12.07.2015 Views

3 ชนิด - CRDC

3 ชนิด - CRDC

3 ชนิด - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

382 ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ว. วิทยาศาสตร์เกษตรอุปกรณ์และวิธีการการเตรียมสารสกัดเตรียมตัวอย่างพืชโดยน าพืชมาล้างท าความสะอาด ผึ่งให้แห้ง แบ่งออกเป็ นตัวอย่างสด และแห้ง น าไปอบที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส นาน 6 ชั่วโมง บดตัวอย่างพืชให้ละเอียด แล้วน ามาสกัดด้วยตัวท าละลายเมทานอล เขย่านาน3 ชั่วโมง กรองเอากากพืชออกโดยใช้กระดาษกรองเบอร์ 1 ได้สารสกัดในตัวท าละลาย แล้วน าไประเหยเอาตัวท าละลายออกด้วยเครื่อง rotary evaporator เก็บสารที่สกัดได้ไว้ในขวดสีชาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสการวิเคราะห์ปริมาณสารฟี นอลิกทั้งหมดวิเคราะห์ปริมาณสารฟี นอลิกทั ้งหมดของสารสกัดจากพืช ด้วยวิธี Folin-ciocalteau Phenol Test ตามวิธีของKim และ Lee (2002) ใช้กรดแกลลิกเป็ นสารมาตรฐาน วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 765 nm โดยแสดงผลเป็ นค่ามิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกในตัวอย่างน ้าหนักแห้ง 1 กรัม (mg GAE/ g DW)การวิเคราะห์ความสามารถในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระการวิเคราะห์ความสามารถในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) และ2,2’-azinobis(3-ethlbenzothaiazoline-6-sulfonic acid) (ABTS) โดยวิธี DPPH ดัดแปลงจากวิธีของ Singh และคณะ(2002) ท าโดยผสมสารสกัด 10 ไมโครลิตร กับสารละลาย DPPH 3 มิลลิลิตร ตั ้งทิ ้งไว้ในที่มืดนาน 30 นาที แล้ววัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ที่ความยาวคลื่น 517 nm และน ามาค านวณเทียบกับสารมาตรฐานของ BHTส่วนวิธี ABTS ดัดแปลงจากวิธีของ Kriengsak และคณะ (2006) โดยผสมสารสกัด 10 ไมโครลิตร กับสารละลาย ABTS 4มิลลิลิตร ตั ้งทิ ้งไว้ในที่มืดนาน 6 นาที แล้ววัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ที่ความยาวคลื่น 734 nmและน ามาค านวณเทียบกับกราฟมาตรฐานของ BHT รายงานผลเป็ นค่ามิลลิกรัมสมมูลของ BHT ในตัวอย่างน ้าหนักแห้ง 1กรัมผลและวิจารณ์ผลการทดลองจากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณสารประกอบฟี นอลิกรวมของสารสกัดจากพืชทั ้ง 3 ชนิดคือ แตงกวา ขิงอ่อน และ บัวบก ด้วยเมทานอล พบว่า แตงกวาสดมีร้อยละผลได้ของสารสกัดสูงที่สุดเท่ากับ21.6% (Figure 1a) รองลงมาคือ บัวบก และแตงกวา ตามล าดับ เนื่องมาจากชนิดของพันธุ ์หรือส่วนของพืชที่น ามาสกัดเทคนิคและสภาวะของสารสกัดท าให้ได้ % yield ของสารสกัดต่างกัน (Tapondjou และคณะ, 2005) สารสกัดจากขิงอ่อนแห้ง มีปริมาณสารประกอบฟี นอลิคและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ DPPH ABTSสูงสุด เท่ากับ 80.89 mg GAE/g DW 437.802 และ153.204 mg/L BHT equivalent/g DW ตามล าดับ ซึ่ง Polyphenols นั ้นจัดเป็ นสารทุติยภูมิ(secondary metabolite) มักพบได้ในพืชทั่วไป จากปริมาณของสาร phenolic ของพืชที่ต่างกันนั ้น เนื่องจากปริมาณและต าแหน่งที่พบสารกลุ ่มนี ้มักจะแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช (Duh และ Yen, 1997) และเนื่องจาก polyphenols นั ้นสามารถดักจับอนุมูลอิสระได้เพราะมีโครงสร้างเคมีที่ประกอบด้วยหมู ่ phenolic ซึ่งมีสมบัติเป็ นนิวคลีโอไฟล์ (nucleophile)ที่ดี (Lopes และคณะ, 1999) ดังนั ้น สารสกัดจากพืชที่พบมีสารประกอบเหล่านี ้อยู ่มากจึงมักออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดี(Cai และคณะ, 2004) สังเกตได้จากเมื่อเปรียบเทียบผลการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระ (Figure 2a และ 2b) กับปริมาณpolyphenols (Figure 1b) จะเห็นได้ว่า ความสามารถดักจับอนุมูล DPPH และ ABTS กับปริมาณ polyphenols ในสารสกัดมีความสัมพันธ์กัน แสดงให้เห็นว่า ประสิทธิภาพการออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดขึ ้นกับปริมาณpolyphenols ในสารสกัดนั ้น ๆสรุปผลสารสกัดจากขิงแห้ง มีปริมาณสารประกอบฟี นอลิคและมีประสิทธิภาพในการเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีที่สุดเมื่อเทียบกับพืชที่ท าการทดสอบ ดังนั ้นขิงอ่อนแห้งจึงเป็ นแหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระและสารประกอบฟี นอลิคที่ดีอีกชนิดหนึ่งที่สามารถน าไปพัฒนาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ยา และเครื่องส าอางได้ดีค าขอบคุณงานวิจัยนี ้ได้รับการสนับสนุนจากโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ(NRU) ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 383เอกสารอ้างอิงBlock, G., Patterson, B. and Subar, A., 1992, Fruits Vegetables and Cancer Preventive: a Review of theEpidemiological Evidence, Nutrition and Cancer, 18: 1-29.Cai, Y., Luo, Q., Sun, M. and Harold, C., 2004, Antioxidant Activity and Phenolic Compounds of 112 Traditional ChineseMedicinal Plants Associated with Anticancer, Journal of Agricultural and Food Chemistry, 74: 2157-2184.Duh, P.D. and Yen, G.C., 1997, Antioxidant Activity of Three Herbal Water Extracts, Food Chemistry, 60: 639-645.Kim, D.O. and Lee, C.Y., 2002, Extraction and Isolation of Polyphenolics, Current Protocols in Food AnalyticalChemistry. R.E. Wrolstad, Wiley, New York.Kriengsak, T., Unaro, J.B., and Kevin, C., 2006, Comparison of ABTS, DPPH, FRAP,and ORAC Assays forEstimating Antioxidant Activity from Guava Fruit Extracts, Journal of Food Composition and Analysis, 19:669–675.Lopes, G.B., Schulman, H.M. and Lima, M.H., 1999, Polyphenol Tannic Acid Inhibition Hydroxyl RadicalFormation from Fenton Reaction by Complexing Ferrous Ions, Biochimica Biophysica Acta, 1426: 475-482.Mukherjee, P.K., Rai, S., Kumar, V., Mukherjee, K., Hylands, P.J. and Hider, R.C., 2007, Plants of Indian Originin Drug Discovery, Expert Opinion on Drug Discovery, 2: 633–657.Papus, M. A., 1998, Antioxidants Status, Diet, Nutrition and Health U. S. A: CRC Press.Singh, R.P., Chidambara, K.N. and Jayaprakasha, G.K., 2002, Studies on the Antioxidant Activity ofPomegranate (Punica granatum) Peel and Seed Extracts Using in Vitro Model, Journal of Agricultural andFood Chemistry, 50: 81-86.Figure 1 % yield (a), total phenolics (b)


384 382 ปี ที่ 43 ฉบับที่ 2 (พิเศษ) พฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ว. วิทยาศาสตร์เกษตรFigure 2 DPPH radical scavenging assay (a), Scavenging activity of ABTS assay (b)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!