12.07.2015 Views

ฉบับที่ 39 - คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฉบับที่ 39 - คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฉบับที่ 39 - คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปีที ๔ ฉบับที ๓๙ วันที ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ข่าวจากฝ่ายวิรัชกิจผู ้บริหารมหาวิทยาลัยกวางตุ ้งเยือน<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong>เมื อวันที กันยายน คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยกวางตุ้ง (Guangdong University ofBusiness Studies) ประกอบด้วย A.ศาสตราจารย์ยง เหอหมิง รองอธิการบดี .ศาสตราจารย์หลี ฮ่วนหรงผู้อํานวยการ MBA Center L.ศาสตราจารย์หง หย่ง คณบดีคณะคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์N.ศาสตราจารย์ล่าย ชิง รองคณบดีคณะสารสนเทศ .นายเหอ สงเว่ย รองผู้อํานวยการฝ่ายบุคคลQ.นางสาวหยาง ฉุน หัวหน้าฝ่ายวิรัชกิจ มาเยือน<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong> ในโอกาสนี U รองศาสตราจารย์สุรภีพรรณฉัตราภรณ์ รองคณบดีฝ่ายวิรัชกิจ อาจารย์ ดร.ชัญญพร ปริญญาวุฒิชัย หัวหน้าสาขาวิชาภาษาจีน อาจารย์อภิรดี เจริญเสนีย์ อาจารย์ ดร.หทัย เจี ย และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรีย์ ชุนหเรืองเดช ได้ให้การต้อนรับณ ห้อง [\ อาคารบรมราชกุมารีรองศาสตราจารย์สุรภีพรรณ ได้กล่าวต้อนรับและนําเสนอข้อมูลเกี ยวกับประวัติและการดําเนินงานของ<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong> ด้วย PowerPoint ศาสตราจารย์ยง เหอหมิง รองอธิการบดี ได้กล่าวขอบคุณในการต้อนรับอย่างอบอุ่น และได้กล่าวแนะนําและให้ข้อมูลเกี ยวกับมหาวิทยาลัยกวางตุ้ง คณาจารย์จากสาขาวิชาภาษาจีนได้ให้ข้อมูลเกี ยวกับสาขาวิชาและหลักสูตรของสาขา ต่อจากนัUน เป็นการแลกเปลี ยนความคิดเห็น๑


เพื อหาช่องทางในการริเริมความร่วมมือและสร้างโครงการ และกิจกรรมในการแลกเปลี ยนทางวิชาการและวัฒนธรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ คณบดี<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong> และรองศาสตราจารย์ดร.ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ ได้จัดเลี Uยงอาหารกลางวันคณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยกวางตุ้ง ณ โรงแรมมณเฑียร และมอบของที ระลึกของ<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong> แด่ผู้บริหารมหาวิทยาลัยกวางตุ้งข่าวจากภาควิชาประวัติศาสตร์กําหนดการสัมมนาความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์บัณฑิตศึกษา ภาควิชาประวัติศาสตร์ประจําภาคปลาย ปี การศึกษา -..5ห้อง 012 อาคารบรมราชกุมารีวันจันทร์ที3 3 ธันวาคม -...AL.[[ – AL.N น. “ก่อนจะเป็น ปตท.”: ประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมนํ UามันปิโตเลียมในประเทศไทยตัUงแต่ พ.ศ. N\g ถึง Aโดย นายอนรรฆ พิทักษ์ธานินผู้วิจารณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พอพันธุ์ อุยยานนท์1L.N – 1N.L0 น. อุตสาหกรรมป่าไม้กับการเปลี ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของเมืองแพร่(พ.ศ. Ng-[N)โดย นางสาวเหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศผู้วิจารณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัชระ สินธุประมา1N.L0 – 1N.N5 น. พัก กาแฟ-อาหารว่างAN.N – A.L[ น. “ผัวเดียวเมียเดียว” ในสังคมไทยสมัยใหม่จากทศวรรษ NA[ ถึงทศวรรษ N\[โดย นายสุรเชษ์ฐ สุขลาภกิจผู้วิจารณ์ อาจารย์ ดร.นิภาพร รัชตพัฒนากุลA.L[ – AQ.A น. งานนิพนธ์ของ ก.ศ.ร.กุหลาบ: ชนชัUนนําและการสร้างองค์ความรู้ในสยามต้นยุคใหม่โดย นายบุญพิสิฐ ศรีหงส์ผู้วิจารณ์ รองศาสตราจารย์ฉลอง สุนทราวาณิชย์๒


ข่าวจากภาควิชาภาษาศาสตร์Call for PaperOn the occasion of the 36 th year of its foundation, the Department of Linguistics, Faculty of Arts,Chulalongkorn University in collaboration with the ASEAN Studies Center, and the Institute ofAsian Studies, Chulalongkorn University, as well as the National Institute of Japanese Languageand Linguistics (NINJAL), Japan, cordially invite scholars working on Southeast Asian linguistics tojoin us at the 23 rd Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society (SEALS23) inBangkok, Thailand. This meeting provides a forum to share both research findings and ideas onthe languages and linguistics of Southeast Asia, including the Austroasiatic, Austronesian, Hmong-Mien, Tibeto-Burman and Tai-Kadai language families.Abstracts are invited for papers on any areas related to Southeast Asian Languages including butnot exclusively:• Phonetics and phonology• Grammatical system• Genetic and areal relationships• Historical and comparative studies• Semantic, pragmatic and discourse analysis• Sociolinguistic study• Psycholinguistic, neuro-linguistic, and cognitive study• Language and culture/thought• Language documentationDate and venueMay 29-31, 2013 at the Faculty of Arts, Chulalongkorn University Bangkok, ThailandAbstract submissionPlease send your abstract of no more than 500 words plus examples and references via Easychair(link available on the conference website). If special fonts or characters are required, please useUnicode. Presentations will be allotted 20 minutes for presentation plus 10 minutes for discussion.Important datesAbstract submission deadline: Jan 4, 2013Notification of acceptance: Feb 15, 2013๓


ContactFor inquiries, please contact Pittayawat (Joe) Pittayaporn at sealsxxiii@gmail.com.Special panelProposals for special panels on any topics relating to linguistic diversity in Southeast Asia arewelcome. Please send a brief description together with a preliminary list of speakers tosealsxxiii@gmail.com by Jan 31, 2013.ข่าวจากภาควิชาภาษาอังกฤษสืบเนื องจากกิจกรรมแลกเปลี ยนวัฒนธรรมซึ งภาควิชาภาษาอังกฤษจัดให้กับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ในกลุ่ม ASEAN Youth Friendship Network ของประเทศอินโดนีเซีย ในปี N ที ผ่านมา ทาง ASEAN Youth Friendship Network จึงได้มอบทุน Inter-cultural Learning and FriendshipProgram #4 ให้แก่นิสิต<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong>ที ได้เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว จํานวน ทุน ซึ งนิสิต<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong> ปี N จํานวน คนที ได้รับทุนคือ นายดิน บัวแดง และ นางสาวสุทธิณี เทพพันธ์กุลงาม โดยทัUงสองจะไปแลกเปลี ยนวัฒนธรรมกับนักศึกษาอินโดนีเซีย ณ Universitas Gadjah Madah เมืองยอกยาการ์ตาประเทศอินโดนีเซีย เป็นระยะเวลา \ วัน ตัUงแต่วันที A-\ ตุลาคม ทัUงนี U นิสิตทัUงสองคนรวมถึงนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยอื นๆ ในประเทศไทยที เข้าร่วมโครงการนี Uจะได้ศึกษาเรื องต่างๆ ที เกี ยวข้องกับวัฒนธรรมอินโดนีเซีย เช่น ภาษา การร้องรํา การละเล่นพื Uนเมือง เป็นต้น และจะได้แลกเปลี ยนวัฒนธรรมไทยกับนักศึกษาชาวอินโดนีเซียที มาเข้าร่วมกิจกรรมด้วย อีกทัUงยังได้มีโอกาสไปเยี ยมเยียนสถานที สําคัญของเมืองยอกยาการ์ตา คือพุทธสถานบุโรพุทโธ และวิหารปรัมบานัน นางสาวอภิสรา คูหาสุวรรณ นิสิตระดับปริญญาตรี สังกัดภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับการตอบรับให้เข้าร่วมโครงการนิสิตแลกเปลี ยน ณ University of Hawai‘i ประเทศสหรัฐอเมริกา ตัUงแต่เดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม Q๔


ข่าวจากภาควิชาปรัชญาภาควิชาปรัชญา <strong>คณะอักษรศาสตร์</strong> <strong>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</strong>ขอเชิญร่วมสัมมนาปฎิบัติการโดยProf. David Miller(Emeritus Reader)University of Warwickสัมมนาปฏิบัติการเรื3อง Critical Thinkingสถานที : ห้อง 708 อาคารบรมราชกุมารี <strong>คณะอักษรศาสตร์</strong><strong>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</strong>7 ธันวาคม 2555 เวลา 13.00 – 16.00หัวข้อเรื อง “The Purpose of Argument"21 ธันวาคม 2555 เวลา 13.00 – 16.00หัวข้อเรื อง "Why Critical Thinking Should Be Concerned with the Criticism ofConclusions, Rather Than Criticisms of Arguments"4 มกราคม 2556 เวลา 13.00 – 16.00หัวข้อเรื อง "The So-Called Assumption Hunting”*ผู้ที ต้องการเข้าร่วมสัมมนาปฎิบัติการ กรุณาลงทะเบียนภายในวันที 30 พฤศจิกายน 2555 โดยส่งอีเมล์มาทีอ.ดร.กนิษฐ์ ศิริจันทร์ Kanit.m@chula.ac.th ผู้เข้าร่วมสัมมนาไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใดขอเชิญฟังรายการบรรยายพิเศษ จัดโดยภาคปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์28 ธันวาคม 2555 เวลา 14.00 – 16.00หัวข้อเรื3อง "Popper's Arguments against Historicism"สถานที : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์David Miller เป็นนักปรัชญาผู้เชี ยวชาญทางปรัชญาวิทยาศาสตร์ ตรรกวิทยา โดยเฉพาะทฤษฎีความน่าจะเป็น และยังเป็นหนึ งในผู้ช่วยวิจัยคนสําคัญของ Karl Popper (1902-1994) นักปรัชญาวิทยาศาสตร์ ผู้เป็นที รู้จักกันดีท่านหนึ งในโลกปรัชญาร่วมสมัยDavid Miller มีชื อเสียงจากการค้นพบข้อบกพร่องที สําคัญเกี ยวกับทฤษฎี verisimilitude (หรือ truthlikeness) ของ KarlPopper และเป็นผู้หนึ งที สนับสนุนแนวปรัชญา “Critical Rationalism” ของ Karl PopperDavid Miller จบการศึกษาจาก University of Cambridge และ London School of Economics และเป็นอาจารย์ประจําภาควิชาปรัชญา University of Warwick ตัUงแต่ปี 2512 จนกระทังเกษียณอายุในปี 2550 นอกจากนี Uยังเดินทางไปบรรยายพิเศษที ประเทศอาร์เจนตินา บราซิล แมกซิโก โคลอมเบีย สหรัฐอเมริกา อินเดีย อิตาลี ฮังการี๕


รองศาสตราจารย์สุรภีพรรณ ฉัตราภรณ์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับเชิญจากวิทยาลัยนานาชาติมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นกรรมการปรับปรุงและวิพากย์หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื อการสื อสารธุรกิจ (IBEC) หลักสูตรนานาชาติ ปีการศึกษา Q รองศาสตราจารย์สุรภีพรรณ ฉัตราภรณ์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับเชิญจากวิทยาลัยนานาชาติมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เป็นกรรมการวิพากย์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื อการอาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ) ปีการศึกษา Qใคร ทําอะไร ที3ไหนรองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐมา พงศ์ไพโรจน์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับเชิญจากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการทางด้านภาษาและการสื อสารสําหรับการจัดงานสัมมนาทางวิชาการประจําปี Q ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนธิรา ราโท ภาควิชาภาษาตะวันออก ได้รับเชิญจากสํานักข่าวกรองแห่งชาติ เป็นวิทยากรบรรยายเพื อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เจ้าหน้าที ซึ งรับผิดชอบงานวิเคราะห์วิจัยเกี ยวกับประเทศเพื อนบ้านในหัวข้อ “ไทยในมุมมองของเวียดนามและกัมพูชา” ณ สํานักข่าวกรองแห่งชาติ ในวันอังคารที พฤศจิกายน ระหว่างเวลา [g.L[–A.[[ น. อาจารย์ ดร.ภาวรรณ เรืองศิลป์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ ได้รับเชิญจากโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “การรวมกลุ่มอาเซียนในสายตานักประวัติศาสตร์” ในกิจกรรมวันวิชาการหัวข้อ ACTASEAN Knowledge Fair ในวันที 29 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10.00-12.00 น. ณ ห้องประชุมมงฟอร์ตอาคารหอประชุมหลุยส์ มารี เดอ มงฟอร์ตคณะกรรมการประชาสัมพันธ์<strong>คณะอักษรศาสตร์</strong>ส่งข่าวประชาสัมพันธ์ได้ที นางกัญญ์กนก สิงหฤกษ์ โทร. \N\\ E–mail: artspr08@hotmail.com๖

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!