Chapter 13 Open Source tools for Knowledge Management

Chapter 13 Open Source tools for Knowledge Management Chapter 13 Open Source tools for Knowledge Management

msit2005.mut.ac.th
from msit2005.mut.ac.th More from this publisher
12.07.2015 Views

Example of E-ServiceInput/Output Database Function ทีใช้งานสิงทีน่ากลัวของ IT ก็คือ มองไม่เห็น KM แต่มองระบบทั งหลายเป็ นเพียงแค่ ระบบหนึง ๆ เท่านั น3


คําถาม (คน) Map ไปสู ่ กระบวนการ


กระบวนการMap ไปสู ่ Function<strong>Knowledge</strong> Capture<strong>Knowledge</strong> Development<strong>Knowledge</strong> Sharing<strong>Knowledge</strong> Utilization


่เราจะใช้เทคโนโลยีใดมาทําให้เกิดฟังก์ชันนั น ๆ …….Function Map ไปสู Technology6


มองย้อนกลับ7


การมองย้อนกลับไปกลับมาแบบนี จะทําให้เราเห็นถึงประโยชน์ของ Tool ทางด้านIT ทีเรานํามาใช้ในท้ายทีสุด“เราไม่ได้มองฆ้อนและตะปูซึงเป็ นเครืองมือแต่ละชินว่ามันมีประโยชน์อะไร แต่เรามองว่าเรานํามามันใช้เพือยึดไม้สองแผ่นให้ติดกันตามทีเราต้องการ”8


<strong>Knowledge</strong> <strong>Management</strong> Culture เกียวกับ คน (People) ดําเนินการด้านการเปลียนแปลงวัฒนธรรมขององค์กรไปสู ่วัฒนธรรมการแบ่งปันความรู้ เกียวกับกระบวนการ (Process) สร้าง core business process อย่างต่อเนือง ทําความเข้าใจช่องว่าง (gaps) ทีเกิดขึ นและ ใช้ best practices เพือสร้างกระบวนการต่าง ๆ ทีดีทีสุด (best-of-breedprocesses) กําหนดแนวทาง ในการแบ่งปันความรู้และการฝึ กอบรม9


เกียวกับเทคโนโลยี (Technology) จัดหาเครืองมือเกียวกับการจําลองแบบและการพยากรณ์ต่าง ๆ จัดทํา Job and Skill repository จัดหาระบบต่าง ๆ ทีใช้ทีคว้าจับความรู้ (<strong>Knowledge</strong> Capture) และ นํากลับมาใช้(<strong>Knowledge</strong> Retrieval) รวบรวมองค์ความรู้ทีมีอยู ่และทําการจัดเก็บเป็ นแหล่งความรู้ (<strong>Knowledge</strong> Store) ใช้ระบบ Expert systems เพือเปลียนกิจกรรมทีทําด้วยมือให้เป็ นระบบอัตโนมัติ10


เกียวกับเนื อหา (Content) กําหนดองค์ความรู้และประเภททีองค์กรต้องการ สร้างแนวทางการจัดหมวดหมู ่ความรู้ (<strong>Knowledge</strong> Taxonomy) กําหนดขอบข่ายของเนื อหาขององค์ความรู้ (role-based knowledge content)และความปลอดภัย ดังนั นสิ งทีเรา (คนทางด้าน IT) ต้องนั งพิจารณา ก็คือ สีด้านนี คือ คน กระบวนการเทคโนโลยี และ เนื อหา11


นอกจาก Explicit และ Tacit <strong>Knowledge</strong> แล้ว …. ความรู ้ภายในทีเห็นไม่ชัด (Implicit<strong>Knowledge</strong>) เป็ นการสร้างองค์ความรู้และประสบการณ์ขึ นภายในองค์กร เช่นในภัตตาคารอาจมีกระบวนการพิเศษในการทําอาหารให้ถูกใจลูกค้า กระบวนการเหล่านี ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกออกมา แต่เป็ น know how ทีเกิดขึ นในองค์กร12


S/W ทีเกียวข้องกับ KMSearchers<strong>13</strong>


เรามาดูกันทางด้าน Explicit <strong>Knowledge</strong> กันก่อน<strong>Knowledge</strong> <strong>Management</strong>Explicitความรู้ถูกเปลียนให้เป็ นเอกสารแล้วBookmarkingCMSBlogsCollaborative <strong>tools</strong>WikiForumsCollaborative EditorsRepositoriesP2P NetworksFile Serversเมือรู้แล้วว่ามันคืออะไร ก็ต้องทําความเข้าใจว่าเราจะเอามาใช้ใน KM เพือประโยชน์อะไร14


่1) Bookmarking หรือ การคันหน้า คั นหน้า หรือ บุ้กมาร์ก (bookmark) คือคําสั งหนึ งทีใช้บันทึกการเชือมโยงไปทียูอาร์แอล (URL) ใดๆ ในเบราว์เซอร์ โดยมีจุดประสงค์เพือการจดจําตําแหน่งของหน้านั นๆ โดยเก็บค่าคั นหน้าไว้ในเครืองของผู้ใช้ เปรียบเทียบเหมือนการสอดทีคั นหนังสือในหน้าทีอ่านค้างไว้ (หรือ มองอีกมุมหนึ งก็คือ แหล่งความรู้ทีเราค้นหานั นอยูทีใด) โปรแกรมค้นดูอินเทอร์เน็ต เช่น อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ คันหน้าจะเรียกว่า เฟเวอริต (favorite) เป็ นต้น ซึ งในปัจจุบันมีความสามารถใหม่เรียกว่า ไลฟ์ บุ๊กมาร์ก (livebookmark คันหน้าแบบถ่ายทอดสด) ในโปรแกรมไฟร์ฟอกซ์ และโปรแกรมค้นดูอินเทอร์เน็ตตัวใหม่ซึ งมีความสามารถในการอ่านอาร์เอสเอส (RSS) ทีเปลียนไปตามการเปลียนแปลงภายในเว็บนั น เช่น การอ่านหัวเรือง หรือการอ่านหัวข้อบล็อก โดยไม่จําเป็ นต้องเข้าไปดูในเว็บ (ลองอ่านใน http://support.mozilla.com/th/kb/Live+Bookmarks)15


ในปัจจุบัน ผู้พัฒนาคันหน้าทีแยกต่างหากและได้รับความนิยมมากได้แก่ เว็บไซต์delicious (อ่านว่า ดิ-ลิ-เชียส) ปรับปรุงระบบการใช้คั นหน้าโดยเก็บข้อมูลบนเว็บเพือสะดวกในการใช้ คั นหน้าออนไลน์ (online bookmark) และเชือมโยงระหว่างคั นหน้าของผู้ใช้แต่ละบุคคล Delicious ในชือเดิม del.icio.us (ดิลิเชียส - delicious) เป็ นชือเว็บไซต์สําหรับเก็บเว็บบุกมาร์ก เชือมยังกันในลักษณะเครือข่ายชุมชน (social networking) ทีได้รับความนิยมสูง เปิ ดบริการสินปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) พัฒนาระบบโดยโจชัว สแคชเทอร์ (Joshua Schachter) บริษัทยาฮู!ได้ซื อดิลิเชียสในวันที 9ธันวาคม พ.ศ. 254816


Social Bookmarking17


ลักษณะการทํางานคือ ผู้ใช้สามารถเก็บบุกมาร์กไว้บนอินเทอร์เน็ต เพือให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลทีไหนก็ได้ ซึ งแตกต่างจากการเก็บบุกมาร์กธรรมดาทีเรียกใช้ได้เฉพาะเครืองคอมพิวเตอร์นั นๆ คุณสมบัติเด่นทีแตกต่างจากเว็บบุกมาร์กทั วไปคือ มีการเชือมโยงรายชือบุกมาร์กเข้ากับบุกมาร์กของผู้ใช้รายอืน ซึ งทําให้รู้ว่าเว็บนั นมีผู้ใช้กีคนทีได้ทําบุกมาร์กไว้ การทํางานของระบบจะสร้างจาวาสคริปต์ไว้ทีแถบบุกมาร์กของผู้ใช้ และเมือผู้ใช้ต้องการบันทึกหรือเรียกใช้บุกมาร์ก เพียงแค่กดปุ ่ มนั นและบุกมาร์กจะถูกเซฟอัตโนมัติเข้าสู ่อินเทอร์เน็ต คุณสมบัติอืนของดีลิเชียส คือความสามารถในการแท็กแต่ละบุกมาร์กเพือเป็ นการจัดหมวดหมู ่อัตโนมัติ และความสามารถในการฟี ด ส่งข้อมูลบุกมาร์กล่าสุดเข้าสู ่แหล่งข้อมูลอืนเพือดูได้ว่าเว็บไหนกําลังเป็ นทีนิยมทีมีผู้ใช้บันทึกมากทีสุด18


การใช้งานเว็บทั งหมดเป็ นการใช้ฟรีโดยไม่ต้องเสียเงิน และผู้พัฒนาโปรแกรมทีต้องการพัฒนาต่อสามารถดาวน์โหลดAPIได้ นอกจากนี มีเว็บไซต์ de.lirio.us เปิ ดให้ใช้โดยเป็ นเว็บโอเพนซอร์สของดีลิเชียส ลองไปเล่นดูครับที http://delicious.com/19


2) CMS 1) CMS คือ อะไร ? ความหมายของ Content <strong>Management</strong> System (CMS) (แปลเป็ นไทยว่า ระบบจัดการเนื อหา) เริมต้นจาก อินเทอร์เน็ตได้ถือกําเนิดขึ นมา โลกของเราก็เปลียนแปลงไปมากมายโดยเฉพาะเรืองของการติดต่อสือสารทีทําได้ด้วยความรวดเร็วยิ งขึ น และการพัฒนาของภาษาหรือซอฟต์แวร์ทีเกียวข้องกับอินเทอร์เน็ตก็เติบโตขึ นมามากเช่นกัน ถ้าจะกล่าวถึงเมืออดีต ภาษา HTML คงเป็ นภาษาทียอดนิยมในการทีจะทําการสร้างเว็บเพจหรือเว็บไซต์ขึ นมา แต่ต่อมาก็ได้มีการพัฒนาภาษาในการทําเว็บไซต์ขึ นมาอีกมากมาย และภาษาทีนิยมมากตัวหนึ งจนมาถึงปัจจุบันก็คือภาษา PHP เนืองจากสามารถโหลดมาใช้งานได้ง่ายและมีตัวอย่างให้เลือกใช้มากมาย ซึ งสิ งนี เองก็เป็ นต้นกําเนิดของการทําเว็บไซต์แนวใหม่ทีเรียกว่า CMS20


CMS ย่อมาจาก Content <strong>Management</strong> System เป็ นระบบทีนํามาช่วยในการสร้างและบริหารเว็บไซต์แบบสําเร็จรูป โดยในการใช้งาน CMS นั นผู้ใช้งานแทบไม่ต้องมีความรู้ในด้านการเขียนโปรแกรม ก็สามารถสร้างเว็บไซต์ได้ โดยทีตัว CMS เองมีโปรแกรมประยุกต์ พร้อมใช้งานอยู ่ภายในมากมายอาทิ ระบบจัดการบทความและข่าวสาร (News and Article), ระบบจัดการบทวิจารณ์ (Review), ระบบจัดการสมาชิก(Member) ระบบสืบค้นข้อมูล (Search), ระบบจัดการไฟล์ดาวน์โหลด(Download), ระบบจัดการป้ ายโฆษณา(Banner), ระบบการวิเคราะห์และตรวจสอบสถิติความนิยมในเว็บไซต์ (Analysis, Tracking and Statistics) เป็ นต้น และผู้ใช้งานสามารถเพิ มเติมโปรแกรมอิสระ(Module) อาทิ Forum, Chatroom, Form mail เข้าไปได้ในภายหลังจากการติดตั ง21


Concept ของ CMS22


ปัจจุบันซอฟต์แวร์ทีใช้สร้าง CMS มาหลายตัวด้วยกันอาทิเช่น PostNuke, PHP-Nuke, MyPHPNuke, Mambo, eNvolution, MD-Pro, XOOPs, <strong>Open</strong>CMS, Plone,JBoss, Drupal, Joomla เป็ นต้น ระบบการจัดการเนื อหาของเว็บไซต์ (CMS) คือ ระบบทีพัฒนา คิดค้นขึ นมาเพือช่วยลดทรัพยากรในการพัฒนา(Development) และบริหาร(<strong>Management</strong>)เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็ นเรืองของกําลังคน ระยะเวลา และงบประมาณ ทีใช้ในการสร้างและควบคุมดูแลเว็บไซต์ โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะนําเอา ภาษาสคริปต์(Scriptlanguages) ต่างๆมาใช้ เพือให้วิธีการทํางานเป็ นแบบอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็ น PHP,Perl, ASP, Python หรือภาษาอืนๆ(แล้วแต่ความถนัดของผู้พัฒนา) ซึ งมักต้องใช้ควบคู ่กันกับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์(เช่น Apache) และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์(เช่นMySQL)23


CMS มีหลายค่าย24


ตัวอย่าง เช่น Joomla25


ลักษณะเด่นของ CMS ก็คือ มีส่วนของ Administration panel (เมนูผู้ควบคุมระบบ)ทีใช้ในการบริหารจัดการส่วนการทํางานต่างๆในเว็บไซต์ ทําให้สามารถบริหารจัดการเนื อหาได้อย่างรวดเร็ว และเน้นทีการจัดการระบบผ่านเว็บ (Web interface)ในลักษณะรูปแบบของ ระบบเว็บท่า (Portal Systems) โดยตัวอย่างของฟังก์ชันการทํางาน ได้แก่ การนําเสนอบทความ(Articles), เว็บไดเรคทอรี(Web directory),เผยแพร่ข่าวสารต่างๆ(News), หัวข้อข่าว(Headline), รายงานสภาพดินฟ้ าอากาศ(Weather), ข้อมูลข่าวสารทีน่าสนใจ (In<strong>for</strong>mation), ถาม/ตอบปัญหา(FAQs), ห้องสนทนา(Chat), กระดานข่าว(Forums), การจัดการไฟล์ในส่วนดาวน์โหลด(Downloads), แบบสอบถาม(Polls), ข้อมูลสถิติต่างๆ (Statistics) และส่วนอืนๆอีกมากมาย ทีสามารถเพิ มเติม ดัดแปลง แก้ไขแล้วประยุกต์นํามาใช้งานให้เหมาะสมตามแต่รูปแบบและประเภทของเว็บไซต์นั นๆ26


2) ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ CMS ในวงการต่างๆ ระบบ CMS สามารถนํามาประยุกต์ในงานต่างๆ หลากหลาย ตัวอย่างการนําซอฟต์แวร์ CMS มาประยุกต์ใช้งาน อาทิเช่น 2.1) การนํา CMS มาใช้ในการสร้างเว็บไซต์สถาบันการศึกษา ธุรกิจบันเทิงหนังสือพิมพ์ การเงิน การธนาคาร หุ้นและการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ งานบุคคลงานประมูล สถานทีท่องเทียว งานให้บริการลูกค้า 2.2) การนํา CMS มาใช้ในหน่วยงานของรัฐ อาทิเช่น งานข่าว งานประชาสัมพันธ์การนําเสนองานต่างๆ ขององค์กร 2.3) การใช้ CMS สร้างไซต์ ส่วนตัว ชมรม สมาคม สมาพันธ์ โดยวิธีการแบ่งงานกันทํา เป็ นส่วนๆ ทําให้เกิดความสามัคคีทําให้มีการทํางานเป็ นทีมเวิร์คมากยิ งขึ น27


2.4) การนํา CMS มาใช้ในการสร้างเว็บไซต์สําหรับธุรกิจ SME โดยเฉพาะสินค้าหนึ งตําบลหนึ งผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP กําลังได้รับความนิยมสูง 2.5) การนํา CMS มาใช้แทนโปรแกรมลิขสิทธิ อืนๆ เพือประหยัดค่าใช้จ่าย และง่ายต่อการพัฒนา 2.6) การใช้ CMS ทําเป็ น Intranet Web Site สร้างเว็บไซต์ใช้ภายในองค์กร28


3) CMS ทํางานอย่างไร? ลักษณะการทํางานของ Content <strong>Management</strong> System (CMS) เป็ นระบบจัดการทีแบ่งแยกการทํางานระหว่างเนื อหา (Content) ออกจาก การออกแบบ (Design) โดยการออกแบบเว็บเพจ จะถูกจัดเก็บไว้ใน Templates หรือ Themes ในขณะทีเนื อหาจะถูกจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลหรือไฟล์ เมือใดทีมีการใช้งานก็จะมีการทํางานร่วมกันระหว่าง 2 ส่วน เพือสร้างเว็บเพจขึ นมา โดยเนื อหาอาจจะประกอบไปด้วยหลายๆส่วนประกอบ เช่น Sidebar หรือ Blocks, Navigation bar หรือ Main menu, Title barหรือ Top menu bar เป็ นต้น29


ส่วนประกอบของ CMS 1) Templates หรือ Theme เป็ นส่วนทีเปรียบเสมือนหน้าตา หรือเสื อผ้า ทีถือเป็ นสีสรรของเว็บไซต์(Look & feel) ทีมีรูปแบบทีกลมกลืนกันตลอดทั งไซต์ 2) ภาษาสคริปต์ หรือ ภาษา HTML ทีใช้ในการควบคุมการทํางานทั งหมดของระบบ 3) ฐานข้อมูล เพือไว้เก็บข้อมูลทุกอย่างทีเกียวข้องทั งหมดของเว็บไซต์30


Theme ของ Joomla31


4) ทําไมถึงต้องใช้ CMS ข้อดีของ CMS มีทั งต่อผู้ดูแลเว็บไซต์(Webmasters) และผู้ใช้งานเว็บไซต์(Users) 1) ความสามารถในการใช้ Template และส่วนประกอบของการออกแบบ ทีครอบคลุมการออกแบบตลอดทั งไซต์ 2) ผู้ใช้งานเว็บไซต์สามารถใช้งาน Template โดยนํามาประกอบกับเอกสารหรือเนื อหาทําให้ช่วยลดภาระเรืองการเขียนโค้ดให้น้อยลง 3) ผู้ใช้งานเว็บไซต์ให้ความสนใจเฉพาะเนื อหามากกว่าการออกแบบ และในการทีจะเปลียนหน้าตาของเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ก็แค่ไปแก้ไขที template ไม่ใช่ทีแต่ละหน้าของเว็บเพจ 4) CMS จะช่วยให้ทุกอย่างง่ายขึ น ในการสร้างและบํารุงรักษาเว็บไซต์ นอกจากนั นยังช่วยจัดระดับการใช้งานสําหรับแต่ละส่วนงานของเว็บไซต์ โดยไม่ต้องเข้ามาเซ็ตการใช้งานของระบบทีเซิร์ฟเวอร์โดยตรง เพราะสามารถทําได้โดยผ่านเว็บบราวเซอร์ 32


นอกจากนั น ถ้ามี Search engine, Calendar, Web mail และส่วนอืนๆ ทีสามารถเพิมเติมสู ่ CMS หรือแม้กระทังไปหา Plug-in หรือ Add-ons เข้ามาเสริมการทํางานได้ ส่วนนี จะช่วยประหยัดเวลาในการพัฒนาได้33


5) การพิจารณาเลือกใช้ CMS 1) ความยากง่ายในการใช้งาน 2) ความยืดหยุ่นในการพัฒนา 3) ความสามารถในการทํางาน 4) อืนๆ ได้แก่ เทคโนโลยี ระบบปฏิบัติการ และราคา เนืองจาก CMS นี เป็ นระบบ ดังนั นจึงถูกสร้างขึ นมาโดยภาษาใดๆ ก็ได้ ไม่ว่าจะเป็ นPHP, ASP, Java, Python ฯลฯ การสร้าง CMS นั นก็มีจุดประสงค์ ทั งทีสร้างขึ นมาใช้งานเอง และสร้างขึ นมาแล้วทําการเผยแพร่ให้คนอืนๆ ใช้งานด้วย ฉะนั น CMS แบบหลังนี จะมีลักษณะเป็ น <strong>Open</strong> <strong>Source</strong> และกําลังได้รับความนิยมมากขึ น และจะเป็ นภาษา PHP เนืองจากเป็ นภาษาทีฟรีนั นเอง34


สําหรับ CMS ทีจะกล่าวถึงจะเป็ น CMS ทีเขียนขึ นด้วยภาษา PHP ซึ งแหล่งข้อมูลของภาษา PHP ทีใหญ่ทีสุดก็คงจะหนีไม่พ้น http://source<strong>for</strong>ge.net/index.php ทีมีให้ผู้ใช้งานสามารถทีจะดาวน์โหลดหรือเลือกใช้งานได้ตามความต้องการ ซึ งก็มีการแบ่งหมวดหมู ่ไว้อย่างชัดเจน และทีสําคัญเป็ นซอฟต์แวร์แบบ <strong>Open</strong><strong>Source</strong> ด้วย โดยCMS นั นก็มีอยู ่หลายตัวหลายประเภทให้เลือกใช้งาน (ดูจากภาคผนวก) ซึ งจากตาราง(ภาคผนวก) ก็เป็ นเพียงส่วนหนึ งของ CMS เท่านั น ซึ งก็ยังมีตัว CMS อืนๆอีกมากหมาย ซึ งก็สามารถทีจะค้นหาและทําการดาวน์โหลดมาทดสอบการใช้งานได้35


การใช้งาน CMS นั นหลังจากทีทําการดาวน์โหลดมาใช้งานก็สามารถทีจะเปลียนแปลง แก้ไข ปรับปรุงตัว CMS นั นๆ ได้ตามความต้องการ แต่ห้ามนําไปขายเนืองจากตัว CMS เป็ น <strong>Open</strong> <strong>Source</strong> ทีแจกจ่ายให้ใช้งานกันฟรีๆ อยู ่แล้ว ซึ งถือว่าเป็ นคุณสมบัติพื นฐานของการใช้งาน หรือถ้ามีการแก้ไข ปรับปรุงตัว Codeก็สามารถทีจะส่งไปยังต้นสังกัดของผู้ทีพัฒนาก็ได้ เพือทีจะให้ปรับปรุงส่วนเพิมเติมลงไป เช่น คําสั งใช้งานภาษาไทย, การแสดงผลภาษาไทย เป็ นต้น36


6) ประเภทของ CMS 1) Web log - เป็ น CMS ส่วนของการบันทึกเผยแพร่ส่วนบุคคล Weblog (วี บล็อก)หรือ web log(เว็บ- ล็อก) นิยมเรียกสั นๆ ว่า Blogs (บล็อก) ซึ งคําว่า Weblog นั นก็มาจาก web (เวิลด์ไวด์เว็บ) และ log (ปูม, บันทึก) รวมกัน หมายถึง บันทึกบนเวิล์ดไวด์เว็บ นั นเอง ซึ งกําลังเป็ นทีนิยมมากขึ นเรือย ๆ โดยขณะนี ได้มีผู้ให้บริการบล็อกมากมาย ทั งแบบให้บริการฟรี และเสียค่าใช้จ่าย Weblog เป็ นเว็บประเภทหนึ งทีมีรูปแบบง่ายๆ โดยมากจะเป็ นในลักษณะเว็บไซต์ส่วนตัวคนสร้างบล็อก (Bloggerหรือ Weblogger) ต้องการบรรยายเหตุการณ์ส่วนตัวถูกสร้างขึ นมาเพือใช้เป็ นเครืองมือในสือสารรูปแบบใหม่ ไม่ว่าจะเป็ นการประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ความในใจ ชีวิติครอบครัว เหตุการณ์ประทับใจในชีวิตฯลฯ37


Weblog ออกแบบมาให้สามารถใช้งานได้ง่ายไม่จําเป็ นต้องใช้ความรู้ทางด้าน HTMLมากนัก เนืองจากมีการออกแบบเครืองมือให้เป็ นแบบ WYSIWYG editor (what yousee it what you get) ซึ งเครืองมือทีดูและเข้าใจง่ายๆ คล้ายกับเครืองมือหรือสัญลักษณ์ในโปรแกรมการพิมพ์งานทั วๆ ไป ทําให้ผู้ทีสร้างเอกสารสามารถทําได้ด้วยความรวดเร็ว โดยเนื อหาใน Weblog นั นจะส่วนประกอบสามส่วนคือ • หัวข้อ (Title) เป็ นหัวข้อสั นสั นๆ • เนื อหา (Post หรือ Content) เป็ นเนื อหาหลักทีคนสร้าง Blog ต้องการทีจะบอกให้คุณทราบ • วันทีเขียน (Date) เป็ นวัน เดือน ปี ทีเขียน38


่ 2) e-Commerce (อีคอมเมิร์ช) - เป็ น CMS ส่วนของการทําร้านค้า Online สามารถทีจะใช้ในการซื อของ ซึ งสามารถทีจะเพิ มรายการสินค้า ราคา ทําหน้าร้านได้ กําลังได้รับความนิยมขึ นมาเรือยๆ 3) e-Learning – เป็ น CMS ทีใช้ในการทํางานสือการเรียนการสอน หรือ CAI แต่สามารถทีจะทําเป็ นระบบ Online ได้ เหมาะสําหรับนักเรียน ครู อาจารย์ หรือสถานศึกษาต่างๆ สามารถสร้างแบบทดสอบต่างๆ ได้ แต่ในบ้านเรายังไม่แพร่หลายนัก เนืองจากคนทีทําต้องมีความรู้ในเรืองของเว็บไซต์และการจัดการเนื อหาอยูพอสมควร 4) Forums (กระดานข่าว) – เป็ น CMS ทีใช้ในการตั งกระทู้ถามตอบปัญหาหรือทําเป็ นชุมชนต่างๆ โดยจะมีการแบ่งเป็ นหัวข้อหรือหมวดต่างๆ ตามความสนใจของผู้เข้าชม ซึ งส่วนมากแล้วตัว Forums นี มักจะไปผูกกับตัว CMS อืนๆ เข้าไว้ด้วยกัน แต่ในขณะเดียวกันนั นผู้ใช้งานก็สามารถทีจะติดตั งใช้งาน Forums แบบเพรียวๆ ก็ได้เหมือนกัน39


5) Groupware – เป็ น CMS ทีออกแบบมาเพือทีจะช่วยการทํางานในองค์หรือหน่วยงานให้มีความสัมพันธ์กัน และมีความรวดเร็วในการทํางาน สามารถทีจะช่วยเหลือกัน สามารถทํางานเป็ นทีมและควบคุมการทํางานได้ โดยการทํางานก็จะผ่านระบบเน็ตเวิร์คหรืออีเมลล์หรือระบบเว็บออนไลน์ ซึ งการติดต่อสือสารนั นก็จะสามารถติดติดได้เป็ นกลุ่มๆ หรือเฉพาะบุคคลก็ได้ พร้อมทั งข้อมูลทีต้องการแจ้งสามารถใช้เป็ นรูปภาพ ข้อความ หรืออืนๆ ได้ แล้วแต่ว่าความสามารถของGroupware CMS จะทําได้ขนาดไหน 6) Image Galleries (อัลบั มภาพ) – เป็ น CMS ทีกําลังได้รับความนิยมอีกตัวหนึ งเลยก็ว่าได้ โดย CMS ประเภทนี จะใช้ในการจัดการอัลบั มภาพหรือทํา Galleries ก็จะมีฟังก์ชันในการใช้งานโดยการแบ่งเป็ นหมวดหมู ่ของภาพ สามารถกําหนดขนาดภาพขนาดไฟล์ หรือบางตัวสามารถทีจะทําการย่อภาพลงมาตามทีกําหนดได้เอง หรือทําเป็ น Thumbnail ก็ได้40


่ 7) Portals (CMS) – เป็ น CMS ทีเป็ นหน้าตาหลักของเว็บไซต์เลยก็ว่าได้ ซึ งการทํางานนั นก็อาจจะทํางานด้วยตัวของมันเองได้ แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถทีจะเอาตัวอืนๆ เข้ามารวมผนวกเพิ มไปได้ เช่น CMS ตัวนี ก็จะมีส่วนของการจัดการเนื อหาอยูแต่ก็จะมี Forums (กระดานข่าว) หรือ Image Galleries (อัลบั มภาพ) ผนวกเข้าไปด้วยเพือทําให้ผู้ใช้งานนั นสามารถใช้งานได้สะดวกมากยิ งขึ น 8) วิกิ (Wiki) คือ เว็บไซต์ทีอนุญาตให้ผู้ใช้ เพิ มและแก้ไขเนื อหาได้โดยง่ายเหมือนกับการเขียนบทความร่วมกัน คําว่า "วิกิ" นี ยังสามารถใช้หมายถึงซอฟต์แวร์ทีใช้เพือสร้างเว็บไซต์ดังกล่าวอีกด้วย ลักษณะของตัววิกิจะออกไปแนวสารานุกรมหรือแหล่งความรู้จํานวนมากๆ มากกว่า โดยจะเป็ นการระดมความเห็นจากหลายๆ คนมาใช้งาน ซึ งตัวอย่างของไทยก็สามารถเข้าไปดูได้ที http://th.wikipedia.org41


7) เริมตัวไหน เลือกอะไรดี จากทีทราบแล้วว่า CMS (Content <strong>Management</strong> System) คือระบบจัดการเนื อหาบนเว็บไซต์ทีถูกเขียนขึ นด้วยภาษาต่างๆ เพือเพิมความสามารถในการทํางานให้สะดวกรวดเร็ว และทํางานได้อย่างอัตโนมัติ เพือช่วยประหยัดทรัพยากรในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ น คน ระยะเวลา และค่าใช้จ่ายที โดย CMS ส่วนมากแล้วจะกระทําในลักษณะของ Web Base คือทํางานผ่านเว็บออนไลน์ ผู้ทีทําหน้าทีควบคุมก็จะกระทําการจัดการต่างๆ ผ่านทางเมนูทีทาง CMS มีมาให้ก็ทําให้สามารถทํางานได้ทุกๆ ทีสามารถเชือมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้42


ด้วยความทีว่าตัว CMS จะเป็ น <strong>Open</strong> source และเปิ ดให้โหลดใช้งานได้ฟรี จึงได้มีการพัฒนาต่อยอดขึ นมามากว่า โดยตัว CMS เองก็สามารถทีจะทําการเพิ มเติมแก้ไข เปลียนแปลงตัวข้อมูลหรือตัวโปรแกรมได้อยู ่แล้ว นอกจากนี แล้วยังมีฟังก์ชันต่างๆ มาให้ด้วย เช่น ห้องสนทนา, กระดานข่าว, ถาม/ตอบ เป็ นต้น แต่ส่วนมากแล้วตัว CMS ทีใช้งานกันอย่างแพร่หลายนั นก็จะมีอยู ่ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มการจัดการเนื อหา, กลุ่ม E-Learning และกลุ่ม E-Commerce ซึ ง 2 กลุ่มหลังนี บ้านเรายังไม่ค่อยเป็ นทีนิยมแพร่หลายเท่าไร จะทําและใช้งานกันเฉพาะกลุ่มๆ43


จากข้อมูลก็จะทําให้เห็นว่า CMS นั นมีอยู ่หลายตัว หลายประเภทมาก แล้วจะใช้งานตัวไหนดี บอกได้เลยว่าไม่มี CMS ตัวไหนตรงตามความต้องการ 100% มักจะขาดโน่นนิด นีหน่อย แต่ก็ใช้การปรับแต่งและประยุกต์เอามากกว่า ซึ งสิ งทีไม่พอใจกันมากทีสุดของ CMS ก็คือ เรืองของธีม (Theme) หรือหน้าตาของเว็บไซต์นั นเอง ส่วนฟังก์ชันหรือโมดูลอืนๆ ก็พอรับกันได้ สิ งแรกทีต้องการใช้งานสําหรับ CMS ก็คือ ต้องทดสอบโดยการทําเว็บ Server ไว้ทีเครืองตนเองแล้วลองเล่นดูอย่างน้อยสักตัวหรือสองตัวก็พอ โดยหาข้อมูลว่าตัวไหนทีมีความน่าสนใจ ซึ งในบ้านเราแล้วตัวทีน่าสนใจก็มี PHP-Nuke, Mambo,PHP-Fusion และน้องใหม่ Joomla ทีมาแรง ดังนั นในองค์กรต่างๆ หรือกลุ่มธุรกิจขนาดเล็กทีต้องการมีเว็บไซต์หรือสือข้อมูลออนไลน์ CMS ก็น่าจะเป็ นทางออกทีดีเนืองจากมีต้นทุนทีตํ าสามารถตอบสนองความต้องการได้ ไม่ต้องการผู้ดูแลมาก ตัว CMS ทีชือว่า Membo และ Joomla ทีเป็ นทีนิยมใช้งานกันอยู ่ในปัจจุบัน44


8) ลําดับการดําเนินงาน เมือเราเลือกตัว CMS ได้แล้วก็ต้องมาดูว่าระบบการจัดการเนื อหาเป็ นอย่างไร? ระบบการจัดการเนื อหามักมีระบบการจัดการลําดับการดําเนินงานของเนื อหาทีเรียกว่า Workflow ซึ งลําดับการดําเนินงานนั นโดยมากจะประกอบไปด้วย 8.1) ขั นตอนการนําเนื อหาเข้าระบบ (Ingestion หรือ Creation) เป็ นการตระเตรียมสร้างเนื อหาซึ งจะต้องมีการวางแผนก่อนว่าเว็บทีเราจะทํานั นจะเป็ นเว็บไซต์หรือเนื อหาเป็ นอย่างไร เกียวกับอะไร เน้นไปทางด้านไหน กลุ่มคนแบบไหนทีต้องเข้ามาใช้งานเว็บ ซึ งเมือได้เนื อหาหรือเป้ าหมายของเว็บแล้วก็ทําการรวบรวมเนื อหาจัดทําเข้าระบบ45


8.2) ขั นตอนการตรวจสอบเนื อหา (Staging หรือ Approval) เป็ นส่วนของการตรวจสอบเนื อหาว่าถูกต้องหรือไม่ ตรงตามความต้องการหรือไม่ จัดหมวดหมู ่เป็ นอย่างไร คําผิดมีหรือไม่ รวมไปถึงการทดสอบการใช้งานระบบด้วยว่าพร้อมมากน้อยเพียงใด ซึ งก็จะต้องจําลองพฤติกรรมของผู้ใช้งานด้วยว่าจะออกมาในแนวทางไหนเพือทีจะได้เตรียมรับมือการใช้งานได้ถูก46


8.3) ขั นตอนการนําเนื อหาไปเผยแพร่ (Delivery หรือ Publishing) เป็ นขั นตอนสุดท้ายและยากลําบากมากทีสุดในการทําเว็บ เนืองจากต้องทําให้คนรู้จักเว็บเราแต่ถึงกระนั นก็ตามจะต้องมีการจดทะเบียนชือเว็บไซต์หรือ Domain ก่อนพร้อมทั งหาพื นทีใช้งานหรือโฮส (Hosting) โดยส่วนมากแล้วบริษัททีรับทําจะทําควบคู ่กันไปเลย ซึ งในขั นตอนนี ผู้ใช้งานก็ต้องศึกษารายละเอียดให้รอบครอบว่ารายละเอียดของการใช้งานเป็ นอย่างไร มีข้อกําหนดอะไรบ้าง เพือทีจะให้ได้ข้อมูลในการจัดทํา เนืองจากถ้าไม่ใช้ Host ของตนเองก็ต้องไปเช่าพื นทีทีมีบริการอย่างมากมายทั งในไทยและต่างประเทศ47


่ 9) วงจรชีวิตของเนื อหา วงจรชีวิตของเนื อหาภายในระบบการจัดการเนื อหา ประกอบด้วย 9.1) การจัดโครงสร้างหรือการจัดหมวดหมู ่ (Organization) เป็ นการจัดประเภทให้แก่เนื อหาสาระว่าเป็ นประเภทใด ควรมีโครงสร้างแบบใด เป็ นการกําหนดSchema ให้แก้เนื อหาว่าต้องมีองค์ประกอบเช่นใดบ้าง 9.2) ลําดับขั นดําเนินงาน (Workflow) เป็ นกฎเกณฑ์หรือนโยบาย การกําหนดหน้าทีความรับผิดชอบต่อเนื อหาสาระ ของเจ้าของหรือผู้เขียน ของผู้เผยแพร่และของผู้ร่วมมือ เป็ นลําดับขั นตอนของการผ่านร่างของเนื อหา ก่อนทีจะออกเผยแพร่สูสาธารณะ 9.3) การสร้างสรรค์ (Creation) เป็ นการนําเข้าข้อมูล การเขียน จับภาพ อัดเสียงรวบรวม เปลียนแปลง แก้ไข เนื อหาสาระทีอยู ่ภายในระบบให้ตรงตามความต้องการ48


9.4) การจัดเก็บ (Repository) หมายถึง การจัดเก็บข้อมูลเป็ นไฟล์ การจัดเก็บลงฐานข้อมูล การบันทึกลงสือ เพือให้คงอยู ่ไว้ซึ งข้อมูลภายในระบบ 9.5) การกําหนดเวอร์ชัน (Versioning) เป็ นการควบคุมการเปลียนแปลง โดยให้มีหมายเลขการเปลียนแปลง หรือการกําหนดวันทีเปลียนแปลง และจัดเก็บสํารองข้อมูลดังเดิมไว้ เผือทําการเรียกคืนข้อมูล หรือแก้ไขกลับ และเพือให้รู้ถึงสถานการณ์เปลียนแปลงของข้อมูล 9.6) การเผยแพร่ (Publishing) เป็ นการนําเนื อหาสาระออกเผยแพร่สู ่สาธารณะ ด้วยการจัดส่งไปยังตัวบุคคล การเผยแพร่ในทีสาธารณะ เป็ นต้น 9.7) การเก็บเอกสาร (Archives) คือการจัดเก็บเนื อหาทีถูกใช้งานแล้ว หรือหมดอายุแล้ว โดยนํามาจัดเก็บเพือนําไว้ใช้เป็ นฐานความรู้ หรือไว้ใช้เพือเตรียมนําเสนอใหม่49


10) ประเภทของระบบการจัดการเนื อหา ระบบการจัดการเนื อหานั นมีหลายประเภทสามารถจัดหมวดหมู ่ได้เป็ น 1) ระบบจัดการเนื อหาเว็บ เป็ นระบบทีช่วยจัดการเนื อหาบนเว็บไซต์ 2) ระบบการจัดการเนื อหาทางธุรกรรม เป็ นระบบทีช่วยจัดการธุรกรรมสําหรับอี-คอมเมิร์ช เรืองของสินค้า ระบบหน้าร้าน 3) ระบบการจัดการเนื อหาแบบประสาน เป็ นระบบทีใช้ช่วยจัดการเอกสารและเนื อหาภายในองค์กรให้สามารถทํางานร่วมกันได้ 4) ระบบการจัดการเนื อหาสิ งพิมพ์ ใช้สําหรับช่วยจัดการงานสิ งพิมพ์และวงจรชีวิตของเนื อหา เช่น เอกสารการใช้งาน หนังสือ เป็ นต้น50


5) ระบบการจัดการเรียนรู้ ใช้จัดการวงจรชีวิตของเนื อหาสาระบนระบบเรียนรู้บนเว็บ เช่น จัดการแบบทดสอบ จัดการแบบการเรียนการสอน เป็ นต้น 6) ระบบจัดการเอกสารทีเป็ นภาพ ใช้จัดการเอกสารทีถูกจัดเก็บในรูปแบบของรูปภาพ เช่น การถ่ายสําเนาเป็ นต้น 7) ระบบการจัดการเนื อหาระดับองค์กร เป็ นระบบทีใช้จัดการเอกสาร เนื อหาสาระต่างๆ ภายในองค์กร อาจจะเป็ นได้ทั งระบบเว็บแอพพลิเคชันหรือเป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์บนไคลเอนท์ก็ได้51


ฉะนั นเมือเราทราบข้อมูลเบื องต้นแล้วก็เริมเข้าสู ่กระบวนการติดตั งเพือใช้งานโดยจะมีอยู ่ 2 แบบ คือการจําลองเครือง PC เป็ นเครือง Server เพือทดสอบการใช้งาน และการติดตั งที Server จริง ซึ งส่วนใหญ่แล้วจะจําลองติดตั งใช้งานทีเครืองPC ก่อน โปรแกรมทีใช้สําหรับจําลองเครืองพีซี เป็ นเซิร์ฟเวอร์ ประกอบด้วย • Apache Web Server เพือใช้ในการทําเป็ น Web Server • Internet In<strong>for</strong>mation Service (IIS) • PHP Script Language เพือใช้ในการทํางานกับภาษา PHP • MySQL Database ใช้เป็ นฐานข้อมูลให้กับ CMS • phpMyAdmin Database Manager ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล52


3) Blog 1) Blog คืออะไรBlog ก็คือ บล็อก ย่อมาจาก Weblog เกิดจากการรวมกันของคําสองคํา คือ Webหมายถึง อินเตอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ นีล่ะครับ บวกกับ Log หมายถึง เก็บ บันทึก เมือรวมกันแล้วได้เป็ นคําใหม่ว่า การบันทึกบนโลกอินเตอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บไงล่ะ ดังนั น ความหมายของคําว่า Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (PersonalJournal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื อหาของ blog นั นจะครอบคลุมได้ทุกเรือง ไม่ว่าจะเป็ นเรืองราวส่วนตัว หรือเป็ นบทความเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น เรืองการเมือง เรืองกล้องถ่ายรูป เรืองกีฬา เรืองธุรกิจ เป็ นต้น โดยจุดเด่นทีทําให้บล็อกเป็ นทีนิยมก็คือผู้เขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ใส่ลงไปในบทความนั น ๆ โดยบล็อกบางแห่ง จะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ในขณะเดียวกันบางบล็อกก็จะเขียนขึ นมาเพือให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่นกลุ่มเพือน ๆ หรือครอบครัวตนเอง53


มีหลายครั งทีเกิดความเข้าใจกันผิดว่า Blog เป็ นได้แค่ไดอารีออนไลน์ แต่ในความเป็ นจริงแล้ว ไดอารีออนไลน์เปรียบเสมือนเนื อหาประเภทหนึ งของบล็อกเท่านั นเพราะบล็อกมีเนื อหาทีหลากหลายประเภท ตั งแต่การบันทึกเรืองส่วนตัวอย่างเช่นไดอารี หรือการบันทึกบทความ ทีผู้เขียนบล็อกสนใจในด้านอืนด้วย ทีเห็นชัดเจนคือ เนื อหาบล็อกประเภท วิจารณ์การเมือง หรือการรีวิวผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ทีตัวเองเคยใช้ หรือซื อมานั นเอง อีกทั งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื อหาในประเภทต่าง ๆอีกมากมาย ตามแต่ความถนัดของเจ้าของบล็อก ซึ งมักจะเขียนบทความเรืองทีตนเองถนัด หรือสนใจเป็ นต้น54


จุดเด่นทีสุดของ Blog ก็คือ มันสามารถ เป็ นเครืองมือสือสารชนิดหนึ งทีสามารถ สือถึงความเป็ นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกทีเป็ นกลุ่มเป้ าหมายผ่านทาง ระบบ comment ของบล็อกนันเอง สรุป Blog คือเว็บไซต์ทีมีรูปแบบเนื อหาเหมือนบันทึกส่วนตัวออนไลน์ มีส่วนของการ comments และก็จะมี link ไปยังเว็บอืนๆทีเกียวข้องอีกด้วย55


2) Blog มีส่วนประกอบทีสําคัญอะไรบ้าง 2.1 ชือบล็อก (◌ฺ Blog Title)ส่วนของ Blog Title นี ก็จะเป็ นชือของบล็อกนั น ๆ 2.2 วันทีและเวลา (Date & Time Stamp)เป็ นวันที และมีเวลากํากับอยู ่ด้วย ตัววันทีและเวลานี จะเป็ นตัวบอกว่า บทความในบล็อกนั นเขียนขึ นมาเมือไหร่ 2.3 ชือบทความ (Entry Title)ชือเรืองของบทความทีเขียนในบล็อก 2.4 ตัวเนือหาบทความ (Entry’s Main Body)อาจเป็ นตัวหนังสือ หรืออาจเป็ นรูปภาพ วีดีโอ หรืออนิเมชั น โดยส่วนประกอบเหล่านี จะรวมเป็ นเนื อหาของบทความ56


2.5 คอมเม้นต์ (Comment tag)เป็ นลิงค์ทีให้ผู้อ่านคลิกไปเพือกรอกคอมเม้นต์ให้กับบล็อกนั น ๆหรืออ่านคอมเม้นต์ทีมีคนเขียนคอมเม้นต์เข้ามา 2.6 ปฏิทิน (Calendar)บล็อกบางแห่งอาจมีปฏิทินอยู ่ด้วยโดยในปฏิทินนั นสามารถคลิกตามวันทีเพืออ่านบทความของวันทีนั น ๆ ได้สะดวกครับ 2.7 บทความย้อนหลัง (Archives)บทความเก่า หรือบทความย้อนหลังอาจมีการจัดเตรียมไว้โดยเจ้าของบล็อกโดยบล็อกแต่ละแห่งอาจจัดเรียงบทความย้อนหลังไม่เหมือนกันเช่นจัดเรียง รายเดือน รายสัปดาห์ หรือจะ list บทความทั งหมดออกมาเลยก็ได้57


3) วิธีสร้าง content มัดใจผู ้อ่านบล็อก 3.1 เขียนบทความทีมีอายุการใช้งานนาน ๆบทความบางเรืองมีอายุการใช้งานสั นมาก เช่น บทความจําพวกข่าวต่างๆ สําหรับการเขียนบทความทีมีอายุการใช้งานได้นานๆ นั น ไม่ควรระบุระยะเวลาเพือจะทําให้บล็อกเกอร์ คนอืนพูดถึงบทความของคุณได้บ่อย ๆ 3.2 เขียนบทความขึนเองอย่างน้อยสัปดาห์ละครั งบทความทีจะสร้างให้ blog ของคุณเป็ นทีกล่าวขวัญก็คือ บทความทีเขียนด้วยตัวคุณเองและไม่ซํ ากับใคร บทความแบบนี เขียนไม่ยาก ลองนึกถึงการเขียนด้วยความคิดของคุณเองหรือ มุมมองของคุณเอง 3.3 เขียนข่าวก่อนคนอืนหากเราเป็ นบล็อกทีรายงานข่าว ก็ลองเขียนข่าวให้เร็วกว่าคนอืน ถ้าเรารายงานข่าวได้เร็วกว่าคนอืน นั นจะทําให้ผู้อ่านคิดถึงเราเป็ นคนแรก หากต้องการอ่านข่าว58


3.4 เจาะลึกเฉพาะทางข้อนี จะเข้าข่ายเนื อหาเจาะลึกตรงประเด็น หากคุณสนใจเรืองเกมและบล็อกของคุณเขียนแต่เรืองเกมแล้วล่ะก็ ลองเจาะมันให้ลึกเอาให้ละเอียดในเนื อหาเฉพาะด้านของเกม เช่น ข่าวเกม เฉลยเกม 4) เมือคุณเริมมีความคิดทีจะเขียนบล็อกแต่ยังไม่รู้ว่าจะเขียนเรืองอะไรดีลองนึกถึงเรืองราวใกล้ตัว ทีคุณชอบและคุณถนัดทีสุด อาจจะเป็ นเรืองทีคุณมีความรู้ลึกซึ ง หรือ ทีคุณสนใจจะเรียนรู้มันนั นจะเป็ นหัวเรืองให้คุณเขียนถึงได้เป็ นอย่างดี59


4) Collaborative Tools60


4.1) Wiki 1) ความหมายของนวัตกรรม Wikiวิกิ หรือ วิกี เป็ นนวัตกรรมทีช่วยสนับสนุนการสร้างฐานข้อมูลในระบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ โดยสามารถทํางานผ่านเว็บบราว์เซอร์ทุกชนิด ดังนั นเราสามารถให้ความหมายของนวัตกรรมวิกิได้ใน 3 ลักษณะ คือ 1) ลักษณะของเว็บไซต์ 2) ตัวซอฟต์แวร์ 3) ตัวเว็บไซต์ ในด้านลักษณะของเว็บไซต์ คือ เว็บวิกิจะเป็ นเว็บทีมีลักษณะการออกแบบเพือทีจะอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเพิ มและแก้ไขเนื อหาได้โดยง่าย ซึ งบางครั งไม่จําเป็ นต้องลงทะเบียนเพือแก้ไข นอกจากนี เว็บวิกิยังมีระบบสนับสนุนการเชือมโยง (Link) ไปยังข้อมูลต่างๆ ได้อัตโนมัติ ด้วยความง่ายในการแก้ไขและโต้ตอบวิกิเว็บไซต์มักจะถูกนํามาใช้ในการร่วมเขียนบทความหรือหากมองในด้านซอฟต์แวร์ วิกิ (Wiki) ก็จะเป็ นซอฟต์แวร์ทีรองรับการทํางานของระบบเว็บวิกิ (Wiki) ซึ งเป็ นซอฟต์แวร์ทีใช้งานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Server) หรือนอกจากนี ยังหมายถึง ตัวเว็บไซต์ทีนําระบบวิกิมาใช้งาน61


ตัวอย่างเช่น เว็บสารานุกรมออนไลน์ ( วิกิพีเดีย ) ซึ งหากจะมองในภาพรวมก็จะเห็นได้ว่า นวัตกรรมวิกิ เกิดจากการคิดค้นรูปแบบ หรือหลักการของวิกิเว็บไซต์ขึ นมา แล้วก็ทําการพัฒนาซอฟต์แวร์ดังกล่าวขึ นมา และสุดท้ายก็คือ การพัฒนาเว็บวิกิขึ นมาเพือใช้งาน คําว่า นวัตกรรมวิกิ จึงจําเป็ นต้องเกียวข้องกับทั ง 3ความหมายดังทีกล่าวมา วิกิจะแตกต่างจากระบบจัดการเนื อหาอืนในส่วนของการโต้ตอบ ซึ งเห็นได้จากระบบของกระดานสนทนาออนไลน์ หรือ บล็อก ซึ งจะอนุญาตให้ผู้อืนโต้ตอบโดยการส่งข้อความต่อท้าย และไม่สามารถมีส่วนร่วมในส่วนของเนื อหาหลักได้62


2) ประวัติความเป็ นมาของวิกิสัญลักษณ์รถบัส "วิกิวิกิ" ที ท่าอากาศยานนานาชาติฮอโนลูลู วิกิตัวแรกชือว่าWikiWikiWeb สร้างโดย วอร์ด คันนิงแฮม เมือพ.ศ. 2537 สําหรับโครงการPortland Pattern Repository ของเขา โดยได้เขียนโปรแกรมขึ นด้วยภาษาเพิร์ล(Perl) และติดตั งลงทีเว็บ c2.com โดยชือของ วิกินั นมาจากชือรถประจําทางสาย"วิกิ วิกิ" (Wiki Wiki) ของระบบรถขนส่งแชนซ์ อาร์ที-52 ทีสนามบินฮอโนลูลูในรัฐฮาวาย ซึ งคําว่าวิกิในภาษาฮาวายมีความหมายว่าเร็ว ดังนั นคําว่า วิกิวิกิ หมายถึงเร็วเร็ว นันเอง ระบบวิกิเริมเป็ นทีรู้จักภายหลังจากทีสารานุกรมวิกิพีเดียได้นํามาใช้ซึ งต่อมาได้มีหน่วยงานหลายส่วนได้นําระบบวิกิมาใช้ไม่ว่าในการจัดการเอกสารการติดต่อสือสาร หรือแม้แต่การร่วมกันเขียนโปรแกรม ในประเทศไทยมีการนําเว็บวิกิมาใช้ เป็ น สารานุกรมออนไลน์ (วิกิพีเดีย) สารานุกรมเสรีทีทุกคนร่วมสร้างได้ เริ มสร้าง ธ.ค. 46 ในปัจจุบันมี 17,710 บทความ (ข้อมูล ณ วันที 26 ธ.ค. 49)63


3) ลักษณะทีสําคัญของวิกิ 3.1 การทํางานแบบง่าย วิกิเน้นการทํางานแบบง่าย ซึ งผู้เขียนสามารถสร้างเนื อหาบนเว็บได้โดยไม่จําเป็ นต้องมีความรู้ในภาษาเอชทีเอ็มแอล โดยข้อมูลถูกเขียนร่วมกันด้วยภาษามาร์กอัปอย่างง่ายโดยผ่านเว็บเบราว์เซอร์ ในแต่ละหน้าจะถูกเรียกว่า "หน้าวิกิ" และเนื อหาภายในจะเชือมต่อกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ซึ งส่งผลให้ในแต่ละวิกิสามารถทํางานผ่านระบบทีเรียบง่ายและสามารถใช้เป็ นฐานข้อมูลสําหรับสืบค้นดูแลรักษาทีง่าย 3.2 การให้สิทธิในการเพิ มและแก้ไขข้อมูลบนหน้าเว็บ นิยามลักษณะของเทคโนโลยีวิกิ คือ ความง่ายในการสร้างและแก้ไขหน้าเว็บ โดยไม่จําเป็ นต้องผ่านการตรวจสอบหรือยืนยันจากเจ้าของเว็บนั น เว็บวิกิหลายแห่งเปิ ดให้ผู้ใช้บริการทั วไปในขณะทีบางกรณี ขึ นอยู ่กับการตั งค่าวิกิบนเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้อาจจะต้องล็อกอินเพือแก้ไขหรือเพืออ่านบางหน้า 3.เว็บทีสร้างด้วยซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ จะมีน่าตาคล้ายกัน65


่ 3.3 มีระบบป้ องกันข้อมูล วิกิมีระบบป้ องกันข้อมูลหลายระดับ ดังนี ก) มีบันทึกการใช้งาน (เรียกว่า ประวัติ) ของการแก้ไขทุกครั งทีเกิดขึ น หากแก้ไขแล้วไม่พอใจ ก็สามารถกลับไปใช้ข้อมูลครั งก่อนหน้านั นครั งใจก็ได้ เพราะมีบันทึกไว้ ประวัติการใช้งานนี ไม่สามารถลบได้ ยกเว้นผู้ดูแลเว็บไซต์ คือผู้ทีติดตั งและลงโปรแกรมนี เท่านั น ข) สามารถล็อกการแก้ไขได้ ข้อมูลเอกสารทีสมบูรณ์แล้ว สามารถล็อกหน้า เพือป้ องกันการแก้ไขได้ จึงไม่ต้องห่วง ว่าข้อมูลจะถูกแก้ไขตามใจชอบ 3.4 มีระบบหมวดหมูการมีหมวดหมู ่ ช่วยให้เชือมโยงเนื อหาได้สะดวก รวดเร็ว โดยไม่ต้องเขียนคําสั งทียุ่งยาก ยืดยาวอย่างโปรแกรมอืนๆ และทําให้สามารถจัดระบบฐานข้อมูลได้ง่ายด้วย66


4) แหล่งทรัพยากรการเรียนรู ้แบบ Wiki โครงการพัฒนาเว็บไซต์ประเภท Wiki มีหลายภาษาทัวโลก สําหรับภาษาไทยเองก็มีการพัฒนาเว็บไซต์ประเภท Wiki หลายโครงการ ซึ งแต่ละโครงการสามารถนํามาใช้เป็ นแหล่งเรียนรู้และสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนทั งในระบบชั นเรียนปกติและในระบบอีเลิร์นนิ งได้เป็ นอย่างดี โครงการ ทีเป็ นเว็บไซต์ประเภท Wikiในภาษาไทย มีรายละเอียด ดังนี 67


1) วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี (http://th.wikipedia.org/wiki/ ) วิกิพีเดีย คือ สารานุกรมเสรี ทีร่วมสร้างขึ นโดยผู้อ่านหลายคนร่วมกันปรับปรุงวิกิพีเดียอย่างสมํ าเสมอระบบของวิกิพีเดียจะแตกต่างจากแหล่งข้อมูลอืน ทีทุกคนสามารถร่วมแก้ไขได้ไม่เฉพาะเจ้าของเว็บไซต์ วิกิพีเดียจะแตกต่างจากบล็อกและเว็บบอร์ดทีเรืองทุกเรืองถูกจัดเรียงตามชือหัวข้อนั นในลักษณะสารานุกรม68


2) วิกิตํารา ( http://th.wikibooks.org/wiki ) วิกิตํารา คือ หนังสือทีร่วมกันสร้างขึ นโดยผู้อ่าน มีคนหลายๆ คนร่วมกันปรับปรุงวิกิตําราอย่างสมํ าเสมอ แม้แต่คุณก็แก้ได้ โดยบทความจะสมบูรณ์ยิ งขึ นทุกๆ การแก้ไขโดยการเปลียนแปลงทั งหมดถูกบันทึกไว้ในหน้าประวัติ ซึ งจะเก็บไว้ทุกครั งและตลอดไป70


3) วิกิคําคม ( http://th.wikiquote.org/wiki/ ) วิกิคําคม แหล่งรวบรวมคําคม สุภาษิตและคําพังเพยจากทั วโลกในทุกภาษา วิกิคําคมเป็ นหนึ งในโครงการของวิกิมีเดียโครงการวิกิคําคมเปิ ดโอกาสให้ทุกคน สามารถเขียนคําคมทีชืนชม คําคมจากบุคคลทีสําคัญ ได้อย่างเต็มที72


4) วิกิซอร์ซ (http://th.wikisource.org/wiki/ ) แหล่งรวบรวมและจัดเก็บเอกสารต้นฉบับทีสามารถนําไปอ้างอิงได้ เช่น กฎหมาย พระราชบัญญัติ เอกสารทางราชการอืน ๆ74


5) วิกิข่าว (http://th.wikinews.org/wiki/) แหล่งข่าวเนื อหาเสรี โดยกลุ่มอาสาสมัครซึ งมีภารกิจเพือสร้างเว็บไซต์ทีมีการนําเสนอข้อมูลทีทันสมัย, ตรงประเด็น,น่าสนใจ และให้ความเพลิดเพลินโดยปราศจากอคติ เนื อหาทั งหมดอยู ่ภายใต้สัญญาอนุญาต โดยการทําให้เนื อหาของเราสามารถนําไปเผยแพร่และนําไปใช้ต่อได้76


6) วิกิพจนานุกรม (http://th.wiktionary.org/wiki/ ) วิกิพจนานุกรม คือ แหล่งรวบรวมและเก็บคําศัพท์เสรี78


7) วิกิสปี ซีส์ (http://species.wikimedia.org/wiki ) สารบบอนุกรมวิธานหรือวิกิสปีชีส์เป็ นโครงการของ มูลนิธีวิกิมีเดีย โดยเป็ นสารานุกรมเสรีเกียวกับสิ งมีชีวิตต่างๆซึ งรวมถึง สัตว์ พืช เห็ดรา แบคทีเรีย อาร์เคีย โพรทิสตา และสิ งมีชีวิตอืนๆ ขณะนีมีบทความทั งหมด 93,896 บทความ80


8) คอมมอนส์ ( http://commons.wikimedia.org/wiki/ ) วิกิมีเดียคอมมอนส์ เป็ นโครงการหลายภาษา เพือให้บริการคลังข้อมูลกลางสําหรับภาพ ดนตรี เสียง และวีดิทัศน์ลิขสิทธิ เสรี และอาจรวมถึงข้อความและคําพูด เพือใช้ในหน้าเอกสารในโครงการต่าง ๆ ของวิกิมีเดีย ภาพทุกภาพทีเก็บในคอมมอนส์จะสามารถเรียกใช้ได้จากหน้าเอกสารของโครงการวิกิมีเดียทุกโครงการ82


9) เมต้าวิกิ (http://meta.wikimedia.org/wiki/) เมต้าวิกิ คือ ศูนย์กลางโครงการวิกิมีเดียทีเป็ นเว็บไซต์เกียวกับ โครงการทั งหมดในองค์กรวิกิมีเดีย รวมถึง วิกิพีเดียสารานุกรมเสรีสําหรับทุกคน และ ซอฟต์แวร์ มีเดียวิกิ ทีเป็ นซอฟท์แวร์ในการพัฒนาทั งหมด ซึ งเป็ นกลุ่มสนทนาเกียวกับมูลนิธิ, บันทึกและข้อเขียนอืนซึ งมีผลโดยตรงต่อโครงการนี 84


5) ข้อดีและข้อจํากัดของ Wiki ข้อดี 1. วิกิจะแตกต่างจากระบบการจัดการเนื อหาอืนๆ ในส่วนของการโต้ตอบ ซึ งเห็นได้จากระบบของกระดานสนทนาออนไลน์หรือบล็อก จะอนุญาตให้ผู้อืนโต้ตอบโดยการส่งข้อความต่อท้าย และไม่สามารถมีส่วนร่วมในส่วนของเนื อหาหลักได้แต่วิกิจะอนุญาตให้ทุกคนมีสิทธิ ในการแก้ไขในเนื อหาได้โดยเสรี และติดตามผู้แก้ไขเนื อหาได้ เป็ นการร่วมมือกันสร้างองค์ความรู้และเรียนรู้ร่วมกัน 2. ด้านเนื อหาของสารานุกรมวิกิพีเดียได้รับการยอมรับจากนักวิชาการและสือมวลชน เนืองจากเนื อหาเปิ ดเสรีให้สามารถนําไปใช้ได้ รวมถึงเปิ ดเสรีทีให้ทุกคนแก้ไข รวมถึงนโยบายมุมมองทีเป็ นกลางจากทุกฝ่ ายทีเขียนในสารานุกรม86


อย่างไรก็ตามการนําไปใช้อ้างอิงในเอกสารทางวิชาการยังคงเป็ นข้อถกเถียงเนืองจากการเปิ ดโอกาสให้ทุกคนแก้ไข ซึ งง่ายต่อการปรับเปลียนข้อมูล เมือผู้ประสงค์ร้ายทีมือบอนเข้าไปทําลายข้อมูลหรือสิ งดีๆ ในวิกิพีเดีย ยังเป็ นปัญหาทีเกิดบ่อย แม้ว่าส่วนใหญ่ผู้ก่อการร้ายเหล่านั นจะถูกจับได้ และมีการเข้าไปแก้ไขเนื อหาเพิมเติมทีไม่ถูกต้องเหล่านั นอย่างรวดเร็ว โดยผู้ใช้วิกิพีเดียทีทําหน้าทีตรวจสอบติดตามการเปลียนแปลงทีเกิดขึ นล่าสุด ความน่าเชือถือของวิกิพีเดียได้ถูกทําการทดสอบ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 ได้มีทีมนักวิจัยทดสอบความถูกต้องของวิกิพีเดียฉบับภาษาอังกฤษ เปรียบเทียบกับสารานุกรมบริเตนนิกาสารานุกรมทีเก่าแก่ทีสุดในโลก โดยนําเรืองราวเกียวกับด้านวิทยาศาสตร์ไปทดสอบ ผลลัพธ์ทีออกมาสรุปว่าความถูกต้องใกล้เคียงกัน โดยมีการผิดพลาดทางข้อมูลและการใช้ภาษาใกล้เคียงกัน87


3. เนื อหาข้อความทั งหมดในวิกิพีเดียเป็ นเนื อหาเสรี งานสมทบทีส่งมายังวิกิพีเดียทุกชินถูกคุ้มครองโดยสัญญาอนุญาตเอกสารเสรีของ GNU "GNU Free DocumentationLicense" หรือ GFDL ซึ งเป็ นหนึ งในสัญญาอนุญาตชนิด "copyleft" ทีให้สิทธิ นําเนื อหาไปแจกจ่ายซํ า, ดัดแปลงต่อยอด, และนําไปใช้งานได้อย่างเสรี ทั งนี รวมถึงการใช้งานเชิงพาณิชย์ด้วย. สัญญาอนุญาตตัวนี อนุญาตให้ผู้ร่วมเขียนวิกิพีเดียแต่ละคนยังคงมีสิทธิ ในงานทีตนเองสร้างสรรค์ขึ น แต่ในขณะเดียวกัน ก็ยังอนุญาตให้ผู้อืนนํางานนั นไปต่อยอดและแจกจ่ายงานต่อยอดนั นต่อได้ เพียงมีเงือนไขว่าจะต้องให้เครดิตกับเจ้าของงานดั งเดิม และงานต่อยอดนั นจะต้องใช้สัญญาอนุญาต GFDLเช่นเดียวกัน. ด้วยสัญญาอนุญาตตัวนี ทําให้รับประกันได้ว่าวิกิพีเดียจะถูกแก้ไขได้อย่างเสรีและอย่างเท่าเทียมกัน; การสมทบงานของผู้เขียนแต่ละคน จะถูกบันทึกไว้ในฐานข้อมูลตราบนานเท่านาน. แลร์รี แซงเจอร์ เคยกล่าวถึง การใช้ GFDL ไว้ว่า“การรับประกันเสรีภาพ เป็ นแรงจูงใจสําคัญในการทํางานสารานุกรมเสรี88


ข้อจํากัดของ Wiki 1. ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของเนื อหาทีนําเสนอจากผู้เขียนทีเปิ ดให้แก้ไขปรับปรุงโดยเสรี อาจยังไม่เป็ นทียอมรับในด้านวิชาการเหมือนกับเอกสารสิ งพิมพ์เช่น สารานุกรม2. ในเว็บไซต์ประเภท Wiki ไม่สามารถกรองเนื อหาประเภทขยะออกได้ ทําให้ผู้นําไปใช้อาจได้ข้อมูลทีนําไปใช้ประโยชน์ต่อไม่ได้ หรืออาจเกิดความเสียหายในการนําไปใช้89


6) ข้อดีในการนํานวัตกรรมวิกิมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 6.1) สามารถนํามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือ (collaboration) ได้เป็ นอย่างดี ซึ งแสดงให้เห็นถึงการร่วมมืออย่างแท้จริง คือ การให้โอกาสแสดงความคิดเห็น การให้ความไว้วางใจทีจะให้สมาชิกในกลุ่มสามารถทีจะแก้ไข ข้อมูลต่างๆเพือทีจะให้บทความ หรือ ความรู้นั นสมบูรณ์ยิ งขึ น 6.2) สามารถทีจะใช้เว็บวิกิ ในการร่วมกัน เขียนโปรแกรม พัฒนาซอฟต์แวร์และกิจกรรมอืนๆ ได้ 6.3) ด้านเว็บสารนุกรมออนไลน์ (Wiki Media) สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าข้อมูลความรู้ ในด้านต่างๆ และ สามารถแลกเปลียนความรู้กันได้ เพือให้ได้ข้อมูลทีสมบูรณ์ และทันสมัย แต่ทั งนี ทั งนั น ก็ควรทีจะทําตามนโยบาย และเงือนไขของเว็บไซต์นั นๆ90


4.2) Sharing Forum หรือ Internet Forum Sharing Forum เป็ นเวทีการแลกเปลียนเรียนรู้บนพื นทีเสมือน (Virtual space) ทีสร้างขึ นโดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสือสารและสารสนเทศ (In<strong>for</strong>mation &Communication Technology) หรือทีเรียกว่า ICT โดยการใช้ประโยชน์จากบล็อก(Weblog) ในการแลกเปลียนเรียนรู้ (<strong>Knowledge</strong> Sharing) บนพื นทีเสมือนทีอนุญาตให้ผู้อ่านแสดงความคิดเห็นต่อความรู้ทีผู้เขียนถ่ายทอดลงไปในบล็อก และผู้เขียนได้เขียนโต้ตอบต่อความคิดเห็นนั นไป ๆ มา ๆ ในลักษณะของการสนทนาเพือหาความแตกฉานในตัวความรู้ ถือได้ว่าเป็ นการร่วมกันสกัดความรู้ฝังลึกได้อย่างดี (จันทวรรณ ปิ ยะวัฒน์, 2548) จุดแข็งของ ICT นั นอยู ่ตรงทีสามารถสร้างเครือข่ายทีกว้างไกล และสามารถกระจายไปได้อย่างรวดเร็ว การสร้างเวทีเสมือนบนเครือข่ายICT จึงเป็ นพื นทีทีทําให้ผู้สนใจเข้าถึงได้โดยง่าย สะดวกรวดเร็ว ทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (พออยู ่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เราเรียกว่า Internet Forum)91


4.3) Collaborative Editor Collaborative Editor แปลว่า ร่วมมือกันแก้ไขหรือทําบางสิ งบางอย่าง ลองนึกง่าย ๆ ว่า เวลาเราเขียนโปรแกรมอะไรซักอย่างหนึ ง เราจะนั งเขียน นั งออกแบบอยู ่คนเดียว จะดีกว่าหรือไม่ ถ้ามีคนหลาย ๆ คนเข้ามาช่วยเราเขียน ช่วยเราออกแบบ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การทําแบบนี แหละเราเรียกว่าCollaborative Editor93


Gobby94


5) Repository รีโพสิโทรี หมายถึงทีเก็บข้อมูล ในทีนี จะหมายถึง คลังทีใช้เก็บข้อมูลอันเป็ นองค์ความรู้ (<strong>Knowledge</strong> Repository) ก็เหมือนกับข้อมูลทีคุณกําลังอ่านอยู ่นีแหละ มันจะถูกเก็บเอาไว้ในเซิร์ฟเวอร์95


6) P2P Network ระบบเครือข่ายแบบ Peer to Peer เป็ นระบบเครือข่ายขนาดเล็ก เหมาะสําหรับหน่วยงาน ทีมีคอมพิวเตอร์น้อยกว่า 10 เครือง ระบบ Peer to Peer นี คอมพิวเตอร์แต่ละเครือง สามารถเข้าไปใช้ไฟล์ทีเก็บบนเครืองไหนก็ได้ ซอฟแวร์ทีใช้คือWindows <strong>for</strong> Workgroups, Windows 95,98,2000 ข้อดีของการต่อแบบ Peer to Peer 1) ประหยัดค่าใช้จ่ายเมือเทียบกับการต่อ Network แบบอืน ๆ2) สามารถแชร์ข้อมูล เครืองพิมพ์ ของแต่ละเครืองได้ง่ายในการติดตั ง และสามารถขยายต่อไปในอนาคตได้ดี96


Peer to Peer จะติดต่อกลุ่มของเครืองคอมพิวเตอร์ทีเป็ นอิสระจากกัน โดยปกติจะทําการเก็บข้อมูลไว้ทีฮาร์ดดิสก์ของตัวเอง ดังนั นหากเกิดอะไรกับเน็ตเวิร์กกับข้อมูลก็จะยังคงสภาพอยู ่ในเครืองคอมพิวเตอร์ทีตนเองเก็บเอาไว้ ถ้านึกภาพไม่ออก ลองนึกถึงเราทําการ Shareข้อมูลในกลุ่มการทํางานของเรา เพือใช้ข้อมูลร่วมกัน เป็ นกลุ่มการทํางานขนาดเล็ก ถ้าเราไม่มองในเชิงโครงสร้างของโครงข่ายแล้ว ก็สามารถกล่าวได้ว่า เป็ นแบบ P2P เช่นกัน97


7) File Server เป็ นเซิร์ฟเวอร์ทีมีหน้าทีจัดเก็บไฟล์ โดยการจัดเก็บไฟล์จะทําเสมือนเป็ นฮาร์ดดิสก์รวมศูนย์ (Centerized disk storage) เสมือนว่าผู้ใช้งานทุกคนมีทีเก็บข้อมูลอยู ่ทีเดียวเพราะควบคุม-บริหารง่าย การสํารองข้อมูล การ Restore ง่าย ข้อมูลดังกล่าวสามารถShared ให้กับ Client ได้ โดยส่วนมากข้อมูลทีอยู ่ใน File Server คือ โปรแกรมและข้อมูล (Personal Data File) โดยปกติแล้วเซิร์ฟเวอร์ไม่มีหน้าทีต้องประมวลข้อมูลเหล่านี เป็ นเพียงแหล่งเก็บข้อมูล กล่าวง่ายๆ ก็คือ File Server ทําหน้าเสมือนInput/Output สําหรับไฟล์98


การทํางานของเซิร์ฟเวอร์ทีเป็ น File Server นั น ในทางเทคนิคแล้วยังไม่เรียกว่าเป็ น “Client/Server” เพราะไม่มีการแบ่งโหลดการทํางานระหว่างไคลเอ็นต์กับเซิร์ฟเวอร์ แต่หน้าทีที File Server จะต้องจัดการคือ มี NOS (Network OperatingSystem) ทีดูแลเกียวกับการ “เข้าถึง” ไฟล์ ต้องมีกระบวน “Lock” ไว้ ไม่ให้เกิดความซํ าซ้อนในการแก้ไขไฟล์ เช่น ขณะทีผู้ใช้งานคนที 1 เปิ ด ไฟล์ A และกําลังแก้ไข (edit) อยู ่ ผู้ใช้งานคนทีสองจะเปิ ดไฟล์ A เพือแก้ไขไม่ได้ (แต่เปิ ดเพืออ่านRead Only ได้) แต่ถ้าหากข้อมูลนั นเป็ น Database แทนทีไฟล์หรือฐานข้อมูลทั งฐานข้อมูลจะถูก Lock กระบวนการ Lock ก็อาจจะเกิดเฉพาะ Record (Row) นี เป็ นหน้าทีของ NOS และ Application ทีใช้งาน99


ตัวอย่าง การทํางาน File Server Architecture100


1. ผู้ใช้ระบบทํางานอยู ่บน Application ทีเครือง Client2. ผู้ใช้ร้องขอข้อมูล แก้ไข หรือต้องการลบข้อมูล ไปยังเครือง Server3. เครือง Server ดึงข้อมูลออกมาจาก Database4. ขณะอ่านข้อมูลจาก Database จะทําการ Lock Table ทั ง Table ทีมีการ accessข้อมูล5. ส่งข้อมูลกลับไปยังเครือง Client6. ผู้ใช้แก้ไขข้อมูลส่งกลับมายังเครือง Server7. เครือง Server ส่งข้อมูลไป Update ใน Database8. เมือ Update ข้อมูลเสร็จก็ปลดล๊อก Table101


8) Searcher (Search Engine) Search Engine หมายถึง เครืองมือทีช่วยในการค้นหาต่าง ๆ ทีเราใช้ ๆ กันอยู ่ก็คือGoogle นีแหละครับ แต่จริง ๆ แล้วมีหลาย ๆ ตัวให้เราใช้ เป็ น Freeware ด้วย เช่น DataparkSearchGonzuiLuceneNamazu<strong>Open</strong>FTSWikiasariYaCyEgothorHt://digmnoGoSearchNutchSwish-eXapian102


Implicit side


1) Best Practice Best Practice คือ อะไร Best Practice คือ วิธีปฏิบัติทีเป็ นเลิศ ในการทําสิงใดสิ งหนึ งให้สําเร็จ ซึ งเป็ นผลมาจากการนําความรู้ไปปฏิบัติจริง แล้วสรุปความรู้และประสบการณ์นั น เป็ นแนวปฏิบัติทีดีทีสุดของตนเอง (บูรชัย ศิริมหาสาคร,2548) Best Practice จึงเป็ นบทสรุปของวิธีการปฏิบัติทีเป็ น Tacit <strong>Knowledge</strong> (ความรู้ในตัวคน) ซึ งเผยแพร่เป็ น Explicit <strong>Knowledge</strong> (ความรู้ทีปรากฏให้เห็นชัดแจ้งในรูปแบบต่างๆ) เพือให้ผู้อืนได้นําไปทดลองปฏิบัติ104


คําทีมีความหมายใกล้เคียงกับ Best Practice Good Practice เป็ นคําทีมีความหมายค่อนข้างกว้าง ใช้ในความหมายเกียวกับการปฏิบัติงานทีมีประสิทธิภาพ แต่อาจจะยังไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด หรือแสดงความถูกต้องอย่างชัดเจน อาจจะเป็ นเพียงคําบอกเล่าปากต่อปาก ซึ งจําเป็ นต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มายืนยันผลงาน Best practice เป็ นคําเฉพาะหรือศัพท์ทีใช้ในวงการวิชาชีพทีแสดงถึงผลงานทีมีมาตรฐาน มีการปฏิบัติอย่างต่อเนือง มีหลักฐานสนับสนุน หรือแสดงผลงานหรือความสําเร็จของงาน Innovative Practice หมายถึง จุดเน้นและแนวทางการทํางานทีน่าสนใจ แต่ยังไม่มีตัวชี วัดใดบอกความสําเร็จได้105


Best Practice กับทฤษฎีการเรียนรู ้ของ Thorndike Edward Lee Thorndike (พ.ศ. 2417-2492) เป็ นนักจิตวิทยาชาวอเมริกันผู้ค้นพบทฤษฎีความต่อเนือง (Connectionism) ทฤษฎีนี มีความเชือว่า การเรียนรู้เกิดจากการลองผิดลองถูก เช่น เมือให้ผู้เรียนทํากิจกรรมอะไรอย่างหนึ งซึ งไม่มีความรู้ในเรืองนั นมาก่อน ผู้เรียนจะทําแบบลองผิดลองถูก เพือเลือกทีจริง ทิงทีเท็จจนกระทั งจับได้ว่า ควรทําอย่างไร จึงจะถูกต้องและรวดเร็ว ก็จะเลือกทําด้วยวิธีนั นในครั งต่อไป นั นคือ ผู้เรียนได้สร้าง Best Practice ในการทํางานของตนเอง ซึ ง Best Practiceของผู้เรียนแต่ละคน อาจจะเหมือนหรือไม่เหมือนกันก็ได้ เพราะเป็ นข้อสรุปวิธีการทํางานทีต่างคนต่างค้นพบตามแนวทางของตนเอง เมือนํามาเปรียบเทียบกันจึงจะรู้ว่า วิธีการของใครดีทีสุด106


Best Practice มีความสําคัญอย่างไร จากหลักการทีว่า “ถ้าได้นําความรู้ไปใช้ ความรู้นั น ก็ยิงเพิมคุณค่า เพราะทําให้เกิดการต่อยอดความรู้ให้แตกแขนงออกไปอย่างกว้างขวาง” ดังนั น เป้ าหมายสําคัญประการหนึ งของการจัดการความรู้ในองค์กร คือ เพือให้คนในองค์กร มี BestPractice ในการทํางาน ทีช่วยเพิมผลผลิตทั งในด้านคุณภาพและปริมาณ ดังคํากล่าวของ Peter Senge ทีว่า ความรู้ คือ ความสามารถในการทําอะไรก็ตาม อย่างมีประสิทธิผล (<strong>Knowledge</strong> is the capacity <strong>for</strong> effective actions)107


Best Practice กับองค์กรแห่งการเรียนรู ้ David Garvin (อ้างถึงในบุญดี บุญญากิจ และคณะ 2547 : 26) กล่าวว่า การจัดการความรู้เป็ นเรืองสําคัญทีทําให้เกิดการเรียนรู้ และประยุกต์ใช้ความรู้ รวมทั งแปลงความรู้ของคนไปเป็ นความรู้ขององค์กร การจะเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้นั น จะต้องมีทักษะใน 5 ด้าน ได้แก่ 1. การแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ2. การทดลองศึกษาหาแนวทางใหม่ๆ3. การเรียนรู้จากประสบการณ์ในอดีต 4. การเรียนรู้จากวิธีปฏิบัติทีเป็ นเลิศของคนอืน5. การถ่ายทอดความรู้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพทั วทั งองค์กร จะเห็นว่า Best Practice เป็ นสิงทีมีความสําคัญ เพราะเป็ น 1 ใน 5 ของทักษะในองค์กรแห่งการเรียนรู้108


2) Virtual Communities ชุมชนเสมือน (Virtual Communities) หมายถึง สถานทีทีอยู ่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ทีรวบรวมข้อมูลเรืองใดเรืองหนึ งเอาไว้ และอนุญาตให้ผู้ใช้ทีมีความสนใจในเรืองนั นเข้ามาแลกเปลียนความคิดเห็นผ่านทางสืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ห้องสนทนา (Chat Room) หรือกระดานอิเล็กทรอนิกส์ (Web Broad) เป็ นต้น ซึ งองค์กรทั งหลายสามารถนําความคิดเห็นเหล่านี มาใช้ปรับปรุงสินค้าและบริการของตนให้ตรงตามความต้องการของกลุ่มลูกค้าให้มากทีสุด ในบางเว็บไซต์จะมีการให้จัดระดับความสนใจ (Rating) หรือให้คะแนน (Voting)เอาไว้ด้วย109


3) Social Networks เว็บไซต์อย่าง MySpace, Hi5, Facebook ภาษาในโลกออนไลน์ยุค Web2.0 จะเรียกกันว่า “Social Networking” ซึ ง Social Networking นี สามารถเรียกได้ว่าเป็ นรูปแบบของสังคมประเภทหนึ ง ทีมาออนไลน์อยู ่บนอินเตอร์เน็ต (หรืออาจจะเรียกได้ว่าเป็ นสังคมเสมือน “Virtual Communities”) หรืออาจจะเรียกว่า OnlineCommunity สังคมดังกล่าว มีการขยายตัวแบบ Network หรือเครือข่าย (บางท่านอาจจะคุ้นเคยกับ Amway ซึ งนั นก็เป็ น Network แบบหนึ งเช่นกัน คือ มีการขยายตัวแบบต่อๆกันไป) Social Networking เป็ นสังคมทีเราสามารถรู้จักเพือนๆของเพือน และทําให้เป็ นเพือนของเราได้ อีกด้านหนึ ง เพือนของเรา อยากรู้จักเพือนๆของเรา ก็สามารถทําได้เช่นกัน โดยเป็ นการรู้จักกันต่อไปเป็ นทอดๆ คล้ายเครือข่ายใยแมงมุม ทีโยงกันไปมา110


แต่การทีจะสร้าง Social Networking นี ไม่ง่าย ทีจะประสบความสําเร็จ เพราะเบื องหลังการมีสังคมประเภท Social Networking มันมีอะไรมากกว่านั น หลักการพื นฐานของสังคมทั วไป ทีจะทําให้สังคมนั นๆ น่าอยู ่ อยู ่ได้นานๆ และขยายตัวได้ มีการเจริญเติบโตตามสมควร นั นคือ พื นฐานของการให้และรับ(Give&Take) การแบ่งปัน (Sharing & Contribution) เป็ นหลักการพื นฐานของจิตวิทยาด้านสังคม (Social Psychology) และสามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฏีทางเศรษฐศาสตร์111


Peter Kollock ได้ให้กรอบจํากัดความเรือง แรงจูงใจในการ Contribute ใน OnlineCommunities มีอยู ่ 4 เหตุผล คือ1.) Anticipated Reciprocity - การทีคนๆ หนึ งได้ให้ข้อมูล ความรู้ กับ OnlineCommunity นั นบ่อยๆมีแรงจูงใจมาจากการทีคนๆ นั น เอง ก็ต้องการจะได้รับข้อมูลความรู้ อืนๆกลับคืนมา เช่น นาย ก มาโพสต์ข้อความตอบกระทู้บ่อยๆในเว็บหนึ งจนคนรู้จัก มีความคุ้นเคยกันดี ถ้ามีการถามกระทู้ในเว็บนี กระทู้ของนาย ก จะมีคนมาโพสต์ตอบเร็วกว่ากระทู้ของคนอืนทีเป็ นคนแปลกหน้ามาโพสต์112


2.) Increased Recognition - ความต้องการมีชือเสียง และเป็ นทีจดจําของคนในOnline Community นั นๆ เช่น การให้คะแนน ให้ดาว คนทีตอบคําถามเก่งๆในCommunity ทําให้คนคนนั นดูมียศเหนือกว่าคนอืน 3.) Sense of efficacy - ความรู้สึกภาคภูมิใจ คนที Contribute อะไรแล้วเกิด Impactกับ community นั น ย่อมทําให้คนๆนั นมีความภาคภูมิใจ เช่น นาย ข ตั งกระทู้ในเว็บไซต์หนึ ง ๆ แล้วมีคนเข้ามาโพสต์ตอบตามมาเป็ นหมืนๆคน ย่อมรู้สึกดีกว่าตั งกระทู้แล้วไม่มีคนเข้ามาตอบเลย1<strong>13</strong>


4.) Sense of Community - เช่น การมีปฏิสัมพันธ์กันหรือการแลกเปลียนความคิดเห็นกันระหว่างคนในสังคมนั นๆ เหมือนมีคนมาตั งกระทู้หรือเขียนบทความอะไร เรามาอ่านเจอเข้าก็คันไม้คันมือ อยากแสดงความคิดเห็นของตัวเอง การทีความคิดคนหนึ ง มีอิทธิพลเหนือคนกลุ่มหนึ ง หรือ การมีอารมณ์ความรู้สึกบางอย่างร่วมกัน เช่น การรวมตัวกันเพือแสดงพลังทางการเมือง หรือ การรวมตัวกันเพือแสดงออกอะไรบางอย่างบน Online Community(อ้างอิงจากหนังสือ "The Economies of Online Cooperation: Gifts and PublicGoods in Cyberspace" ของ Peter Kollock)114


4) Competence <strong>Management</strong> เช่น115


5) <strong>Knowledge</strong> Map 5.1) Ontology คืออะไร เกียวข้อง และมีความสัมพันธ์ยังไงกับโลก IT ในปัจจุบันออนโทโลยีมีผู้ให้คําจํากัดความไว้หลากหลายทั งสาขาปรัชญาและเทคโนโลยีสารสนเทศ (In<strong>for</strong>mation Technology) โดยความหมายของออนโทโลยีของสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง วิธีการบรรยายแนวความคิดตามขอบเขตทีสนใจ หรือข้อกําหนดทีเกียวกับแนวคิด (The Specification of a Conceptualization)โดยทีออนโทโลยีเป็ นการสร้างโครงสร้างฐานความรู้ทางด้านใดด้านหนึ ง หรือขอบเขต (Domain) ใดขอบเขตหนึ ง ซึ งมีแนวคิดและความเข้าใจตรงกัน116


่ ออนโทโลยีใช้ในการอธิบายความหมายของสิ งต่าง ๆ และสามารถจัดหมวดหมูเอกสารของข้อมูลได้ในขอบเขตความสนใจหนึ ง ๆ ซึ งในปัจจุบันออนโทโลยีได้ถูกนํามาประยุกต์ใช้งานมากยิ งขึ น สามารถประยุกต์กับงานหลาย ๆ ด้าน เช่น เว็บ เชิงความหมาย (Semantic Web) การจัดการองค์ความรู้ (<strong>Knowledge</strong> <strong>Management</strong>) ธุรกิจอิเล็คทรอนิกส์ (e-Business) พาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ (e-Commerce) และการค้นคืนสารสนเทศ ออนโทโลยีถูกสร้างขึ นมาเพือจํากัดองค์ความรู้ (<strong>Knowledge</strong>) ของขอบเขตข้อมูลนั นๆ โดยมีความสามารถในการใช้ข้อมูลร่วมกัน (Share) สามารถนําข้อมูลกลับมาใช้ได้(Reuse) และมีความสามารถในการถ่ายทอดคุณสมบัติ (Inheritance) การนําออนโทโลยีมาใช้งานจึงเป็ นทางเลือกหนึ งในการแชร์ข้อมูล และแยกองค์ความรู้ออกจากฐานข้อมูล117


5.2) Taxonomy คืออะไร taxonomy เป็ นการจัดหมวดทีมีความสัมพันธ์กันแบบ parent-child เช่น การจัดหมวดสปี ชีจะเริ มประกอบด้วยอาณาจักรสัตว์ แล้วแบ่งเป็ นหนอนตัวกลม หนอนตัวแบน สัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แล้วในสัตว์มีกระดูกสันหลังก็จะแบ่งเป็ นสัตว์เลี ยงลูกด้วยนม ปลา ครึ งบกครึ งนํ า เลื อยคลาน สัตว์ปี ก เมือเราเปิ ด taxonomy ไปเจอมนุษย์ เราสามารถย้อนกลับไปได้ว่ามนุษย์อยู ่ประเภทสัตว์เลี ยงลูกด้วยนม ซึ งอยู ่ในสัตว์ทีมีกระดูกสันหลัง, และอยู ่ในอาณาจักรสัตว์118


5.3) Thesaurus คืออะไร thesaurus เป็ นการจัดหมวดเพิ มเติมจาก taxonomy โดยดูจากสิงทีใกล้เคียงกัน ซึ งจะเป็ นมุมมองทีกว้างกว่า taxonomy เช่น การจัดหมวดคําศัพท์จะมีคําราชาศัพท์ คําสามัญ แล้วในคําราชาศัพท์ก็จะมีหมวดคํากริยา คํานําหน้าชือ แล้วในหมวดคํากริยาก็จะมีคําว่าบรรทม เสวย ซึ งตรงนี จะยังเหมือน taxonomy จากนั นคําว่าเสวย ก็มีการอ้างอิงไปถึง รับประทานในหมวดคําสามัญ, ทานในหมวดคําสามัญ,กินในหมวดคําสามัญ119


5.4) โฟล์กโซโนมี (folksonomy) หรือ ปัจเจกวิธาน คืออนุกรมวิธานทีผู้ใช้สร้างขึ นเอง ซึ งใช้ในการแบ่งหมวดหมู ่และค้นคืน หน้าเว็บ รูปภาพ ตัวเชือมโยงเว็บ และเนือหาบนเว็บอืนๆ โดยใช้กินติดป้ ายทีไม่จํากัดข้อความ โดยปกติโฟล์กโซโนมีทํางานผ่านอินเทอร์เน็ต อย่างไรก็ตามอาจจะถูกนําไปใช้ในบริบทอืนเช่นกันกระบวนการการติดป้ ายแบบโฟล์กโซโนมีเจตนาทีจะเพิ มความง่ายในการค้นหาค้นพบ และหาตําแหน่ง เมือเวลาผ่านไป โฟล์กโซโนมีทีพัฒนาขึ นมาอย่างดีตามหลักการแล้วสามารถใช้เป็ นรายการคําศัพท์ทีใช้ร่วมกัน ซึ งสร้างขึ นมาโดยผู ้ใช้อันดับแรก และเป็ นทีคุ้นเคยสําหรับผู ้ใช้อันดับแรก เว็บไซต์ทีเป็ นทีรู้จักมากทีสุดสองแห่งทีใช้การติดป้ ายแบบโฟล์กโซโนมีคือ ฟลิคเกอร์ และ del.icio.us อย่างไรก็ตามมีการชี ประเด็นว่า ฟลิคเกอร์ ไม่ใช่ตัวอย่างทีดีของ'โฟล์กโซโนมี120


เนืองจากโฟล์กโซโนมีพัฒนาขึ นในสิงแวดล้อมทางสังคมทีใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นสือกลาง โดยทั วไปแล้วผู้ใช้จึงสามารถค้นพบได้ว่าใครเป็ นผู้ติดป้ ายโฟล์กโซโนมีและสามารถดูได้ว่าผู้ใช้คนอืนสร้างป้ ายอะไรขึ นมาบ้าง "folksonomy" คือรูปแบบต่างๆของข่าวสารความรู้ทีถูกเก็บไว้ในอินเตอร์เน็ต รูปแบบการจัดระเบียบและค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ตมี 3 วิธีคือ 1.ค้นหาในเนื อความหรือ (Text search) เช่นการค้นหา จากการเข้าไป search ใน search engine จาก Google แล้วพิมพ์คําค้นทีเป็ นคําสําคัญของเรืองนั นๆ121


2.เรียงเนื อหาตามลําดับเวลา (Chronological) เป็ นการจัดเรียงเนื อหาตามลําดับเวลา เช่น เว็ปไซต์ก็แสดงข่าวใหม่อยู ่ด้านบน ข่าวเก่าก็จะตกไปอยู ่ด้านล่าง ซึ ง บล็อก ก็ใช้วิธีการเดียวกันซึ งเมือผู้อ่านเข้ามาอ่านเมือไหร่ก็จะเห็นข่าวสารใหม่อยู ่ด้านบนเสมอ เช่น CNN 3.แยกตามกลุ่มประเภท (Category, classification) เป็ นการจัดระเบียบแบบเดียวกับการจัดหนังสือในห้องสมุด แบ่งกลุ่มประเภทออกเป็ นหัวข้อหรือลักษณะอืนๆของข้อมูลเป็ นตัวแบ่ง122


Communication Tools กลุ่มสุดท้ายคือ เครืองมือทีใช้ในการสือสาร(Communication Tools) ได้แก่ 1) eMail 2) Chat 3) Messenger 4) Audio conference 5) Videoconference123


่1) E- Mail E-mail คือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นการส่งข้อความจากบุคคลหนึ งไปยังอีกบุคคลหนึ ง มีระบบการกําหนดแอดเดรส เช่น บนอินเทอร์เน็ต มีแอดเดรสเป็ นชือโฮสต์คอมพิวเตอร์ โดยใช้ระบบชือโดเมน เช่น bu.ac.th หากผู้ใช้เป็ นผู้หนึ งทีอยูบนโฮสต์ก็จะมีชือบัญชี (account) หรือยูสเซอร์เนมประกอบอยู ่ด้วย เช่นHelpDesk@bu.ac.th การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เป็ นวิธีการส่งเหมือนจดหมายจริง โดยจะไปเก็บไว้ในเมล์บ็อกซ์ของผู้รับปลายทาง รอจนกว่าผู้รับปลายทางจะมาเปิ ดเมล์บ็อกซ์นําจดหมายไป124


2) Chat “Chat” ในภาษาอังกฤษ แปลว่า สนทนาอย่างเป็ นกันเอง เช่นเดียวกันกับในอินเทอร์เน็ต จุดต่างกันเพียงแค่ในอินเตอร์เน็ต การแชทเป็ นการคุยโดยใช้วิธีพิมพ์ข้อความลงไปเท่านั น ไม่ได้ใช้เสียง แต่ว่าปัจจุบันก็มีบางโปรแกรมทีสามารถคุยเห็นหน้ากัน ได้ยินเสียงกัน ถ้าหากผู้ใช้ต่ออุปกรณ์เสริม กล้องเวบแคม หรือไมโครโฟน เช่น โปรแกรม ICQ , MSN, Yahoo Messenger ฯลฯ125


3) Instant Messaging Instant Messaging เป็ นการอนุญาตให้มีการติดต่อสือสารระหว่างบุคคลบนเครือข่ายทีเป็ นแบบ relativeprivacy ตัวอย่าง client ทีเป็ นทีนิยมเช่น Gtalk , Skype , Meetro , ICQ , YahooMessenger , MSN Messenger และ AOL Instant Messenger เป็ นต้น ในการใช้งานดังกล่าวจะสามารถเพิ มรายชือให้อยู ่ใน contact list หรือ buddy list ได้ โดยการใส่ e-mail address หรือ messenger ID ลงไป ถ้าคนๆนั น onlineขึ นมา ชือของคนนั นจะปรากฏขึ นมาและสามารถ chat ได้โดยการคลิกไปทีชือนั นแล้วพิมพ์ข้อความทีต้องการสนทนาลงไปใสช่องหน้าต่างทีกําหนดให้สําหรับพิมพ์ข้อความ รวมถึงสามารถอ่านข้อความทีโต้ตอบได้โดยอาจผ่านหน้าจอเดียวกัน เช่น โปรแกรมGoogle Talk, ICQ เป็ นต้น126


127


4) Audio Conference การประชุมทางไกลด้วยเสียง (Audio conference) ความหมายของ Audio Conference คือ การประชุมกันหลาย ๆ คน ด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีการสือสาร โดยไม่ต้องมาพบกันจริงๆ โดยการประชุมกันนั นอาจเป็ นรูปแบบการประชุมกันของกลุ่มบุคคลในสถานทีต่างๆ โดยใช้อุปกรณ์ด้านการสือสารและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วย เป็ นการประชุมทีได้ยินแต่เสียงของผู้เข้าร่วมประชุม128


5) Videoconference การประชุมทางไกลด้วยภาพ (Videoconference) ความหมายของ VDO Conference คือ การประชุมกันโดยมองเห็นกันด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีการสือสาร โดยไม่ต้องมาพบกันจริงๆ โดยการประชุมกันนั นอาจเป็ นรูปแบบ การประชุมกันของกลุ่มบุคคลในสถานทีต่างๆ โดยใช้อุปกรณ์ด้านการสือสารและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วย ทําให้ไม่ต้องเดินทาง ไม่เสียเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่ายอืนๆ หลายอย่าง เช่นค่าทีพัก ค่าสถานที ฯลฯ129


S/W ทีเกียวข้องกับ KMSearchersยังขาด S/W ประเภท<strong>Knowledge</strong> Creation<strong>13</strong>0


จบหัวข้อ <strong>13</strong> คําถาม ………..<strong>13</strong>1

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!