ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

12.07.2015 Views

ชีวมวลและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องพลังงานจากชีวมวล (Biomass) เป็นพลังงานที่ได้จากอินทรีย์สารของพืชและสัตว์ โดยใช้กระบวนการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงานรูปแบบต่างๆ ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 3 วิธีการหลัก ได้แก่วิธีเคมีความร้อน (Thermochemical process) เป็นการแปรรูปชีวมวลให้เป็นพลังงานโดยการใช้ความร้อนจนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเผาไหม้โดยใช้ออกซิเจนหรือการสันดาป(Combustion) การเผาไหม้โดยไม่ ใช้ออกซิเจนหรือไพโรลิซิส (Pyrolysis) และการทําใหเกิดก๊าซ (Gasification)วิธีชีวเคมี (Biochemical process) เป็นการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงานโดยอาศัยปฏิกิริยาทางชีวเคมีซึ่งต้องพึ่งพาจุลชีพชนิดต่างๆ เช่น แบคทีเรียและราโดยนําไปหมักจนเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารอินทรียที่นําไปใช้เป็นพลังงานได้ในรูปของเอทานอลและก๊าซมีเทน (CH4)วิธีปฏิกิริยาเคมี (Chemical process) เป็ นการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงานโดยการใช้ ปฏิกิริยาเคมีเช่น การผลิตไบโอดีเซล (Biodiesel)สำหรับประเทศไทย ชีวมวลที่มีศักยภาพในการนำมาผลิตความร้อนและไฟฟ้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือเศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเศษวัสดุจากอุตสาหกรรมไม้แปรรูปและเฟอร์นิเจอร์และชีวมวลจากไม้โตเร็วอย่างไรก็ตาม จากการศึกษาศักยภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนจากชีวมวลประเภทต่างๆ ข้างต้น ชีวมวลในกลุ่มเศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเป็นกลุ่มที่มีศักยภาพสูงที่สุด77

พืชเกษตรที่สำคัญของประเทศไทย ได้แก่ ข้าว อ้อย ข้าวโพด ปาล์ม และมันสำปะหลัง ในแต่ละปีมีวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเกิดขึ้นเป็นจำนวนมากจากการศึกษาดังกล่าวพบว่าชีวมวลเหลือทิ้งจากการเกษตรที่สำคัญเช่นแกลบและชานอ้อยได้ถูกใช้ในการผลิตพลังงานเกือบเต็มศักยภาพเช่นเดียวกับเศษไม้ยางพาราเหลือทิ้งในโรงงานแปรรูปไม้และเฟอร์นิเจอร์จะมีเหลืออยู่ก็เป็นส่วนที่ตกค้างอยู่ในพื้นที่ปลูกได้แก่กิ่งขนาดเล็กตอรากไม้ซึ่งยากต่อการรวบรวมและขนส่งทำให้ต้นทุนสูงแต่ฟางข้าวใบและยอดอ้อยลำต้นข้าวโพดและทะลายปาล์มยังมีศักยภาพเหลือสำหรับใช้ผลิตพลังงานอยู่สูงเทคโนโลยีการเปลี่ยนรูปชีวมวลซึ่งเป็นพลังงานเคมีให้อยู่ในรูปพลังงานความร้อนและไฟฟ้ามีหลายประเภท โดยเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่างๆ ได้แก่ กระบวนการเตรียมชีวมวลก่อนการแปรรูปเป็นพลังงานกระบวนการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงาน และกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า ดังแสดงในรูปที่ 17กระบวนการเตรียมชีวมวลก่อนการแปรรูปเป็นพลังงานที่พบโดยทั่วไปได้แก่การลดขนาดโดยการตัด(Chipping) บด (Grinding) ทำให้เป็นผง (Pulverizing) อัดก้อน (Briquetting) หรืออัดเม็ด (Pelletizing)การลดความชื้นโดยการตากแห้งหรืออบแห้งในประเทศไทยยังไม่มีการผลิตชีวมวลอัดก้อนและอัดแท่งใช้ในเชิงพาณิชย์เนื่องจากมีต้นทุนที่สูงอย่างไรก็ตามในต่างประเทศมีการผลิตชีวมวลอัดก้อนโดยเฉพาะเศษไม้เพื่อลดต้นทุนค่าขนส่งในขณะเดียวกันมีการผลิตชีวมวลอัดแท่งเพื่อนำไปใช้ในหม้อต้มไอน้ำในอุตสาหกรรมเพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้นและใช้เป็นเชื้อเพลิงเผาไหม้ให้ความร้อนในครัวเรือนเทคโนโลยีหลักที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงานความร้อนและไฟฟ้าโดยกระบวนการทางความร้อนเคมีได้แก่เทคโนโลยีการเผาไหม้ (Combustion) ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีหม้อไอน้ำและกังหันไอน้ำ (Boiler and Steam turbine) เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงหรือแก็สซิฟิเคชั่น(Gasification) เทคโนโลยีการไพโรไลซิส (Pyrolysis) และเทคโนโลยีการกำจัดมลพิษ (Emission and controls)อันเกิดจากระบบผลิตพลังงานจากชีวมวล78

ชีวมวลและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องพลังงานจากชีวมวล (Biomass) เป็นพลังงานที่ได้จากอินทรีย์สารของพืชและสัตว์ โดยใช้กระบวนการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงานรูปแบบต่างๆ ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 3 วิธีการหลัก ได้แก่วิธีเคมีความร้อน (Thermochemical process) เป็นการแปรรูปชีวมวลให้เป็นพลังงานโดยการใช้ความร้อนจนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเผาไหม้โดยใช้ออกซิเจนหรือการสันดาป(Combustion) การเผาไหม้โดยไม่ ใช้ออกซิเจนหรือไพโรลิซิส (Pyrolysis) และการทําใหเกิดก๊าซ (Gasification)วิธีชีวเคมี (Biochemical process) เป็นการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงานโดยอาศัยปฏิกิริยาทางชีวเคมีซึ่งต้องพึ่งพาจุลชีพชนิดต่างๆ เช่น แบคทีเรียและราโดยนําไปหมักจนเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารอินทรียที่นําไปใช้เป็นพลังงานได้ในรูปของเอทานอลและก๊าซมีเทน (CH4)วิธีปฏิกิริยาเคมี (Chemical process) เป็ นการแปรรูปชีวมวลเป็นพลังงานโดยการใช้ ปฏิกิริยาเคมีเช่น การผลิตไบโอดีเซล (Biodiesel)สำหรับประเทศไทย ชีวมวลที่มีศักยภาพในการนำมาผลิตความร้อนและไฟฟ้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มคือเศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเศษวัสดุจากอุตสาหกรรมไม้แปรรูปและเฟอร์นิเจอร์และชีวมวลจากไม้โตเร็วอย่างไรก็ตาม จากการศึกษาศักยภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนจากชีวมวลประเภทต่างๆ ข้างต้น ชีวมวลในกลุ่มเศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเป็นกลุ่มที่มีศักยภาพสูงที่สุด77

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!