ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

12.07.2015 Views

3) การจัดการบริหารพื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ (Precision farming) เช่น การใช้เทคโนโลยี GISในการวางแผนการเพาะปลูก4) กำหนดแผนการผลิตและแผนส่งเสริมการปลูกอ้อยและมันสำปะหลังที่สมดุลกับความต้องการเพื่อรักษาระดับราคาของวัตถุดิบไม่ให้ผันผวนมากจนเกินไป รวมทั้งเพิ่มผลผลิตต่อไร่เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาด้านพื้นที่เพาะปลูกด้านที่ 2 การพัฒนา Logistics ของการเก็บรวบรวมและขนส่งวัตถุดิบ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การเลือกชนิดของพืชพลังงานที่เหมาะสมกับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพแต่ละชนิดในประเทศโดยอาศัยข้อมูลศักยภาพในด้านต่างๆ เช่นผลผลิตต่อพื้นที่ อัตราการเจริญเติบโต ต้นทุนการเก็บเกี่ยว และความเป็นไปได้ในการนำไปใช้2) การศึกษาหาวิธีการรวบรวมวัตถุดิบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงคุณภาพของวัตถุดิบที่ส่งถึงโรงงานขนาดและการกระจายตัวของแหล่งเพาะปลูกควบคู่กับตำแหน่งที่ตั้งของโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ รวมทั้งประเมินค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นต่อหน่วยน้ำหนักที่ขนส่งด้านที่ 3 การพัฒนากระบวนการผลิตและโรงงานต้นแบบเพื่อให้มีการใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การพัฒนากระบวนการย่อยแป้งให้เป็นน้ ำตาลและหมักเอทานอลพร้อมกันสำหรับวัตถุดิบมันสำปะหลังเพื่อลดการใช้พลังงานและลดการปนเปื้อนในขั้นตอนเปลี่ยนแป้งเป็นน้ ำตาล รวมทั้งการพัฒนาเอนไซม์ที่สามารถย่อยแป้งดิบเพื่อลดการใช้พลังงานในกระบวนการผลิต2) การพัฒนากระบวนการและระบบการผลิตเอทานอลที่สามารถใช้วัตถุดิบได้หลากหลายหรือใช้วัตถุดิบที่มีราคาถูกลง เช่น หัวมันสดบดแทนที่แป้งหรือมันเส้น เพื่อให้สามารถเลือกวัตถุดิบที่มีราคาถูกและมีความเหมาะสมในช่วงเวลาต่างๆ3) การคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ด้วยเทคโนโลยีชีวโมเลกุลที่ทำให้สามารถทนอุณหภูมิและความเข้นข้นเอทานอลได้สูง4) การพัฒนาระบบควบคุมการทำงานของการเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาลและการหมักเป็นเอทานอล5) การพัฒนาระบบการหมักที่สามารถผลิตเอทานอลที่ความเข้มข้นสูงขึ้นซึ่งส่งผลในการลดต้นทุนในขั้นตอนการทำเอทานอลให้บริสุทธิ์ เช่นวิธีการใช้วัตถุดิบปริมาณมากในถังหมัก เช่น High Solid LoadingFermentation สำหรับวัตถุดิบประเภทมันสำปะหลัง6) การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากน้ำทิ้งของโรงงานผลิตเอทานอลทั้งเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อใช้เป็นพลังงานหรือนำไปผลิตเป็นปุ๋ยแล้วนำกลับไปใช้ในไร่เพาะปลูก7) การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากกากของแข็งที่เหลือจากการหมัก รวมถึง by-product อื่นจากกระบวนการเพื่อเพิ่มมูลค่าของกระบวนการผลิตเอทานอลในภาพรวม89

8) ส่งเสริมให้โรงงานน้ำตาลลงทุนผลิตเอทานอล โดยตั้งโรงงานในบริเวณเดียวกันเพื่อลดความเสี่ยงด้านการลงทุน9) การพัฒนาโรงงานต้นแบบที่บูรณาการผลิตแป้งมันสำปะหลังและเอทานอลเข้าด้วยกัน หรือเพื่อการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบอื่นๆเพื่อสร้าง Engineering know-howด้านที่ 4 การพัฒนางานวิจัยพื้นฐานเพื่อผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีประสิทธิภาพ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การพัฒนากระบวนการปรับสภาพ (Pretreatment) เซลลูโลสด้วยไอน้ำ หรือน้ำอัดความดันโดยอาจทำงานร่วมกับการใช้ตัวทำละลาย หรือกรดคาร์บอนิก2) การพัฒนาสายพันธุ์ยีสต์ที่สามารถเปลี่ยนน้ำตาลประเภทเพนโตสเป็นเอทานอลได้3) การใช้เทคโนโลยีชีวโมเลกุลพัฒนาเอนไซม์เพื่อเปลี่ยนเซลลูโลสให้เป็นน้ำตาล (Cellulose enzyme)ได้อย่างมีประ สิทธิภาพและราคาถูก4) การพัฒนาโรงงานต้นแบบขนาดเล็กเพื่อสะสม Engineering know-how สำหรับการขยายขนาดด้านที่ 5 การวิจัยเชิงนโยบายโดยเฉพาะการศึกษาต้นทุนและแนวทางในการลดต้นทุนการผลิตเอทานอล รวมทั้งมาตรการส่งเสริมให้มีการใช้เอทานอลเพิ่มมากขึ้น โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การวิจัยเพื่อให้ได้โครงสร้างราคาที่เหมาะสมทั้งของวัตถุดิบและเชื้อเพลิงชีวภาพ2) การวิจัยเพื่อให้ได้แนวทางในการบริหารจัดการอุปสงค์และอุปทานของวัตถุดิบและเชื้อเพลิงชีวภาพแต่ละชนิดให้มีความเหมาะสม3) การพัฒนาแนวทางและวิธีจัดการเพื่อทำให้อุตสาหกรรมการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพทั้งวงจรมีความยั่งยืนโดยไม่กระทบต่อความมั่นคงด้านอาหารและการใช้พื้นที่4) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อบรรเทาปัญหาของรถยนต์รุ่นเก่าที่อาจได้รับผลกระทบเมื่อมีการประกาศใช้ E10/95 ทั่วประเทศ เช่น การช่วยเหลือผู้บริโภคด้วยการเปลี่ยนอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนโดยไม่คิดราคาหรือในราคาถูก90

3) การจัดการบริหารพื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ (Precision farming) เช่น การใช้เทคโนโลยี GISในการวางแผนการเพาะปลูก4) กำหนดแผนการผลิตและแผนส่งเสริมการปลูกอ้อยและมันสำปะหลังที่สมดุลกับความต้องการเพื่อรักษาระดับราคาของวัตถุดิบไม่ให้ผันผวนมากจนเกินไป รวมทั้งเพิ่มผลผลิตต่อไร่เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาด้านพื้นที่เพาะปลูกด้านที่ 2 การพัฒนา Logistics ของการเก็บรวบรวมและขนส่งวัตถุดิบ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การเลือกชนิดของพืชพลังงานที่เหมาะสมกับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพแต่ละชนิดในประเทศโดยอาศัยข้อมูลศักยภาพในด้านต่างๆ เช่นผลผลิตต่อพื้นที่ อัตราการเจริญเติบโต ต้นทุนการเก็บเกี่ยว และความเป็นไปได้ในการนำไปใช้2) การศึกษาหาวิธีการรวบรวมวัตถุดิบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงคุณภาพของวัตถุดิบที่ส่งถึงโรงงานขนาดและการกระจายตัวของแหล่งเพาะปลูกควบคู่กับตำแหน่งที่ตั้งของโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ รวมทั้งประเมินค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นต่อหน่วยน้ำหนักที่ขนส่งด้านที่ 3 การพัฒนากระบวนการผลิตและโรงงานต้นแบบเพื่อให้มีการใช้วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การพัฒนากระบวนการย่อยแป้งให้เป็นน้ ำตาลและหมักเอทานอลพร้อมกันสำหรับวัตถุดิบมันสำปะหลังเพื่อลดการใช้พลังงานและลดการปนเปื้อนในขั้นตอนเปลี่ยนแป้งเป็นน้ ำตาล รวมทั้งการพัฒนาเอนไซม์ที่สามารถย่อยแป้งดิบเพื่อลดการใช้พลังงานในกระบวนการผลิต2) การพัฒนากระบวนการและระบบการผลิตเอทานอลที่สามารถใช้วัตถุดิบได้หลากหลายหรือใช้วัตถุดิบที่มีราคาถูกลง เช่น หัวมันสดบดแทนที่แป้งหรือมันเส้น เพื่อให้สามารถเลือกวัตถุดิบที่มีราคาถูกและมีความเหมาะสมในช่วงเวลาต่างๆ3) การคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ด้วยเทคโนโลยีชีวโมเลกุลที่ทำให้สามารถทนอุณหภูมิและความเข้นข้นเอทานอลได้สูง4) การพัฒนาระบบควบคุมการทำงานของการเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาลและการหมักเป็นเอทานอล5) การพัฒนาระบบการหมักที่สามารถผลิตเอทานอลที่ความเข้มข้นสูงขึ้นซึ่งส่งผลในการลดต้นทุนในขั้นตอนการทำเอทานอลให้บริสุทธิ์ เช่นวิธีการใช้วัตถุดิบปริมาณมากในถังหมัก เช่น High Solid LoadingFermentation สำหรับวัตถุดิบประเภทมันสำปะหลัง6) การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากน้ำทิ้งของโรงงานผลิตเอทานอลทั้งเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อใช้เป็นพลังงานหรือนำไปผลิตเป็นปุ๋ยแล้วนำกลับไปใช้ในไร่เพาะปลูก7) การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากกากของแข็งที่เหลือจากการหมัก รวมถึง by-product อื่นจากกระบวนการเพื่อเพิ่มมูลค่าของกระบวนการผลิตเอทานอลในภาพรวม89

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!