12.07.2015 Views

asean mra - Thailand Automotive Institute

asean mra - Thailand Automotive Institute

asean mra - Thailand Automotive Institute

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานศึกษาผลกระทบดานการทดสอบตามมาตรฐานแนบทาย ASEAN MRA1. บทนํา1.1) ความเปนมา :คณะทํางานดานผลิตภัณฑยานยนต (<strong>Automotive</strong> Product Working Group-APWG) จัดตั้งขึ้นตามมติที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาดานมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN ConsultativeCommittee for Standards and Quality - ACCSQ) ครั้งที่ 24 เมื่อเดือนสิงหาคม 2547 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินการตามมาตรการดานมาตรฐานและการรับรอง และขจัดอุปสรรคทางเทคนิคตอการคาสําหรับผลิตภัณฑยานยนต โดยมีกิจกรรมหลักที่พิจารณา คือ• การแลกเปลี่ยนขอมูลดานการมาตรฐาน และกฎระเบียบ• การพิจารณาและวิเคราะหขอมูลระบบกฎระเบียบ (regulatory regime)• การปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิคใหสอดคลองกัน โดยใช UNECE Regulation เปนพื้นฐาน ในเรื่อง safety, environment, Vehicle Type Approval (VTA) และ Conformity of Production(COP)• การจัดทําความตกลงยอมรับรวม (MRA)• การเตรียมความพรอมดาน technical infrastructure และการสรางความเชื่อมั่นในเรื่องการตรวจสอบและรับรอง• การสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกในเรื่องมาตรฐานกฎระเบียบและความชวยเหลือดานเทคนิคโดยคณะทํางานฯ ประกอบดวย ประธาน คือ ประเทศอินโดนีเซียประธานรวม คือ ประเทศไทยสวน Task force for MRAs on <strong>Automotive</strong>s ไดจัดตั้งขึ้นตามมติที่ประชุม APWG เมื่อเดือนสิงหาคม 2552 เพื่อชวยพิจารณาการจัดทํา MRA และ ASEAN Common Harmonized Regulatory Schemeโดยมีกรอบงาน ดังนี้• ชวยเหลือในการดําเนินการตามมาตรการใน Roadmap for <strong>Automotive</strong>• จัดทํา MRA ตาม specified areas ที่ APWG ระบุ• จัดทําระบบกฎระเบียบใหเปนหนึ่งเดียวกัน (single regulatory regime) หรือ directive สําหรับสาขายานยนตของอาเซียน• ระบุปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะดานความชวยเหลือทางเทคนิคเพื่อแกไขปญหาโดย Task force ประกอบดวย ประธาน คือ ประเทศมาเลเซีย ประธานรวม คือ ประเทศไทย และประเทศสมาชิกอาเซียนที่ประสงคเขารวม1


1.2) ราง ASEAN Mutual Recognition Arrangement ฉบับที่ 3:อางอิง0.) บทนํา วาดวยเหตุผลและความจําเปนในการทํา MRA และสนธิสัญญาของ ASEAN ที่ใชในการ1.) Article 1: Objectives - วัตถุประสงคของ MRA เพื่อความรวมมือในการสงเสริมความปลอดภัยและคุณภาพของผลิตภัณฑยานยนตระหวางประเทศสมาชิก ลดขอจํากัดทางการคาดานเทคนิค (TechnicalBarriers to Trade) และสงเสริมความเขมแข็งดานการทดสอบระหวางประเทศสมาชิก2.) Article 2: Definitions - นิยามที่เปนคําทั่วไปเกี่ยวกับ Conformity assessment ใหอางอิงตามUNECE 1958 Agreement นอกจากนั้นเปนคําที่ Task Force บัญญัติขึ้น3.) Article 3: General Provisions - ประเทศสมาชิกยอมรับผล Conformity assessment ที่ออกโดยTechnical Services ที่ขึ้นทะเบียน และประเทศสมาชิกตองใหความมั่นใจวา Technical Services ดําเนินการเปนไปตามขอกําหนดใน MRA นี้4.) Article 4: Scope and Coverage - ผล Conformity assessment ใชเฉพาะผลิตภัณฑยานยนตที่ระบุใน Annex 1 และผลิตภัณฑยานยนตดังกลาวเปนผลิตภัณฑใหมที่ผลิตและจําหนายในกลุม ASEAN5.) Article 5: Institutional Arrangement - ACCSQ จะจัดตั้ง ASEAN <strong>Automotive</strong> Committee(AAC) ประกอบดวยผูแทนหนึ่งคนจากแตละประเทศสมาชิก เพื่อทําหนาที่ควบคุมการดําเนินการตาม MRA6.) Article 6: Monitoring Technical Service - หนวยงานของแตละประเทศสมาชิกที่ทําหนาที่เปนContact point ของ MRA ตองมั่นใจวา Technical Services มีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวใน Annex 2 และควบคุมดูแลการทํางานของ Technical Services เหลานั้นใหเปนไปตาม MRA7.) Article 7: Listing of Technical Service - กระบวนการขึ้นทะเบียนเปน Technical Services โดยหนวยงาน Contact point ของ MRA สําหรับประเทศหนึ่งๆที่ไมมี Technical Services สามารถแตงตั้งTechnical Services ของประเทศอื่นใหเปน Technical Services ของประเทศนั้นๆ ได และเพิ่มเงื่อนไขการแตงตั้ง Technical Services นอกกลุม ASEAN2


8.) Article 8: Verification of Technical Competence of Technical Service - กระบวนการตรวจสอบความสามารถของ Technical Services เมื่อมีการรองเรียน9.) Article 9: Technical Competence of Technical Service - Technical Service ตองไดรับการรับรอง ISO/IEC 17025, ISO/IEC 17021 หรือ ISO/IEC 1702010.) Article 10: Suspension of Listed Technical Services - กระบวนการพัก เพิกถอน TechnicalServices11.) Article 11: Implementation - ประเทศสมาชิกตองดําเนินการตางๆ เชน การ harmonizeมาตรฐาน การกําหนดระเบียบขอบังคับ ใหสามารถใช MRA ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสื่อสารกับประเทศสมาชิกเพื่อใหทราบ12.) Article 12: Consultation and Settlement of Dispute - ใหนํา ASEAN Protocol on EnhancedDispute Settlement Mechanism ที่กระทําขึ้นที่เวียงจันทร ประเทศลาวเมื่อวันที่ 29 พ.ย. 2004 มาใชในกรณีมีขอขัดแยงเนื่องจากการใช MRA13.) Article 13: Confidentiality - ประเทศสมาชิกตองดําเนินการดวยความระมัดระวังในการรักษาความลับของขอมูลที่มีการแลกเปลี่ยนกันระหวางประเทศสมาชิก14.) Article 14: Final Provisions - ใหประเทศสมาชิกมีการทําสัตยาบันภายใน 180 วัน หลังมีการลงนามAnnex 1: List of <strong>Automotive</strong> Products within the Scope of the Arrangement - รายการมาตรฐานแนบทาย MRA จํานวน 19 รายการ3


ตารางที่ 1: มาตรฐานแนบทาย MRANO. AUTOMOTIVE PRODUCT UNECE REGULATION1 Braking System R132 Braking System (Passenger Car) R13H3 Seat belt anchorage R144 Seat belt R165 Seats R176 Head Restraints R257 Pneumatic tyre – passenger R308 Speedometer (L category) R399 Exhaust Emission (L category) R4010 Noise (L category) R4111 Safety glass R4312 Rear View Mirror R4613 Diesel Emission R4914 Noise emission R5115 Pneumatic tyre – commercial R5416 Driver Operated Control R6017 Tyre (L category) R7518 Steering Equipment R7919 Exhaust Emission R83Annex 2: Designation and Requirements for Technical Service - คุณสมบัติของ TechnicalServices และการขึ้นทะเบียนAnnex 3: Procedure for the Assessment of Technical Service – กระบวนการประเมิน TechnicalServices(The 3 rd draft ASEAN MRA ตามเอกสารแนบ)4


2. ผลกระทบของการทํา ASEAN MRAการนํา ASEAN MRA ดานมาตรฐานและการรับรองยานยนตมาใช ทําใหทุกประเทศใน ASEANรวมถึงการนํามาตรฐานUN ECE ซึ่งเปนมาตรฐานสากลดานยานยนต ซึ่งเปนมาตรฐานกลางที่ทุกประเทศยอมรับ แทนการใชมาตรฐานของแตละประเทศเอง ซึ่งประเทศไทยไดมีแนวทางการพัฒนามาตรฐานตามUNECE อยูแลว นั้นจะทําใหประเทศในภูมิภาค ASEAN มีกติกาเดียวกันทั่วภูมิภาค ซึ่งเปนการสงเสริมการพัฒนาใหกับผูประกอบการและภาครัฐของประเทศไทยและประเทศสมาชิกในอาเซียนไดพัฒนาใหมีศักยภาพในการแขงขันในระดับโลกนอกจากนี้การทํา MRA ยังเปนการลดขั้นตอนของผูประกอบการของภาคเอกชน และภาครัฐ เชนการผานการทดสอบและรับรองที่ประเทศไทยสามารถนําผลไปใชไดกับทุกประเทศในอาเซียน ทําใหลดการซ้ําซอน ลดคาใชจายในการตรวจสอบและรับรอง สงผลถึงการลดตนทุนการผลิตสินคาเนื่องจากทําใหผลิตสินคาใหสอดคลองกับมาตรฐานเดียวทั่วทั้งภูมิภาคอยางไรก็ดี ผูประกอบการที่ขาดความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑใหเปนไปตามมาตรฐานแนบทาย MRA นี้จะทําใหเสียประโยชนในการขยายโอกาสการจําหนายไปสูประเทศอื่นในภูมิภาค ซึ่งไมเพียงการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑตามมาตรฐานเทานั้น ยังตองพัฒนาการผลิตใหมีราคาที่แขงขันไดอีกดวย3. มาตรฐานปจจุบันของไทยเปรียบเทียบกับมาตรฐานแนบทาย MRAหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่เกี่ยวของในเรื่องมาตรฐานยานยนตหลัก ๆ ไดแก กรมการขนสงทางบก และสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) โดยกรมการขนสงทางบก (DLT) มีหนาที่ในการกําหนดและควบคุมมาตรฐานความปลอดภัยสําหรับยานยนตเพื่อใชในการจดทะเบียน สมอ. มีหนาที่ในการกําหนดและควบคุมมาตรฐานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมสําหรับยานยนตและชิ้นสวน โดยหนวยงานที ่เกี่ยวของดังกลาวมีทิศทางการปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมยานยนตตามมาตรฐาน UNECE เชนกัน โดยปจจุบันมาตรฐานยานยนตที่ประเทศไทยอางอิงตาม UNECE เปรียบเทียบกับมาตรฐานแนบทาย MRA มีดังนี้5


ผูกําหนดมาตรฐานชิ้นสวนยานยนต สวน DLT จะกําหนดมาตรฐานของระบบรถทั้งคัน อยางไรก็ดีทั้งสองหนวยงานมีการทํางานที่อิสระตอกัน แตมาตรฐานแนบทาย MRA นั้นประกอบดวยมาตรฐานที่จะเกี่ยวของกับบทบาทหนาที่ของทั้งสองหนวยงาน (ตารางที่ 2) ซึ่งมาตรฐานบางรายการยังไมมีการจัดทําขึ้นโดยหนวยงานที่เกี่ยวของเชนมาตรฐานเสียงรถยนต (ECE R51) หรือ Steering Equipment (ECE R79) เปนตนดังนั้น หนวยงานที่เกี่ยวของจําเปนตองทบทวนมาตรฐานของประเทศที่มีอยูใหสอดคลองกับมาตรฐานแนบทาย MRA และจัดทํามาตรฐานเพิ่มเติมในสวนที่ยังขาดอยู4.2) ดานการทดสอบ; ตามที่ไดกลาวแลวในตอนตน มาตรฐานบังคับบางรายการของประเทศเปนมาตรฐานที่อางอิงกับ UNECE ซึ่งเปนรายการมาตรฐานที่ถูกกําหนดตาม ASEAN MRA ดวยเชนกัน ไดแกมลพิษจากไอเสียรถยนต กระจกนิรภัย เข็มขัดนิรภัย ซึ่งผูใหบริการทดสอบที่เปนหนวยงานกลางและผูประกอบการที่ผลิตยานยนตและชิ้นสวนตามมาตรฐานบังคับเหลานั้น ตองจัดหาและพัฒนาเครื่องมือทดสอบใหสอดรับกับการบังคับใชมาตรฐาน หากพิจารณาความสามารถในการทดสอบของหนวยงานกลางและผูประกอบการตามมาตรฐานแนบทาย MRA ทั้งหมดแลวนั้น ประเทศยังมีไมเพียงพอ เนื่องจากบางรายการทดสอบตองใชเงินลงทุนสูง และบางรายการตองทําการทดสอบดวยสนามทดสอบที่ตองใชพื้นที่มาก อยางไรก็ดีภาครัฐมีแผนการพัฒนาศูนยทดสอบสถาบันยานยนตโดยมีวัตถุประสงคสวนหนึ่ง เพื่อรองรับการทดสอบตามมาตรฐานแนบทาย MRA ซึ่งโครงการพัฒนาฯดังกลาวไดผานการพิจารณาจากคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมแหงชาติ (กอช.) เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2553 และผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ซึ่งสามารถสรุปความสามารถในการทดสอบของหนวยงานรัฐและผูประกอบการในปจจุบัน รวมทั้งแผนการพัฒนาศูนยทดสอบใหสามารถรองรับ MRA ดังรายละเอียดตามตารางขางลางนี้ตารางที่ 3: ความพรอมดานการทดสอบตามมาตรฐานแนบทาย MRAASEAN MRA หนวยงานรัฐ ผูประกอบการแผนพัฒนาศูนยทดสอบฯECE R13: BrakingSystem- - ECE R13H: Brakingfor Passenger- - ECE R14: Seat beltanchorage- - ECE R16: Seat belt - Autoliv หมายเหตุตองใชสนามทดสอบตองใชสนามทดสอบ7


ASEAN MRA หนวยงานรัฐ ผูประกอบการECE R17: SeatECE R25: HeadRestraintECE R30: Tyre forpassengerศูนยวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยางไทย (RDCTRI)-NHKบางรายการแผนพัฒนาศูนยทดสอบฯ- - ผูผลิตยางECE R39:Speedometer (L)ECE R40: Exhaust TAI, PCDEmission (L)ECE R41: Noise forผูผลิต-MotorcycleจักรยานยนตECE R43: Safety glass TAI AGS, PMK,Saint Goban,VMCECE R46: Rear ViewMirrorECE R49: DieselEmissionECE R51: NoiseemissionECE R54: Tyre forcommercialECE R60: DriverOperated Control ofMotorcycleECE R75: Tyre (Lcategory)ECE R79: SteeringEquipmentTAI- -BP, WDI,ฯลฯPTT- - RDCTRI ผูผลิตยาง- - RDCTRI ผูผลิตยาง- - หมายเหตุทดสอบบน ChassisDyno.ตองใชสนามทดสอบตองใชสนามทดสอบไมตองทดสอบดวยเครื่องมือดําเนินการโดยผูผลิตรถจักรยานยนตตองใชสนามทดสอบ8


ASEAN MRA หนวยงานรัฐ ผูประกอบการECE R83: Emission forLight VehicleTAI, PCD ผูประกอบรถยนต(ยกเวน GM,Benz, BMW)หมายเหตุ : AGC; AGC <strong>Automotive</strong> (<strong>Thailand</strong>) Co., Ltd.Autoliv; Autoliv (<strong>Thailand</strong>) Ltd.PMK; PMK-Central Glass Co., Ltd.WDI; Wichien Dynamic Industry Co., Ltd.PTT; สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท.แผนพัฒนาศูนยทดสอบฯหมายเหตุจากตารางขางตน การทดสอบที่มีความพรอมสําหรับหองปฏิบัติการกลาง และผูประกอบการไดแกการทดสอบที่เกี่ยวกับมลพิษจากไอเสีย ลอยาง และกระจกนิรภัย ซึ่งประเทศไทยมีความกาวหนาเปนอันดับตนในกลุม ASEAN สวนการทดสอบชิ้นสวนที่ตองมีการลงทุนเครื่องมือทดสอบสูงเชน การทดสอบเบาะนั่งรถยนตและเข็มขัดนิรภัย ไมมีหองปฏิบัติการกลางใหบริการทดสอบได สวนผูผลิตชิ้นสวนเองมีเพียงบริษัทขามชาติบางรายเทานั้นที่มีสามารถทดสอบไดแมวาเข็มขัดนิรภัยจะเปนมาตรฐานบังคับก็ตามยิ่งไปกวานั้นการทดสอบในมาตรฐานที่จําเปนตองใชสนามทดสอบ (Proving Ground) ซึ่งไดแก ระบบเบรก เสียงจากรถยนต และการบังคับเลี้ยว นั้น ประเทศไทยยังไมมีแผนในการสรางสนามเพื่อรองรับการทดสอบเหลานั้นทั้งของหนวยงานกลางและของผูประกอบการ มีเพียงเสียงจากรถจักรยานยนตเทานั้นที่ผูประกอบรถจักรยานยนตมีสนามทดสอบภายในบริษัทตน4.3) ความสามารถของ Technical Service; ผูที่ทําหนาที่ตรวจสอบใหผลิตภัณฑเปนไปตามขอกําหนดใน MRA เปนหนาที่ของ Technical Service ซึ่งจะตองไดรับการแตงตั้งจากหนวยงานโดยหนวยงานที่ทําหนาที่เปน Contact point ของ MRA (Article 7) โดยที่ Technical Service จะตองมีคุณสมบัติตามที่ระบุใน Article 9 นั่นคือการไดรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO/IEC 17025 ในกรณีของ TechnicalService ที่ทําหนาที่เปนหองปฏิบัติการทดสอบ หรือISO/IEC 17021 ในกรณีทําหนาที่เปนผูตรวจประเมินระบบคุณภาพ หรือ ISO/IEC 17020 ในกรณีของการทําหนาที่เปน Inspection body ดังนั้น ผูที่จะสามารถทําหนาที่เปน Technical Services ของประเทศไทยไดในขณะนี้คือผูที่ทําหนาที่เปนหนวยตรวจการทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่สมอ.แตงตั้ง เนื่องจากสมอ.กําหนดใหผูทําหนาที่ตรวจฯใหกับสมอ.ตองไดรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO/IEC 17020 หรือ ISO/IEC 17021 นอกจากนี้หองปฏิบัติการทดสอบที่ไดรับรอง9


ระบบคุณภาพ ISO/IEC 17025 ในสวนของการทดสอบตาม UNECE ก็สามารถจะขึ้นทะเบียนเปนTechnical Service ไดเชนกัน ซึ่งปจจุบันหนวยงานดานยานยนตที่ไดรับการรับรอง ISO/IEC 17020 และISO/IEC 17025 ไดแกสถาบันยานยนต สวนหนวยงานที่ไดรับการรับรอง ISO/IEC 17021 มีหลายหนวยงานเชน สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ SGS และ TUV เปนตน5. ปญหาและอุปสรรคตอการดําเนินงานตาม ASEAN MRA5.1) ผูประกอบการในอุตสาหกรรมที่อยูในขายดําเนินการตามมาตรฐานระบุใน MRA ไดแกผูผลิตรถยนต และจักรยานยนตในสวนของมาตรฐานมลพิษจากเครื่องยนต (ECE R40, R49 และ R83) มาตรฐานเสียง (ECE R41 และ R51) มาตรฐานเบรก (ECE R13 และ 13H สําหรับผูรถยนต) และมาตรวัดความเร็ว(ECE R39 สําหรับรถจักรยานยนต) ผูผลิตยางรถยนตและจักรยานยนต (ECE R30, R54 และ R75) ผูผลิตกระจกนิรภัย (ECE R43) ผูผลิตเข็มขัดนิรภัย (ECE R16) ผูผลิตเบาะนั่งรถยนต (ECE R17 และ R25) และผูผลิตกระจกมองหลังรถยนต (ECE R46) ผูประกอบการเหลานี้จําเปนตองมีการพัฒนาผลิตภัณฑใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด สําหรับบริษัทผูประกอบยานยนตหรือบริษัทขามชาติขนาดใหญอาจไดรับการสนับสนุนการพัฒนาโดยตรงจากบริษัทแม แตสําหรับผูประกอบการไทยซึ่งสวนใหญเปนบริษัทขนาดกลางและขนาดเล็กอาจมีอุปสรรคในการพัฒนาทั้งดานองคความรู ผูชํานาญการ รวมถึงเครื่องมือและอุปกรณการทดสอบ5.2) ตองมีการพัฒนา Technical Services ใหมีศักยภาพรองรับมาตรฐาน UNECE และตองไดรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO/IEC 17025 สําหรับหองปฏิบัติการทดสอบ ISO/IEC 17020 สําหรับinspection bodies และ ISO/IEC 17021 สําหรับ certification bodies ทั้งการทํา Type Approval และการทําConformity of Production ซึ่งปจจุบัน Technical Services ที่สามารถดําเนินงานตาม UNECE จะเปนผูประกอบการตางประเทศ เชน TUV หรือ SGS เปนตน สําหรับหนวยงานที่ไดรับการแตงตั้งจาก สมอ. เพื่อทําการตรวจการทําผลิตภัณฑตามมอก.นั้น จะตองมีการพัฒนาบุคลากรเพื่อใหมีความสามารถดําเนินการเปนTechnical Service ตามขอกําหนดใน MRA5.3) เนื่องจากบางมาตรฐานแนบทาย MRA ยังไมมีความพรอมในการทดสอบ ทั้งที่เปนหนวยงานใหบริการทดสอบกลาง และผูประกอบการเอง จําเปนตองพึ่งพาหองปฏิบัติการทดสอบตางประเทศ ในกรณีนี้ผูที่ทําหนาที่เปน Technical Service จะตองเปนผูรับผิดชอบในการจัดหาหองปฏิบัติการทดสอบแมวาจะเปนหองปฏิบัติการทดสอบนอก ASEAN อยางไรก็ดี การขาดหองปฏิบัติการทดสอบซึ่งนับเปนสวนประกอบสําคัญตอการพัฒนาจะทําใหผูประกอบการดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑใหเปนไปตามขอกําหนดไดยากและคาใชจายสูง10


6. แนวทางการดําเนินงานเพื่อเตรียมความพรอมของหนวยงานที่เกี่ยวของ6.1) หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ผูประกอบยานยนต ผูผลิตชิ้นสวน และหนวยงานที่จะเปนTechnical Services รวมกันวางแผนการดําเนินงานเพื่อรองรับ MRA ทั้งดานการปรับปรุงมาตรฐาน ระเบียบปฏิบัติ และการพัฒนาผูประกอบการและ Technical Services ใหสอดคลองกับขอกําหนดใน MRA6.2) ประสานความรวมมือระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของใหมีความเขาใจและจุดยืนรวมกันขจัดอุปสรรคดานการขัดกันของกฎระเบียบขอบังคับ โดยเฉพาะการจัดระบบโครงสรางภายในที่เกี่ยวกับการประเมินความสอดคลอง (Conformity Assessment) ใหมีความเปนสากล ตลอดจนใหความรู สรางความเขาใจในรายละเอียด วิธีการปฏิบัติหากมีการใช MRA แกผูประกอบการยานยนตและชิ้นสวนที่เกี่ยวของ6.3) สงเสริมการจัดตั้ง Technical Services ทั้งภาครัฐและเอกชนภายใตเงื่อนไขของ MRAโดยเฉพาะในสวนของหองปฏิบัติการทดสอบ ใหสามารถรองรับการทดสอบตามมาตรฐานแนบทาย MRAทั้งจากผูประกอบการในประเทศและในกลุมประเทศสมาชิก ASEAN11

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!