this research was to study the germination enhancement <strong>of</strong> pepper seed byosmopriming. Experiments were divided into 2 parts. The experiment 1 was effects <strong>of</strong> type and concentration <strong>of</strong>chemical solution on seed quality, which was designed in CRD with 11 treatments followed as: (1) non-soaked seed(control) (2) water (3-5) 0.2, 2 and 3% KNO 3 (6-8) 0.01, 0.015 and 0.05% GA 3 (9-11) 0.005, 0.01 and 0.015% salicylicacid (SA). <strong>Seed</strong>s were soaked in the solution for 7 hours. The experiment 2 was effects <strong>of</strong> chemical solution and seedincubation time on seed quality, which was designed by 4x3 Factorial in CRD. Factor 1 was chemical solutions: 3%KNO 3 , 0.015% GA 3 and 0.015% SA compared with water (control). <strong>Seed</strong>s were soaked for 7 hours with 45 minutes perhour <strong>of</strong> aeration. Factor 2 was seed incubation time: 0 1 and 2 days at 25 o C and 100% RH. The results from the firstexperiment showed that seed soaking in 0.015% GA 3 tended to gave the highest germination in both laboratory (LAB)and greenhouse (GH) (75.00 and 69.50%, respectively) and shortest mean germination time (MGT) (10.17 days) whilenon-soaked seed (control) and soaked seed in water had lowest germination (51 and 54%, respectively) and longestMGT (12.26 and 12.67 days, respectively). In the experiment 2, the results revealed that primed seeds in 0.015% GA 3tended to gave highest germination in both LAB and GH (70.50 and 88.16%, respectively) and shortest MGT (9.12days). Moreover, seed incubating for 1 day gave higher germination and shorter MGT than non-incubation.Keywords: pepper seed, germination, seed priming, seed incubationบทคัดย่อการผลิตต้นกล้าพริกเป็ นการค้ามักพบปัญหาเมล็ดมีความงอกตํา งอกช้า และไม่สมําเสมอ ดังนั นงานวิจัยนี เพือศึกษา การกระตุ ้นความงอกของเมล็ดพันธุ ์พริกด้วยวิธี <strong>Osmopriming</strong> โดยแบ่งเป็ น 2 การทดลอง ดังนี การทดลองที 1 ผลของชนิดและความเข้มข้นของสารละลายต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ ์พริก วางแผนการทดลองแบบ CRD แบ่งเป็ น 11 ทรีทเมนต์ คือ (1) เมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) (2) นํ า (3-5) KNO 3 0.2, 2 และ 3% (6-8) GA 3 0.01, 0.015 และ 0.05% (9-11) SA 0.005, 0.01 และ0.015% โดยแช่เมล็ดในสารละลายเป็ นเวลา 7 ชัวโมง การทดลองที 2 ผลของชนิดสารเคมีและระยะเวลาในการบ่มเมล็ดต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ ์ วางแผนการทดลองแบบ 4 x 3 Factorial in CRD ปัจจัยแรกคือ ชนิดของสารเคมี ได้แก่ KNO 3 3%, GA 30.015% และ SA 0.015% เปรียบเทียบกับนํ า (control) โดยแช่เมล็ดเป็ นเวลา 7 ชัวโมง ร่วมกับการให้อากาศ 45 นาทีต่อชัวโมงปัจจัยทีสองคือ ระยะเวลาการบ่มเมล็ด ได้แก่ 0 1 และ 2 วัน ทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความชื นสัมพัทธ์ 100% ผลการทดลองที 1 พบว่าการแช่เมล็ดในสารละลาย GA 3 0.015% มีแนวโน้มทําให้ความงอกในห้องปฏิบัติการและในสภาพโรงเรือนสูงทีสุด(75.00 และ 69.50% ตามลําดับ) และมีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุด (10.17 วัน) ส่วนเมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) และเมล็ดทีแช่ในนํ ามีความงอกตําทีสุด (51 และ 54% ตามลําดับ) และมีเวลาเฉลียในการงอกช้าทีสุด (12.26 และ 12.67 วันตามลําดับ) ส่วนผลการทดลองที 2 พบว่าเมล็ดทีถูกกระตุ ้นความงอกด้วยการแช่เมล็ดสารละลาย GA 3 0.015% มีแนวโน้มทําให้เมล็ดมีความงอกในห้องปฏิบัติการและในสภาพโรงเรือนสูงทีสุด (70.50 และ 88.16% ตามลําดับ) และมีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุด (9.12 วัน) นอกจากนี การบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 1 วัน ทําให้ความงอกของเมล็ดสูงกว่า และมีเวลาเฉลียในการงอกเร็วกว่า เมือเปรียบเทียบกับเมล็ดทีไม่บ่มคําสําคัญ: เมล็ดพันธุ ์พริก ความงอก การกระตุ ้นความงอก การบ่มเมล็ดพันธุ ์1ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ1Department <strong>of</strong> Horticulture, Faculty <strong>of</strong> Agriculture, Kasetsart University, Bangkok


์550 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตรคํานําพริก (Capsicum sp.) เป็ นพืชผักทีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจในหลายประเทศทัวโลก ทั งในประเทศเขตร้อนและเขตอบอุ ่น (Poulos, 1993) การปลูกพริกโดยการเพาะกล้าแล้วย้ายปลูกในแปลงเป็ นวิธีการทีได้รับความนิยม เพราะได้ต้นกล้าทีแข็งแรงและใช้เมล็ดพันธุ ์น้อยกว่าวิธีอืนๆ (พิทักษ์, 2540) แต่ปัญหาทีเกษตรกรผู ้ปลูกพริกมักพบอยู ่เสมอคือ เมล็ดพริกมีความงอกตํา งอกช้า และงอกไม่สมําเสมอ ทําให้กําหนดแผนการปลูกได้ยาก (Bradford, 1986) ซึง <strong>Osmopriming</strong> เป็ นวิธีกระตุ ้นความงอกของเมล็ดพันธุ ์วิธีหนึงทีได้รับความสนใจ โดยการแช่เมล็ดในสารละลายทีมีค่าความต่างศักย์ของนํ าในระดับทีตํา เพือชะลอการดูดนํ าของเมล็ดให้ช้าลง (McDonald, 2000) ดังนั นความสําเร็จของการกระตุ ้นความงอกด้วยวิธีนี จึงขึ นอยู ่กับชนิดของพืช ชนิดและความเข้มข้นของสารละลาย อุณหภูมิและระยะเวลาในการแช่เมล็ด รวมถึงการลดความชื นหลังกระบวนการกระตุ ้นความงอกแล้ว(Bradford, 1986) เมือนําเมล็ดไปปลูกเมล็ดจะงอกได้เร็วและสมําเสมอมากขึ น (Varier และคณะ, 2010) ดังนั นงานวิจัยนี จึงมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาชนิดและความเข้มข้นของสารละลาย รวมถึงระยะเวลาในการบ่มเมล็ดทีเหมาะสมต่อคุณภาพเมล็ดพันธุพริก เพือทําให้เมล็ดงอกได้เร็วและสมําเสมอมากขึ น อีกทั งยังใช้เป็ นแนวทางในการประยุกต์ใช้ในธุรกิจการผลิตต้นกล้าพริกต่อไปอุปกรณ์และวิธีการการทดลองที 1 ผลของชนิดและความเข้มข้นของสารละลายต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ ์พริกนําเมล็ดพันธุ ์พริกแช่ในสารละลายเป็ นเวลา 7 ชัวโมง โดยใช้เมล็ด 50 กรัมต่อนํ า 1 ลิตร (วิลาสินี, 2547) วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) แบ่งเป็ น 11 ทรีทเมนต์ คือ (1) เมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) (2)นํ า (3-5) KNO 3 ความเข้มข้น 0.2, 2 และ 3% (6-8) GA 3 ความเข้มข้น 0.01, 0.015 และ 0.05% (9-11) Salicylic acid (SA) ความเข้มข้น 0.005, 0.01 และ 0.015% ทําการทดสอบความงอกในห้องปฏิบัติการด้วยวิธี Top <strong>of</strong> paper จํานวน 4 ซํ า ซํ าละ 50เมล็ด ทีอุณหภูมิสลับ 20-30 องศาเซลเซียส ประเมินความงอกตามหลักการของ International <strong>Seed</strong> Testing Association(ISTA, 2010) โดยนับครั งแรก 4 วันหลังเพาะเมล็ด และนับครั งสุดท้าย 14 วันหลังเพาะเมล็ด บันทึกข้อมูล ได้แก่ ความงอก(%) เวลาเฉลียในการงอก (วัน) (Ellis และ Roberts, 1980) และทดสอบความงอกในสภาพโรงเรือน โดยใช้พีทมอสเป็ นวัสดุเพาะ แล้วคํานวณความงอกเป็ นเปอร์เซ็นต์การทดลองที 2 ผลของชนิดสารเคมีและระยะเวลาในการบ่มเมล็ดต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ ์พริกวางแผนการทดลองแบบ 4 x 3 Factorial in CRD โดยปัจจัยแรกคือ ชนิดของสารเคมี ได้แก่ KNO 3 3%, GA 3 0.015%และ Salicylic acid (SA) 0.015% เปรียบเทียบกับนํ า (control) ปัจจัยทีสองคือ ระยะเวลาการบ่มเมล็ด ได้แก่ 0 1 และ 2 วัน นําเมล็ดพันธุ ์พริกแช่ในสารละลายเป็ นเวลา 7 ชัวโมง โดยใช้เมล็ด 50 กรัมต่อนํ า 1 ลิตร ร่วมกับการให้อากาศ 45 นาทีต่อชัวโมง(ประเสริฐ, 2542) จากนั นนําเมล็ดมาแช่ในสาร mancozeb ความเข้มข้น 0.2 กรัมต่อนํ า 100 มิลลิลิตร เป็ นเวลา 10 นาที เพือป้ องกันเชื อรา แล้วนําเมล็ดมาล้างผ่านนํ าไหลเป็ นเวลา 10 นาที จากนั นนําเมล็ดมาบ่มทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความชื นสัมพัทธ์ 100% เป็ นเวลา 0 1 และ 2 วัน แล้วนําเมล็ดมาลดความชื นทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความชื นสัมพัทธ์ 40เปอร์เซ็นต์ เป็ นเวลา 2 วัน (วิลาสินี, 2547) ทดสอบความงอกในห้องปฏิบัติการและในสภาพโรงเรือน และบันทึกข้อมูลเช่นเดียวกับการทดลองที 1ผลและวิจารณ์ผลการทดลองชนิดและความเข้มข้นของสารละลายมีผลทําให้ความงอกในห้องปฏิบัติการและเวลาเฉลียในการงอกแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ แต่ความงอกในสภาพโรงเรือนไม่แตกต่างกันทางสถิติ (Table 1) โดยการแช่เมล็ดในสารละลาย GA 30.015% และ SA 0.015% ทําให้ความงอกในห้องปฏิบัติการสูงทีสุดคือ 75.00 และ 71.50% ตามลําดับ ซึงไม่แตกต่างกันทางสถิติกับการแช่เมล็ดในสารละลาย KNO 3 2 และ 3%, SA 0.005 และ 0.01% และ GA 3 0.01% เปรียบเทียบกับเมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) มีความงอกตําทีสุดคือ 51.00% หรือการแช่เมล็ดในนํ ามีความงอกเพียง 54% เนืองจาก GA 3 ช่วยส่งเสริมการงอกของเมล็ด โดยกระตุ ้นการทํางานของเอนไซม์ เช่น α- และ β-amylase ผ่านชั น aleurone ซึงเกียวข้องกับการย่อยสลายอาหารสะสมของเมล็ด (Copeland และ McDonald, 1995) ส่วน SA มีส่วนช่วยในการขยายขนาดของเซลล์ และส่งเสริมให้ระดับของ hydrogen peroxide (H 2 O 2 ) เพิมขึ น ซึง H 2 O 2 สามารถกระตุ ้นการงอกและการหายใจของเมล็ดได้ (Harfouche และคณะ, 2007) ส่วนความงอกในสภาพโรงเรือนไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (Table 1) โดยการแช่เมล็ดในสารละลาย GA 30.015% มีแนวโน้มทําให้ความงอกในสภาพโรงเรือนสูงทีสุดคือ 69.50% ส่วนการแช่เมล็ดในสารละลาย KNO 3 2% มีแนวโน้มความงอกในสภาพโรงเรือนตําทีสุดคือ 48.00% ในขณะทีชนิดและความเข้มข้นของสารละลายมีผลต่อเวลาเฉลียในการงอกของเมล็ด โดยการแช่เมล็ดในสารละลาย GA 3 0.05 และ 0.015% มีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุดคือ 9.77 และ 10.17 วัน ตามลําดับส่วนเมล็ดทีแช่ในนํ า เมล็ดทีแช่ในสารละลาย KNO 3 0.2% และเมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) มีเวลาเฉลียในการงอกช้า


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 551ทีสุดคือ 12.67 12.39 และ 12.26 วัน ตามลําดับ สอดคล้องกับ เบญจรงค์ (2550) รายงานการแช่เมล็ดพริกในสารละลายจิบเบอเรลลิน ความเข้มข้น 0.03% มีค่าดัชนีการงอกสูงกว่าการแช่เมล็ดในสารละลาย KNO 3 0.5% แสดงว่าเมล็ดงอกได้เร็วกว่าดังนั นการแช่เมล็ดพริกในสารละลาย GA 3 0.015% มีแนวโน้มทําให้ความงอกในห้องปฏิบัติการและในสภาพโรงเรือนสูงทีสุดและมีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุด (Table 1)ชนิดสารเคมีและระยะเวลาในการบ่มเมล็ดมีผลต่อความงอกในห้องปฏิบัติการ ความงอกในสภาพโรงเรือน และเวลาเฉลียในการงอกแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (Table 2) โดยการกระตุ ้นความงอกในนํ า (control) และสารละลาย GA 30.015% ทําให้ความงอกในห้องปฏิบัติการสูงทีสุดคือ 76.16 และ 70.50% ตามลําดับ ส่วนสารละลาย SA 0.015% และ KNO 33% มีความงอกตําทีสุดคือ 62.33 และ 67.00% ตามลําดับ อาจเนืองจากระดับความเข้มข้นของสารละลาย SA และ KNO 3 ยังไม่เหมาะสม จึงส่งผลให้มีความงอกลดลง การกระตุ ้นความงอกด้วยการแช่นํ า, สารละลาย GA 3 0.015% และ KNO 3 3% ทําให้ความงอกในสภาพโรงเรือนสูงทีสุดและไม่แตกต่างกันทางสถิติคือ 88.33 88.16 และ 86.66% ตามลําดับ ในขณะทีการกระตุ ้นความงอกด้วย SA 0.015% มีความงอกในสภาพโรงเรือนตําสุดคือ 79.83% ซึงสอดคล้องกับความงอกในห้องปฏิบัติการนอกจากนี ชนิดและความเข้มข้นของสารละลายมีผลต่อเวลาเฉลียในการงอกของเมล็ด โดยการกระตุ ้นความงอกด้วย GA 30.015% มีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุดคือ 9.12 วัน ส่วนการกระตุ ้นในสารละลาย SA 0.015% และการใช้นํ ามีเวลาเฉลียในการงอกช้าทีสุดคือ 9.99 และ 9.70 วัน ตามลําดับ เมือพิจารณาระยะเวลาการบ่มเมล็ดพันธุ ์พบว่า การบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 1 วัน มีผลทําให้เมล็ดงอกในห้องปฎิบัติการและในสภาพแปลงสูงทีสุดคือ 81.63 และ 90.50% ตามลําดับ ซึงแตกต่างกันทางสถิติกับการไม่บ่มเมล็ดและบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 2 วัน มีความงอกในห้องปฎิบัติการเพียง 61.50 และ 63.88% ตามลําดับ และความงอกในสภาพโรงเรือน 83.12 และ 83.62% ตามลําดับ (Table 2) ซึงการบ่มเมล็ดในระยะเวลาทีเหมาะสมจะทําให้กระบวนการงอกภายในเมล็ดสามารถดําเนินไปได้อย่างสมบรูณ์มากขึ น เกิดการซ่อมแซม การสร้าง DNA RNA และโปรตีน รวมถึงผนังเซลล์ของเมล็ด เพือใช้ในกระบวนการงอกและยังป้ องกันการสูญเสียนํ าออกจากเมล็ดทีเร็วจนเกินไปด้วย (Fujikura และคณะ, 1993)นอกจากนี ระยะเวลาในการบ่มเมล็ดยังมีผลต่อเวลาเฉลียในการงอกของเมล็ด โดยการบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 1 และ 2 วัน มีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุดคือ 9.26 และ 9.16 วัน ตามลําดับ ส่วนเมล็ดทีไม่บ่มมีเวลาเฉลียในการงอกช้าทีสุดคือ 10.33 วันสอดคล้องกับ วิลาสินี (2547) รายงานว่า การบ่มเมล็ดพริกภายหลังจากกระตุ ้นความงอกด้วยวิธี hydropriming เป็ นเวลา 2 วันทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความชื นสัมพัทธ์ 100% มีผลทําให้ดัชนีการงอกสูงทีสุด แสดงว่าเมล็ดงอกได้เร็วทีสุด เมือเปรียบเทียบกับการบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 1 และ 3 วัน เมือพิจารณาอิทธิพลร่วมระหว่างชนิดสารละลายกับระยะเวลาการบ่มเมล็ดพบว่า มีอิทธิพลร่วมต่อเวลาเฉลียในการงอกของเมล็ด (Figure 1) โดยการกระตุ ้นความงอกของเมล็ดพริกในสารละลาย GA 30.015% แล้วนําเมล็ดมาบ่มเป็ นเวลา 2 วัน มีผลทําให้เวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุดคือ 8.40 วัน ซึงไม่แตกต่างทางสถิติกับการกระตุ ้นความงอกในสารละลาย GA 3 0.015% แล้วบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 1 วัน และการกระตุ ้นความงอกในสารละลาย KNO 3 3%ร่วมกับการบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 2 วัน ในขณะทีการกระตุ ้นความงอกในสารละลาย SA 0.015% KNO 3 3% และ GA 3 0.015% แล้วไม่บ่มเมล็ด มีเวลาเฉลียในการงอกช้าทีสุดคือ 10.21 10.55 และ 10.79 วัน ตามลําดับ ดังนั นการกระตุ ้นความงอกของเมล็ดพริกในสารละลาย GA 3 0.015% และบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 1 วัน สามารถทําให้เมล็ดมีความงอกสูง งอกได้เร็วและสมําเสมอมากขึ นสรุปผลการแช่เมล็ดพริกในสารละลาย GA 3 0.015% หรือการกระตุ ้นความงอกเมล็ดในสารละลาย GA 3 0.015% ร่วมกับการบ่มเมล็ดเป็ นเวลา 1 วัน มีแนวโน้มทําให้เมล็ดมีความงอกในห้องปฏิบัติการและความงอกในสภาพโรงเรือนสูงทีสุดและมีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุดเอกสารอ้างอิงเบญจรงค์ ธิกุลวงษ์, 2550, การเปรียบเทียบผลของ KNO 3 และ GA ทีมีต่อความงอกของพริก “บางช้าง 365”, ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ประเสริฐ ประภานภสินธุ ์, 2542, การกระตุ ้นการงอกของเมล็ดพริกด้วยวิธี Hydropriming และ <strong>Osmopriming</strong>, ปัญหาพิเศษปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.พิทักษ์ เทพสมบูรณ์, 2540, การปลูกพริก, อักษรสยามการพิมพ์, กรุงเทพฯ.วิลาสินี รามนัฏ, 2547, การกระตุ ้นการงอกเมล็ดพันธุ ์พริกโดยวิธี Hydropriming, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.Bradford, K.J., 1986, Manipulation <strong>of</strong> <strong>Seed</strong> Water Relation via Osmotic Priming To Improve <strong>Germination</strong> under StressCondition, HortScience, 21: 1105-1112.


550 552ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตรCopeland, L.O. and McDonald, M.B., 1995, <strong>Seed</strong> Science and Technology, Chapman & Hill, New York.Ellis, R.H. and Roberts, D.J., 1980, The Influence <strong>of</strong> Temperature and Moisture on <strong>Seed</strong> Viability Period in Barley(Hordeum distichum L.), Ann. Bot., 45: 31-37.Fujikura, Y., Kraak, H.L., Basra, A.S. and Karssen, C.M., 1993, Hydropriming a Simple and Inexpensive PrimingMethod, <strong>Seed</strong> Science and Technology, 21: 369-642.Harfouche, A.L., Rugini, E., Mencarelli, F., Botondi, R. and Muleo, R., 2007, Salicylic Acid Induces H 2 O 2 Productionand Endochitinase Gene Expression but not Ethylene Biosynthesis in Castanea sativa in vitro Model System,Journal <strong>of</strong> Plant Physiology, 165: 734-744.International <strong>Seed</strong> Testing Association, 2010, International Rules for <strong>Seed</strong> Testing, Bassersdorf, Switzerland.McDonald, M.B., 2000, <strong>Seed</strong> Priming, <strong>Seed</strong> Technology and Its Biological Basic, Sheffield Academic Press,England, pp. 287-325.Poulos, J.M., 1993, <strong>Pepper</strong> Breeding, Breeding <strong>of</strong> Solanaceous and Cole Crops, Asian Vegetable Research andDevelopment Center, Tainan, Taiwan, pp. 85-151.Varier, A., Vari, A.K. and Dadlani, M., 2010, The Subcellular Basic <strong>of</strong> <strong>Seed</strong> Priming, Current Science, 99: 450-456.12109.78bcd 10.55ab 10.21abc 10.79a 9.93cde9.26ef8.75fg 9.13ef 9.40def8.82fg8.40g10.05bcd86420Water (control)MGT (day)3% KNO30.015% GA30.015 % SAWater (control)3% KNO30.015% GA30.015 % SAWater (control)3% KNO30.015% GA30.015 % SANon-incubation Incubation for 1 day Incubation for 2 daysFigure 1 Mean germination time (MGT) <strong>of</strong> pepper seeds after priming with different chemical solution and incubation timesTreatmentTable 1 The effects <strong>of</strong> type and concentration <strong>of</strong> chemical solution onseed qualityTreatment LAB germination (%) GH germination (%) MGT (Day)Control 51.00d 1/ 60.00 12.26abWater 54.00c 54.50 12.67a0.2% KNO 356.00bcd 63.50 12.39a2% KNO 365.00abc 48.00 11.72b3% KNO 366.00abc 50.50 10.85c0.01% GA 363.00abcd 63.00 10.44cd0.015% GA 375.00a 69.50 10.17de0.05% GA 357.00bcd 65.00 9.77e0.005 % SA 67.50ab 60.00 10.95c0.01 % SA 67.50ab 59.50 10.98c0.015 % SA 71.50a 62.00 10.98cF-test ** ns **C.V. (%) 12.79 18.11 3.441/Mean in the same column followed by the same letter are not significantlydifferent at p ≤ 0.01 by DMRTns = Non significantTable 2 Effects <strong>of</strong> chemical solution and seed incubation time on seed qualityFactor LAB germination (%) GH germination (%) MGT (Day)Solution (A)Water (control) 76.16a 1/ 88.33a 9.70ab3% KNO 3 67.00bc 86.66a 9.54b0.015% GA 3 70.50ab 88.16a 9.12c0.015% SA 62.33c 79.83b 9.99aF-test ** ** **Incubation time (B)non-incubation 61.50b 83.12b 10.33aincubation 1 day 81.63a 90.50a 9.26bincubation 2 days 63.88b 83.62b 9.16bF-test ** ** **AxB ns ns **C.V. (%) 9.98 6.10 4.361/ Mean in the same column follow by the same letter are not significantlydifferent at p ≤ 0.01 by DMRTns = Nonsignificant

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!