12.07.2015 Views

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานจากขยะงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานจากขยะสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มดังนี้กลุ ่มที่ 1: Anaerobic Digestion Technology Landfill-Gas-to-<strong>Energy</strong> Technology และ RefusedDerive Fuel (RDF)เทคโนโลยีในกลุ่มนี้มีความพร้อมและเหมาะสมกับประเภทของขยะในประเทศไทยใช้ได้กับแหล่งผลิตขยะขนาดเล็ก (น้อยกว่า 100 ตันต่อวัน) ถึงระดับปานกลาง (100-250 ตันต่อวัน) เทคโนโลยีเหล่านี้ควรมีระบบการคัดแยกขยะรองรับ ถึงแม้พลังงานต่อหน่วยผลิตไม่มากแต่สามารถกระจายเทคโนโลยีได้ตามพื้นที่ต่างๆมีข้อจำกัดในการนำไปใช้เช่น Anaerobic Digestion ต้องมีการคัดแยกขยะ และใช้ได้ดีกับขยะจากตลาดสดและโรงอาหาร ส่วน RDF ควรติดตั้งใกล้แหล่งกำเนิดและมีระบบคัดแยกAnaerobic Digestion Technology เป็นเทคโนโลยีที่มีความพร้อมของเทคโนโลยีและการนำไปใช้จริงแต่ยังคงต้องพึ่งเทคโนโลยีในต่างประเทศเป็นหลัก ผลิตพลังงานได้ไม่สูงมากนัก ต้องมีการคัดแยกขยะรองรับเพื่อแยกอินทรีย์สารเข้าระบบใช้ได้กับแหล่งผลิตขยะขนาดเล็กและขนาดกลาง แหล่งฝังกลบในปัจจุบันมีอยู่มาก หากต้องการผลิตพลังงาน สำหรับ Landfill-Gas-to-<strong>Energy</strong> Technology นั้น แหล่งฝังกลบส่วนใหญ่ต้องสร้างระบบดึงก๊าซมาใช้ เพื่อให้สามารถผลิตพลังงานได้เต็มที่ ทั้งนี้ยังมีข้อจำกัดด้านการพยากรณ์ปริมาณก๊าซ การทำความสะอาดก๊าซ ใช้ได้กับแหล่งผลิตขยะขนาดกลางและขนาดใหญ่ ส่วน RDF ใช้ได้กับแหล่งผลิตขยะขนาดเล็ก เพื่อเป็นเชื้อเพลิงให้กับระบบการผลิตพลังงาน เช่น gasification ยังไม่มีตัวอย่างในประเทศไทยและยังไม่มีตลาดรองรับกลุ่มที่ 2 : Incineration Gasification Technology และ Pyrolysis Technologyเทคโนโลยีในกลุ่มที่สองเป็นเทคโนโลยีด้านความร้อนเป็นหลัก ซึ่งเทคโนโลยีนี้นิยมใช้ในต่างประเทศเนื่องจากสามารถใช้กำจัดขยะที่ลดปริมาณได้จำนวนมากได้โดยไม่ต้องคัดแยก ผลิตพลังงานต่อหน่วยได้สูงกว่าเทคโนโลยีอื่นๆ เทคโนโลยีกลุ่มนี้มีการลงทุนสูง แต่สามารถใช้ได้ในแหล่งผลิตขยะขนาดใหญ่และใหญ่มากและ Incineration ต้นทุนก่อสร้างและเดินระบบสูง มีปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ไม่ต้องแยกขยะ ผลิตพลังงานได้สูงกว่าเทคโนโลยีอื่น Gasification Technology นิยมใช้ในต่างประเทศ อยู่ในระดับห้องปฏิบัติการและโรงงานต้นแบบ เป็นเทคโนโลยีสะอาด ยังมีข้อจำกัดด้านการลงทุน สำหรับ Pyrolysis Technology อยู่ในระดับห้องปฏิบัติการและโรงงานต้นแบบ เป็นเทคโนโลยีสะอาด ยังมีข้อจำกัดด้านการลงทุนกลุ่มที่ 3 : Plasma Arc Technology และ Bioreactor-Gas-To-<strong>Energy</strong>เทคโนโลยีในกลุ่มนี้ยังไม่มีความพร้อมในการนำมาใช้เนื่องจากอยู่ในระดับวิจัยและพัฒนายังไม่มีการใช้ทั้งในและต่างประเทศ Plasma Arc Technology ยังอยู่ในระดับวิจัยและพัฒนา ส่วน Bioreactor-Gas-To-<strong>Energy</strong> อยู่ในระดับพัฒนาเทคโนโลยี สามารถใช้ได้กับหลุมฝังกลบเก่าที่มีปัญหาด้านน้ำชะขยะ76

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!