ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

12.07.2015 Views

การย่อย (Enzyme hydrolysis) มี 2 วิธีคือการย่อยด้วยกรดและการย่อยด้วยเอนไซม์การย่อยด้วยกรดจะมี 2 ขั้นตอนขั้นตอนแรกจะเป็นการย่อยเฮมิเซลลูโลสให้ได้น้ำตาลเพนโตสจากนั้นขั้นที่ตอนสองจะเป็นการย่อยเซลลูโลสให้ได้น้ำตาลกลูโคสส่วนการย่อยด้วยเอนไซม์เทคโนโลยีที่ใช้ปัจจุบันคือ SimultaneousSacharification and Fermentation (SSF) เป็นการรวมการย่อยและการหมักในถังหมักเดียวกันการหมักนำ้ำตาลที่ได้ให้เป็นเอทานอลโดยใช้จุลินทรีย์จำพวกยีสต์ปัจจุบันการผลิตเอทานอลในระดับอุตสาหกรรมใช้วัตถุดิบประเภทแป้งและน้ำตาล ส่วนวัตถุดิบเซลลูโลสซึ่งมีศักยภาพสูงได้รับความสนใจทั่วโลก และมีการวิจัยและพัฒนาจนถึงขั้นที่มีการสร้างโรงงานต้นแบบ/สาธิตแล้วรูปที่ 19 แสดงถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนการผลิตเอทานอลจากชีวมวล ซึ่งจำแนกเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ และเทคโนโลยีที่พัฒนาและคาดว่าจะมีการใช้งานในอนาคตรูปที่ 19 สถานภาพของเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงเอทานอล [15]การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีเอทานอลปัจจุบันงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเชื้อเพลิงเอทานอลเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่างๆ ได้แก่การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกวัตถุดิบ กระบวนการผลิตเอทานอล และการศึกษาผลกระทบของการใช้เอทานอลกับยานยนต์ รวมทั้งแนวทางการส่งเสริมการใช้เอทานอล จากการรวบรวมข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพลังงานชีวมวลในช่วงปี 2539-2555 จำนวน 305 งานวิจัย พบว่าหน่วยงานหลักที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับเอทานอลมี 3 หน่วยงานหลักคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองลงมาคือมหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) ซี่งเป็น87

หน่วยงานที่อยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่เพาะปลูกพืชพลังงานสำหรับผลิตเอทานอลทั้งอ้อยและมันสำปะหลังและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) ตามลำดับ โดยงานวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้องนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น4 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มงานวิจัยที่1 การวิจัยเกี่ยวกับศักยภาพวัตถุดิบ เป็นกลุ่มที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาศักยภาพโดยภาพรวมของวัตถุดิบที่สามารถการผลิตเอทานอล เช่น การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ในการปลูกพืชรวมทั้งการศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการด้าน Logistic ในการรวบรวมวัตถุดิบเพื่อนำมาผลิตเอทานอลการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตวัตถุดิบ เช่น การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์พืช นอกจากนั้นยังมีการวิเคราะห์หาวัตถุดิบชนิดใหม่ที่มีศักยภาพสามารถน ำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอลในรุ่นที่ 2 เช่น Lignocellulosic ethanolเป็นต้นกลุ่มงานวิจัยที่ 2 การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตเอทานอล เป็นศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการผลิตและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบชนิดต่างๆกลุ่มงานวิจัยที่ 3 การศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้เอทานอลกับยานยนต์ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาผลกระทบของเครื่องยนต์ต่อการใช้เอทานอลผสมกับน้ำมันเบนซินในสัดส่วนต่างๆ รวมทั้งการส่งเสริมให้ใช้เอทานอลแทนน้ำมันดีเซลในเครื่องยนต์ดีเซลกลุ่มงานวิจัยที่ 4 การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการผลิตเอทานอลเป็นการศึกษาเกี่ยวกับต้นทุนและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการปล่อยมลพิษจากการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบและเทคโนโลยีประเภทต่างๆ รวมทั้งแนวทางในการลดต้นทุนและลดผลกระทบจากการผลิตเอทานอลงานวิจัยโดยส่วนใหญ่ของประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่ 1 และ 2 โดยเป็นการศึกษาหาศักยภาพของวัตถุดิบชนิดต่างๆ ในการผลิตเอทานอลและการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบชนิดต่างๆ โดยเฉพาะวัตถุดิบที่ไม่ได้ใช้เป็นพืชอาหาร ในขณะที่งานวิจัยในกลุ่มที่ 3 และ 4 มีสัดส่วนของงานวิจัยน้อยกว่าโดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับต้นทุนการผลิตและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตลอดวัฏจักรการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบชนิดต่างๆแนวทางในการส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาสำหรับการผลิตเอทานอลแบ่งได้เป็น 5 ด้าน ดังนี้ด้านที่ 1 การพัฒนาพันธุ์พืชและเขตกรรมพืชที่ใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยมีตัวอย่างประเด็นงานวิจัย ได้แก่1) การพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืช อันได้แก่ มันสำปะหลังและอ้อยโตเร็ว ที่ให้ผลผลิตและปริมาณแป้งและน้ำตาลสูง โดยทำการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์ทั้งโดยวิธีดั้งเดิมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวโมเลกุลเช่น Marker-assisted selection เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่เหมาะสมกับประเทศไทย2) การพัฒนาการจัดการเขตกรรมพืช และถ่ายทอดความรู้เรื่องการปลูก เก็บเกี่ยว และดูแลรักษาแก่เกษตรกรเพื่อให้ได้มาตรฐาน GAP88

การย่อย (Enzyme hydrolysis) มี 2 วิธีคือการย่อยด้วยกรดและการย่อยด้วยเอนไซม์การย่อยด้วยกรดจะมี 2 ขั้นตอนขั้นตอนแรกจะเป็นการย่อยเฮมิเซลลูโลสให้ได้น้ำตาลเพนโตสจากนั้นขั้นที่ตอนสองจะเป็นการย่อยเซลลูโลสให้ได้น้ำตาลกลูโคสส่วนการย่อยด้วยเอนไซม์เทคโนโลยีที่ใช้ปัจจุบันคือ SimultaneousSacharification and Fermentation (SSF) เป็นการรวมการย่อยและการหมักในถังหมักเดียวกันการหมักนำ้ำตาลที่ได้ให้เป็นเอทานอลโดยใช้จุลินทรีย์จำพวกยีสต์ปัจจุบันการผลิตเอทานอลในระดับอุตสาหกรรมใช้วัตถุดิบประเภทแป้งและน้ำตาล ส่วนวัตถุดิบเซลลูโลสซึ่งมีศักยภาพสูงได้รับความสนใจทั่วโลก และมีการวิจัยและพัฒนาจนถึงขั้นที่มีการสร้างโรงงานต้นแบบ/สาธิตแล้วรูปที่ 19 แสดงถึงเทคโนโลยีต่างๆ ที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนการผลิตเอทานอลจากชีวมวล ซึ่งจำแนกเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ และเทคโนโลยีที่พัฒนาและคาดว่าจะมีการใช้งานในอนาคตรูปที่ 19 สถานภาพของเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงเอทานอล [15]การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีเอทานอลปัจจุบันงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเชื้อเพลิงเอทานอลเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่างๆ ได้แก่การเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกวัตถุดิบ กระบวนการผลิตเอทานอล และการศึกษาผลกระทบของการใช้เอทานอลกับยานยนต์ รวมทั้งแนวทางการส่งเสริมการใช้เอทานอล จากการรวบรวมข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพลังงานชีวมวลในช่วงปี 2539-2555 จำนวน 305 งานวิจัย พบว่าหน่วยงานหลักที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับเอทานอลมี 3 หน่วยงานหลักคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองลงมาคือมหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) ซี่งเป็น87

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!