ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

12.07.2015 Views

การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีไบโอดีเซลปัจจุบันงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเชื้อเพลิงเอทานอลเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่างๆ ได้แก่การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกวัตถุดิบ กระบวนการผลิตเอทานอล และการศึกษาผลกระทบของการใช้เอทานอลกับยานยนต์ รวมทั้งแนวทางการส่งเสริมการใช้เอทานอล จากการรวบรวมข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพลังงานชีวมวลในช่วงปี 2539-2555 ำนวน จ 278 งานวิจัยพบว่าหน่วยงานหลักที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับไบโอดีเซลมี 3 หน่วยงานหลักคือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.)เนื่องจากแหล่งเพาะปลูกปาล์มน้ำมันซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยอยู่ทางภาคใต้รองลงมาคือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเกษตร (มก.) ตามลำดับ โดยงานวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้องนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มงานวิจัยที่1 การวิจัยเกี่ยวกับศักยภาพวัตถุดิบ เป็นกลุ่มที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาศักยภาพโดยภาพรวมของวัตถุดิบที่สามารถการผลิตไบโอดีเซล เช่น การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ในการปลูกพืชรวมทั้งการศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการด้าน Logistic ในการรวบรวมวัตถุดิบเพื่อนำมาผลิตไบโอดีเซลการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตวัตถุดิบ เช่น การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์พืช นอกจากนั้นยังมีการวิเคราะห์หาวัตถุดิบชนิดใหม่ที่มีศักยภาพสามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลในรุ่นใหม่ เช่น สบู่ดำและสาหร่ายเป็นต้นกลุ่มงานวิจัยที่ 2 การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล เป็นศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการผลิตและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตไบโอดีเซลจากวัตถุดิบชนิดต่างๆกลุ่มงานวิจัยที่ 3 การศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้ไบโอดีเซลกับยานยนต์ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาผลกระทบของเครื่องยนต์ต่อการใช้ไบโอดีเซลผสมกับน้ำมันดีเซลในสัดส่วนต่างๆ รวมทั้งการส่งเสริมให้ใช้ไบโอดีเซลในเครื่องจักรทางการเกษตรและยานยนต์อื่น เช่น เรือประมง เป็นต้นกลุ่มงานวิจัยที่ 4 การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการผลิตไบโอดีเซลเป็นการศึกษาเกี่ยวกับต้นทุนและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการปล่อยมลพิษจากการผลิตไบโอดีเซลจากวัตถุดิบและเทคโนโลยีประเภทต่างๆ รวมทั้งแนวทางในการลดต้นทุนและลดผลกระทบจากการผลิตไบโอดีเซลงานวิจัยโดยส่วนใหญ่ของประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่ 1 และ 2 โดยเป็นการศึกษาหาศักยภาพของวัตถุดิบชนิดต่างๆ ในการผลิตไบโอดีเซลและการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากวัตถุดิบชนิดต่างๆโดยเฉพาะวัตถุดิบที่ไม่ได้ใช้เป็นพืชอาหาร ในขณะที่งานวิจัยในกลุ่มที่ 3 และ 4 มีสัดส่วนของงานวิจัยน้อยกว่าโดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับต้นทุนการผลิตและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตลอดวัฏจักรการผลิตไบโอดีเซลจากวัตถุดิบชนิดต่างๆ93

แนวทางในการส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาสำหรับการผลิตไบโอดีเซลแบ่งได้เป็น 5 ด้าน ดังนี้ด้านที่ 1 การพัฒนาพันธุ์พืชและเขตกรรมพืชที่ใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืช ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน สบู่ดำ และสาหร่ายขนาดเล็ก ที่ให้ผลผลิตน้ำมันสูง โดยทำการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ทั้งโดยวิธีดั้งเดิมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวโมเลกุล เช่นMarker-assisted selection เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย2) การพัฒนาการจัดการเขตกรรมพืช และถ่ายทอดความรู้เรื่องการปลูก เก็บเกี่ยว และดูแลรักษาแก่เกษตรกรเพื่อให้ได้มาตรฐาน GAP3) การจัดการบริหารพื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ (Precision farming) เช่น การใช้เทคโนโลยีGIS ในการวางแผนการเพาะปลูก4) กำหนดแผนการผลิตและแผนส่งเสริมการปาล์มน้ำมันที่สมดุลกับความต้องการเพื่อรักษาระดับราคาของวัตถุดิบไม่ให้ผันผวนมากจนเกินไป รวมทั้งเพิ่มผลผลิตต่อไร่เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาด้านพื้นที่เพาะปลูกด้านที่ 2 การพัฒนา Logistics ของการเก็บรวบรวมและขนส่งวัตถุดิบ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การเลือกชนิดของพืชพลังงานที่เหมาะสมกับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพแต่ละชนิดในประเทศโดยอาศัยข้อมูลศักยภาพในด้านต่างๆ เช่นผลผลิตต่อพื้นที่ อัตราการเจริญเติบโต ต้นทุนการเก็บเกี่ยว และความเป็นไปได้ในการนำไปใช้2) การศึกษาหาวิธีการรวบรวมวัตถุดิบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงคุณภาพของวัตถุดิบที่ส่งถึงโรงงานขนาดและการกระจายตัวของแหล่งเพาะปลูกควบคู่กับตำแหน่งที่ตั้งของโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ รวมทั้งประเมินค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นต่อหน่วยน้ำหนักที่ขนส่งด้านที่ 3 การพัฒนากระบวนการผลิตและโรงงานต้นแบบเพื่อให้มีการใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) พัฒนากระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มซึ่งบูรณาการกระบวนการผลิตเข้ากับกระบวนการสกัดน้ำมันพืช เพื่อต่อยอดสู่การออกแบบและสร้างโรงงานในลักษณะดังกล่าว2) การพัฒนาสายพันธุ์ปาล์มโดยใช้เทคโนโลยีการปรับปรุงสายพันธุ์โดยวิธีดั้งเดิม และใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยา รวมถึงการบริหารจัดการพื้นที่เพาะปลูก3) การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอดีเซลด้วยเทคโนโลยีใหม่ซึ่งสามารถเปลี่ยนส่วนที่เป็นวัตถุดิบที่มีกรดไขมันอิสระสูงเป็นไบโอดีเซล เช่นการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือเอนไซม์ตรึงรูปที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้4) การพัฒนาต่อยอดการใช้ประโยชน์จาก Crude glycerol ที่ได้จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล เช่นเพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพ หรือสารเคมีเพิ่มมูลค่า รวมถึงพัฒนากระบวนการทำกลีเซอรีนให้บริสุทธิ์ เพื่อนำ94

แนวทางในการส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาสำหรับการผลิตไบโอดีเซลแบ่งได้เป็น 5 ด้าน ดังนี้ด้านที่ 1 การพัฒนาพันธุ์พืชและเขตกรรมพืชที่ใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืช ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน สบู่ดำ และสาหร่ายขนาดเล็ก ที่ให้ผลผลิตน้ำมันสูง โดยทำการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ทั้งโดยวิธีดั้งเดิมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวโมเลกุล เช่นMarker-assisted selection เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย2) การพัฒนาการจัดการเขตกรรมพืช และถ่ายทอดความรู้เรื่องการปลูก เก็บเกี่ยว และดูแลรักษาแก่เกษตรกรเพื่อให้ได้มาตรฐาน GAP3) การจัดการบริหารพื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ (Precision farming) เช่น การใช้เทคโนโลยีGIS ในการวางแผนการเพาะปลูก4) กำหนดแผนการผลิตและแผนส่งเสริมการปาล์มน้ำมันที่สมดุลกับความต้องการเพื่อรักษาระดับราคาของวัตถุดิบไม่ให้ผันผวนมากจนเกินไป รวมทั้งเพิ่มผลผลิตต่อไร่เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาด้านพื้นที่เพาะปลูกด้านที่ 2 การพัฒนา Logistics ของการเก็บรวบรวมและขนส่งวัตถุดิบ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การเลือกชนิดของพืชพลังงานที่เหมาะสมกับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพแต่ละชนิดในประเทศโดยอาศัยข้อมูลศักยภาพในด้านต่างๆ เช่นผลผลิตต่อพื้นที่ อัตราการเจริญเติบโต ต้นทุนการเก็บเกี่ยว และความเป็นไปได้ในการนำไปใช้2) การศึกษาหาวิธีการรวบรวมวัตถุดิบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงคุณภาพของวัตถุดิบที่ส่งถึงโรงงานขนาดและการกระจายตัวของแหล่งเพาะปลูกควบคู่กับตำแหน่งที่ตั้งของโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ รวมทั้งประเมินค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นต่อหน่วยน้ำหนักที่ขนส่งด้านที่ 3 การพัฒนากระบวนการผลิตและโรงงานต้นแบบเพื่อให้มีการใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) พัฒนากระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มซึ่งบูรณาการกระบวนการผลิตเข้ากับกระบวนการสกัดน้ำมันพืช เพื่อต่อยอดสู่การออกแบบและสร้างโรงงานในลักษณะดังกล่าว2) การพัฒนาสายพันธุ์ปาล์มโดยใช้เทคโนโลยีการปรับปรุงสายพันธุ์โดยวิธีดั้งเดิม และใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยา รวมถึงการบริหารจัดการพื้นที่เพาะปลูก3) การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอดีเซลด้วยเทคโนโลยีใหม่ซึ่งสามารถเปลี่ยนส่วนที่เป็นวัตถุดิบที่มีกรดไขมันอิสระสูงเป็นไบโอดีเซล เช่นการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือเอนไซม์ตรึงรูปที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้4) การพัฒนาต่อยอดการใช้ประโยชน์จาก Crude glycerol ที่ได้จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล เช่นเพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพ หรือสารเคมีเพิ่มมูลค่า รวมถึงพัฒนากระบวนการทำกลีเซอรีนให้บริสุทธิ์ เพื่อนำ94

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!