ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

12.07.2015 Views

รูปที่ 18 สถานภาพของเทคโนโลยีการผลิตพลังงานความร้อนและไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ [15]การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพปัจจุบันงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่างๆ ได้แก่ การ Pre-treatmentวัตถุดิบ การผลิตก๊าซชีวภาพจากวัตถุดิบชนิดต่างๆ และการนำก๊าซชีวภาพไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่นการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนและใช้ในยานยนต์ จากการรวบรวมข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพลังงานชีวมวลในช่วงปี 2539-2555 จำนวน 134 งานวิจัย พบว่าหน่วยงานหลักที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับพลังงานก๊าซชีวภาพมี 4 หน่วยงานหลักคือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) เนื่องจากมีหน่วยงานวิจัยด้านก๊าซชีวภาพโดยเฉพาะตั้งอยู่ในหน่วยงาน รองลงมาคือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ตามลำดับ โดยงานวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้องนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่มได้แก่กลุ่มงานวิจัยที่1 การวิจัยเกี่ยวกับศักยภาพวัตถุดิบ เป็นกลุ่มที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาศักยภาพโดยภาพรวมของวัตถุดิบที่สามารถการผลิตก๊าซชีวภาพ เช่น ของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์ น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร เศษวัสดุจากพื้นที่การเกษตร รวมถึงเศษวัสดุจากอุตสาหกรรมเกษตร และพืชปลูกเพื่อพลังงาน (วัชพืชและพืชไร่โตเร็ว) ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย และการวิเคราะห์หาวัตถุดิบชนิดใหม่ที่มีศักยภาพสามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตก๊าซชีวภาพได้83

กลุ่มงานวิจัยที่ 2 การศึกษากระบวนการเตรียมวัตถุดิบก่อนการแปรรูปเป็นก๊าซชีวภาพ เป็นการศึกษาหาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพ (Pre-treatment) ของวัตถุดิบชนิดต่างๆ เพื่อให้มีคุณสมบัติที่เหมาะสมในการนำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพกลุ่มงานวิจัยที่ 3 การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ เป็นศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการผลิตและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากวัตถุดิบชนิดต่างๆกลุ่มงานวิจัยที่ 4 การศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ เป็นการวิจัยเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของก๊าซชีวภาพให้เหมาะสมแก่การนำไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบต่างๆ เช่นการผลิตพลังงานไฟฟ้าพลังงานความร้อน และใช้ในยานยนต์กลุ่มงานวิจัยที่5 การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของชีวมวล เป็นการศึกษาเกี่ยวกับต้นทุนและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการปล่อยมลพิษจากการผลิตก๊าซชีวภาพประเภทต่างๆรวมทั้งแนวทางในการลดต้นทุนและลดผลกระทบของกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพงานวิจัยโดยส่วนใหญ่ของประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่ 3 โดยเป็นการศึกษาหาแนวทางการพัฒนากระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพใหม่ๆ และการปรับปรุงประสิทธิภาพเทคโนโลยีสำหรับการผลิตพลังงานจากชีวมวล รองลงมาเป็นงานวิจัยในกลุ่มที่ 1 คือการศึกษาศักยภาพและการแสวงหาวัตถุดิบชนิดใหม่เพื่อใช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพส่วนการศึกษาในกลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 4 และกลุ่มที่ 5 มีอยู่ในสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับประเด็นอื่นๆการส่งเสริมเพื่อให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่เชิงพานิชย์มากขึ้น ควรส่งเสริมการวิจัยพัฒนาระดับต้นแบบ และระดับสาธิตมากขึ้น และควรส่งเสริมให้มีการสร้างมาตรฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพทั้งด้านการสร้างและการดูแลระบบ นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมให้ผู้ประกอบการหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพอย่างสม่ำเสมอในทุกระดับ และเพื่อให้มีการสร้างความสามารถและสนับสนุนการผลิตอุปกรณ์ เครื่องจักร เกี่ยวกับเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ ทั้งการผลิต ใช้ประโยชน์ การควบคุมและเกี่ยวกับความปลอดภัย ในประเทศ ควรที่จะริเริ่มให้มีหน่วยงานทดสอบและการให้การรับรองมาตรฐานของเทคโนโลยีด้านก๊าซชีวภาพ นอกจากนั้นควรมีมีมาตรการกระตุ้นให้ใช้หรือวิจัยเพื่อเทคโนโลยีใหม่ให้ส ำหรับผู้ประกอบการก็จะเป็นส่วนช่วยให้มีการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีมากขึ้น84

กลุ่มงานวิจัยที่ 2 การศึกษากระบวนการเตรียมวัตถุดิบก่อนการแปรรูปเป็นก๊าซชีวภาพ เป็นการศึกษาหาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพ (Pre-treatment) ของวัตถุดิบชนิดต่างๆ เพื่อให้มีคุณสมบัติที่เหมาะสมในการนำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพกลุ่มงานวิจัยที่ 3 การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ เป็นศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการผลิตและปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากวัตถุดิบชนิดต่างๆกลุ่มงานวิจัยที่ 4 การศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ เป็นการวิจัยเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของก๊าซชีวภาพให้เหมาะสมแก่การนำไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบต่างๆ เช่นการผลิตพลังงานไฟฟ้าพลังงานความร้อน และใช้ในยานยนต์กลุ่มงานวิจัยที่5 การวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของชีวมวล เป็นการศึกษาเกี่ยวกับต้นทุนและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะการปล่อยมลพิษจากการผลิตก๊าซชีวภาพประเภทต่างๆรวมทั้งแนวทางในการลดต้นทุนและลดผลกระทบของกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพงานวิจัยโดยส่วนใหญ่ของประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่ 3 โดยเป็นการศึกษาหาแนวทางการพัฒนากระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพใหม่ๆ และการปรับปรุงประสิทธิภาพเทคโนโลยีสำหรับการผลิตพลังงานจากชีวมวล รองลงมาเป็นงานวิจัยในกลุ่มที่ 1 คือการศึกษาศักยภาพและการแสวงหาวัตถุดิบชนิดใหม่เพื่อใช้ในการผลิตก๊าซชีวภาพส่วนการศึกษาในกลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 4 และกลุ่มที่ 5 มีอยู่ในสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับประเด็นอื่นๆการส่งเสริมเพื่อให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่เชิงพานิชย์มากขึ้น ควรส่งเสริมการวิจัยพัฒนาระดับต้นแบบ และระดับสาธิตมากขึ้น และควรส่งเสริมให้มีการสร้างมาตรฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพทั้งด้านการสร้างและการดูแลระบบ นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมให้ผู้ประกอบการหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพอย่างสม่ำเสมอในทุกระดับ และเพื่อให้มีการสร้างความสามารถและสนับสนุนการผลิตอุปกรณ์ เครื่องจักร เกี่ยวกับเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ ทั้งการผลิต ใช้ประโยชน์ การควบคุมและเกี่ยวกับความปลอดภัย ในประเทศ ควรที่จะริเริ่มให้มีหน่วยงานทดสอบและการให้การรับรองมาตรฐานของเทคโนโลยีด้านก๊าซชีวภาพ นอกจากนั้นควรมีมีมาตรการกระตุ้นให้ใช้หรือวิจัยเพื่อเทคโนโลยีใหม่ให้ส ำหรับผู้ประกอบการก็จะเป็นส่วนช่วยให้มีการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีมากขึ้น84

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!