ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

12.07.2015 Views

นอกจากโครงการต่างๆ ที่กล่าวไปแล้วข้างต้นนั้น ที่ผ่านมายังมีข้อเสนอของภาคเอกชนในการจัดตั้งThailand First Wind Farm โดยบริษัท Fellow Engineering ได้เสนอติดตั้งกังหันลมกำลังการผลิต 360MW เทียบเท่ากับโรงงานไฟฟ้าจากโรง SPP ขนาด 42.11 MW ที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล และทำงานที่ร้อยละ 90Load Factor โดยติดตั้งที่ชายฝั่งทะเล อ. ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จนถึง อ.สิงหนคร จังหวัดสงขลาเทคโนโลยีใบพัดกังหันลมแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ (1) เทคโนโลยีการออกแบบ และระบบควบคุมกำลังผลิตด้วยใบกังหันลม และ (2) เทคโนโลยีการผลิตใบกังหันลมเทคโนโลยีการออกแบบและระบบควบคุมกำลังผลิตด้วยใบกังหันลมการออกแบบแพนอากาศสำหรับใบพัดกังหันลม (Airfoil design for wind turbine blade) ในอดีตนิยมใช้แพนอากาศ (Airfoil section) แบบมาตรฐานที่พัฒนาโดยหน่วยงานต่างๆ เช่น NACA หรือ NASAเป็นต้น แต่แพนอากาศเหล่านั้นได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้สำหรับเป็นปีกของเครื่องบิน ซึ่งต่างไปจากแพนอากาศสำหรับใบของกังหันลม (Blade) ที่มีความต้องการคุณสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างจากปีกของเครื่องบิน ช่วงการใช้งานใบกังหันลมมักมีค่าเลขเรย์โนลด์ (Reynolds Number) ต่ำกว่าช่วงการใช้งานเป็นปีกของเครื่องบินแพนอากาศมักจะถูกเปลี่ยนแปลงขนาดให้มีความหนามากขึ้น ทำให้เสียคุณสมบัติทางอากาศพลศาสตร์บางอย่างไป ในการออกแบบใบของกังหันลมยังต้องการคุณสมบัติเฉพาะตัวของแพนอากาศที่แตกต่างกันออกไปทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของชุดใบ (Rotor) ลักษณะการควบคุม และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ร่วมกับใบพัดกังหันลมเทคโนโลยีระบบควบคุมกำลังผลิตด้วยใบกังหันลมในปัจจุบัน วิธีการออกแบบระบบควบคุมกำลังกังหันลมที่ใช้ในกังหันลมระดับเมกกะวัตต์ จะมีอยู่2 แนวทางหลักคือชนิด (1) Pitch control และ (2) Stall control ซึ่งทั้งสองระบบมีวัตถุประสงค์เดียวกันคือการลดแรงอากาศพลศาสตร์ที่กระทำบนใบพัดเมื่อความเร็วลมนั้นสูงเกินกว่าความเร็วที่ได้ออกแบบไว้เพื่อจำกัดกำลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้และป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างของใบพัด กล่าวคือหน้าที่ของระบบควบคุมกำลังคือ ในสภาวะความเร็วลมต่ำระบบจะเปลี่ยนรูปกำลังที่มีอยู่ให้เป็นกำลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด และในสภาวะความเร็วลมสูงระบบจะป้องกันไม่ให้กำลังงานถูกถ่ายเทไปยังชุดกำเนิดไฟฟ้ามากเกินกว่าที่ได้ถูกออกแบบไว้เทคโนโลยีการผลิตใบกังหันลมในช่วงเวลาที่ผ่านมาได้มีการผลิตกังหันลมขนาดใหญ่ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 80 เมตรอย่างต่อเนื่องและได้มีการสร้างต้นแบบกังหันลมขนาด 100–120 เมตรอีกหลายต้นแบบ จึงมีการใช้วัสดุคอมโพสิทสำหรับผลิตกังหันลมไปแล้วโดยประมาณไม่ต่ำกว่า 50 ล้านกิโลกรัมทั่วโลก จากการเติบโตของการผลิต65

กังหันลมอย่างต่อเนื่องจึงได้มีการศึกษาถึงหัวข้อทางเทคนิคของวัสดุคอมโพสิทและแนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต กันอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการพัฒนาการออกแบบใบกังหันที่มีขนาดใหญ่ที่มีอัตราการผลิตไฟฟ้าระดับ MWแนวโน้มการผลิตใบกังหันคอมโพสิทในปัจจุบัน ผู้ผลิตกังหันลมจำนวนมากนิยมทำการผลิตในโรงงานของตัวเองจึงจำเป็นต้องมีการใช้วัสดุและกระบวนการผลิตที่ค่อนข้างหลากหลาย Nordex และ GE Windได้สร้างใบกังหันขนาด 40– 50 เมตรโดยใช้เส้นใยแก้วในกระบวนการการวางชั้นด้วยมือในโมลเปิดและทาวัสดุพื้นที่เป็นเรซิ่นลงบนเส้นใย NEG Micron กำลังผลิตใบกังหันขนาด 40 เมตรด้วยการใช้เส้นใยคาร์บอนและใยจากเยื่อไม้กับวัสดุพื้นอีพ๊อกซี Vestas ใช้ระบบพรีเพรกโดยมีเส้นใยแก้วเป็นวัสดุเสริมแรงมาเป็นระยะเวลานาน TPI Composites กำลังผลิตใบขนาด 30 เมตรโดยใช้ระบบถ่ายเทเรซิ่นเข้าสู่โมลด้วยการช่วยจากความดันสุญญากาศ (VARTM) ยิ่งไปกว่านี้ Bonus ได้ประยุกต์ใช้เทคนิคอินฟิวชันในการผลิตใบกังหันทั้งใบในขั้นตอนเดียวเพื่อลดการเชื่อมกาวระหว่างชั้นส่วนย่อยภายหลัง เทคโนโลยีการออกแบบกังหันลมในประเทศไทยสามารถดำเนินการได้ในระดับ 250 kW ประสบการณ์การผลิตใบกังหันลมที่ผ่านมาอยู่ในระดับ 50 kWเทคโนโลยี GearboxGearboxเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส่งถ่ายกำลังจากกังหันลมมาใช้ขับ Generator และปรับให้ความเร็วรอบของกังหันลมเหมาะสมกับความเร็วรอบที่ Generator ต้องการ (เพิ่มความเร็วรอบ) ในอดีตการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม พบว่ากังหันลมต้องหยุดทำงานค่อนข้างบ่อยเนื่องจากปัญหามาจาก Gearbox ทั้งนี้เนื่องมาจากผู้ผลิตยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของโหลดจากลมที่กระทำกับกังหัน ตลอดจนองค์ประกอบ อื่นๆ เช่น วัสดุที่ใช้ทำเฟือง การหล่อลื่นตลอดจนชนิดของ Bearing ที่เหมาะสมในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาผู้ผลิตกังหันลมได้ร่วมมือกับนักออกแบบเฟือง ผู้ผลิต Bearing และผู้ช ำนาญทางด้านการหล่อลื่นร่วมกันวิจัย และพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำนายสภาวะของโหลดที่กระทำกับ Gear รวมทั้งร่วมกันออกแบบวิธีการผลิต Gearbox จนได้ Gearbox ที่มีอายุการใช้งานได้ถึง 20 ปี นอกจากนี้ยังได้ร่วมมือกับหน่วยงานทางวิศวกรรมอื่นๆ ร่างมาตรฐานการออกแบบ Gearbox สำหรับกังหันลมขึ้นมา โดยเฉพาะจุดประสงค์ก็เพื่อให้ได้ Gearbox ที่ต้องการการซ่อมบำรุงพอควร อย่างไรก็ตาม ความเสียหายที่เกิดกับกังหันลมในปัจจุบันก็ยังพบว่า Gearbox ยังคงเป็นปัญหาหลักที่ลดเวลาทำงาน (Downtime) ของกังหันลมมากที่สุด นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ เกี่ยวกับการบ ำรุงรักษา และลดทอนการผลิตไฟฟ้าอีกด้วย ความสูญเสียที่เกิดจาก Gearbox เมื่อคิดเปรียบเทียบเป็นค่าใช้จ่ายจะได้ประมาณร้อยละ 15 – 20 ของราคาของกังหันลมในปี 2550 The National Renewable Energy Laboratory (NREL) ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของU.S. Department of Energy ได้ตั้งโครงการ Gearbox Reliability Collaborative (GRC) ขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 2.5 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อหาเหตุผลถึงการเสียหายของ Gearboxโครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องหลายปี และในปี 2553 GRE เองก็มีโครงการจะของบประมาณสนับสนุนต่อเนื่องอีก2.5 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อสานต่องานนี้ให้เสร็จ66

นอกจากโครงการต่างๆ ที่กล่าวไปแล้วข้างต้นนั้น ที่ผ่านมายังมีข้อเสนอของภาคเอกชนในการจัดตั้ง<strong>Thailand</strong> First Wind Farm โดยบริษัท Fellow Engineering ได้เสนอติดตั้งกังหันลมกำลังการผลิต 360MW เทียบเท่ากับโรงงานไฟฟ้าจากโรง SPP ขนาด 42.11 MW ที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล และทำงานที่ร้อยละ 90Load Factor โดยติดตั้งที่ชายฝั่งทะเล อ. ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จนถึง อ.สิงหนคร จังหวัดสงขลาเทคโนโลยีใบพัดกังหันลมแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ (1) เทคโนโลยีการออกแบบ และระบบควบคุมกำลังผลิตด้วยใบกังหันลม และ (2) เทคโนโลยีการผลิตใบกังหันลมเทคโนโลยีการออกแบบและระบบควบคุมกำลังผลิตด้วยใบกังหันลมการออกแบบแพนอากาศสำหรับใบพัดกังหันลม (Airfoil design <strong>for</strong> wind turbine blade) ในอดีตนิยมใช้แพนอากาศ (Airfoil section) แบบมาตรฐานที่พัฒนาโดยหน่วยงานต่างๆ เช่น NACA หรือ NASAเป็นต้น แต่แพนอากาศเหล่านั้นได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้สำหรับเป็นปีกของเครื่องบิน ซึ่งต่างไปจากแพนอากาศสำหรับใบของกังหันลม (Blade) ที่มีความต้องการคุณสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างจากปีกของเครื่องบิน ช่วงการใช้งานใบกังหันลมมักมีค่าเลขเรย์โนลด์ (Reynolds Number) ต่ำกว่าช่วงการใช้งานเป็นปีกของเครื่องบินแพนอากาศมักจะถูกเปลี่ยนแปลงขนาดให้มีความหนามากขึ้น ทำให้เสียคุณสมบัติทางอากาศพลศาสตร์บางอย่างไป ในการออกแบบใบของกังหันลมยังต้องการคุณสมบัติเฉพาะตัวของแพนอากาศที่แตกต่างกันออกไปทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของชุดใบ (Rotor) ลักษณะการควบคุม และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ร่วมกับใบพัดกังหันลมเทคโนโลยีระบบควบคุมกำลังผลิตด้วยใบกังหันลมในปัจจุบัน วิธีการออกแบบระบบควบคุมกำลังกังหันลมที่ใช้ในกังหันลมระดับเมกกะวัตต์ จะมีอยู่2 แนวทางหลักคือชนิด (1) Pitch control และ (2) Stall control ซึ่งทั้งสองระบบมีวัตถุประสงค์เดียวกันคือการลดแรงอากาศพลศาสตร์ที่กระทำบนใบพัดเมื่อความเร็วลมนั้นสูงเกินกว่าความเร็วที่ได้ออกแบบไว้เพื่อจำกัดกำลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้และป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างของใบพัด กล่าวคือหน้าที่ของระบบควบคุมกำลังคือ ในสภาวะความเร็วลมต่ำระบบจะเปลี่ยนรูปกำลังที่มีอยู่ให้เป็นกำลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด และในสภาวะความเร็วลมสูงระบบจะป้องกันไม่ให้กำลังงานถูกถ่ายเทไปยังชุดกำเนิดไฟฟ้ามากเกินกว่าที่ได้ถูกออกแบบไว้เทคโนโลยีการผลิตใบกังหันลมในช่วงเวลาที่ผ่านมาได้มีการผลิตกังหันลมขนาดใหญ่ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 80 เมตรอย่างต่อเนื่องและได้มีการสร้างต้นแบบกังหันลมขนาด 100–120 เมตรอีกหลายต้นแบบ จึงมีการใช้วัสดุคอมโพสิทสำหรับผลิตกังหันลมไปแล้วโดยประมาณไม่ต่ำกว่า 50 ล้านกิโลกรัมทั่วโลก จากการเติบโตของการผลิต65

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!