12.07.2015 Views

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สาหรับวัตถุดิบที่เป็นน้ำเสียจากอุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีที่นิยมในประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นบ่อดินขุด เช่น เทคโนโลยีแบบบ่อคลุม และ Modified Covered lagoon เนื่องจากการระยะเวลาการก่อสร้างสั้นและเชื่อกันว่ามีการลงทุนที่ถูกกว่าการก่อสร้างถังปฏิกรณ์ ลำดับรองลงมาคือเทคโนโลยีแบบ UASBซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับโรงงานอุตสาหกรรมที่มีพื้นที่จำกัดและมีความพร้อมของพนักงานที่ดูแลระบบเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในต่างประเทศนอกจากใช้เทคโนโลยีแบบฝังกลบ (Sanitary Landfill)แล้วยังมีเทคโนโลยีแบบใช้ถังปฏิกรณ์ ซึ่งมีทั้งการหมักแบบเปียก (Wet Process) ซึ่งถังปฏิกรณ์แบบ CSTRและการหมักแบบแห้ง (Dry process) สำหรับประเทศไทยการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ มีการใช้แบบระบบฝังกลบ และมีการนำเข้าเทคโนโลยีแบบ Single Stage CSTR มาใช้เป็นโครงการสาธิต แต่ยังไม่เป็นที่นิยมมากนักในกรณีของการผลิตก๊าซชีวภาพจากวัตถุดิบจากอินทรีย์สารที่อยู่ในรูปของแข็ง เช่น Yard Waste และพืชพลังงานต่างๆ นั้น ในต่างประเทศโดยส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีถังหมักแบบ CSTR และได้มีการเพิ่มขั้นตอนการ Pre-treatment ขึ้นมา เช่น โดยใช้ การบดย่อย (Mechanical Process) การใช้ความร้อน (ThermalProcess) การใช้กรดหรือด่าง (Acid /Alkaline Process) หรือการใช้การเติมเอนไซม์ (Enzyme andBiological Treatment) ที่เป็นลักษณะเอนไซม์ผสมในของประเทศไทยยังเป็นการวิจัยพัฒนาในระดับห้องปฏิบัติการ แต่ก็มีที่เป็นการทำการวิจัยพัฒนาเชิงวิศวกรรมในระดับสาธิตโดยภาคเอกชนเอง (คือสร้างระบบขนาดใช้งานจริงและมีการปรับปรุงรูปแบบถังปฏิกรณ์เชิงวิศวกรรม) เช่น มีการใช้หลักการของบ่อหมัก Modifiedcovered lagoon ที่ปรับปรุงการจัดการกากตะกอน การกวนผสม สำหรับวัตถุดิบที่เป็น วัสดุทางการเกษตรและมีการเพิ่มขั้นตอนการ Pre-treatment แบบ mechanical หรือ บำบัดด้วยความร้อน และกรด เป็นต้นในด้านเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพส่วนของระบบการผลิตก๊าซชีวภาพ เทคโนโลยีแบบบ่อคลุม (Coveredlagoon) และ Modified Covered lagoon เป็นเทคโนโลยีที่นิยมใช้กันมากในประเทศไทยเนื่องจากสร้างได้รวดเร็ว และประเทศไทยยังไม่มีข้อจำกัดของพื้นที่ เช่นเดียวกับที่สหรัฐอเมริกาเทคโนโลยีแบบModified covered lagoon ก็เป็นที่นิยมสำหรับจัดการของเสียจากฟาร์มปศุสัตว์ตรงกันข้ามกับประเทศสหภาพยุโรป ที่นิยมใช้เทคโนโลยีแบบ CSTR ซึ่งจะมีความต้องการใช้พื้นที่น้อยกว่า ส่วนของเทคโนโลยีผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากบ่อแบบ Modified Covered Lagoon แล้วเทคโนโลยีแบบ UASB และ AFF ก็มีการใช้งานในประเทศไทย82

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!