ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

12.07.2015 Views

(1) มอเตอร์ใช้ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด (Superconductor Motor) มอเตอร์ชนิดนี้จะถูกออกแบบให้ใช้ขดลวด HTS (High Temperature Superconductor) แทนขดลวดทองแดงแบบทั่วไป จึงสร้างสนามแม่เหล็กที่มีกำลังสูงกว่าเมื่ออุณหภูมิต่ำลงมากๆ และที่สำคัญ ขดลวด HTS จะไร้ความต้านทานทำให้มีการสูญเสียทางไฟฟ้าเนื่องจากความต้านทาน (Copper losses) น้อยมากๆ มอเตอร์ชนิดนี้จะทำงานในช่วง-173 ถึง -195 องศาเซลเซียสมีประสิทธิภาพสูง กะทัดรัด ปลอดภัยเหมาะสำหรับใช้เป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่(1,000-7,000 แรงม้า)(2) มอเตอร์ใช้แม่เหล็กถาวร (Permanent Magnet Motor) มอเตอร์ชนิดนี้ใช้แม่เหล็กถาวรเป็นแหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็กภายในมอเตอร์ ทดแทนขดลวดสนาม ซึ่งตัวอย่างมอเตอร์ประเภทนี้ ได้แก่มอเตอร์ดีซีที่ใช้แม่เหล็กถาวร (DC servo motor) มอเตอร์สเตปปิ้ง (Stepping motor) มอเตอร์ดีซีแบบไร้แปรงถ่าน (Bushless dc motor) หรือ มอเตอร์ซิงโครนัสที่ใช้แม่เหล็กถาวร (Permanent-magnetsynchronous motor) เป็นต้น ในปัจจุบัน มอเตอร์ดีซีแบบไร้แปรงถ่านและมอเตอร์ซิงโครนัสที่ใช้แม่เหล็กถาวร แบบ 3-เฟส จะถูกนำมาใช้ทดแทนมอเตอร์เหนี่ยวนำค่อนข้างแพร่หลาย ในต่างประเทศสำหรับงาน ปั๊ม พัดลม หรือคอมเพรสเซอร์ อย่างไรก็ตาม ยังไม่นิยมถูกนำมาใช้งานมากนักในประเทศไทย(3) มอเตอร์เหนี่ยวนำที่ใช้โรเตอร์ทำจากทองแดง (Copper-Rotor Motor) โรเตอร์ที่ทำจากทองแดงจะถูกใช้แทนโรเตอร์อะลูมิเนียมในมอเตอร์แบบกรงกระรอก เนื่องจากทองแดงมีความสามารถนำกระแสไฟฟ้าได้ดีกว่าอะลูมิเนียมร้อยละ 60 ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มอเตอร์ชนิดนี้มีใช้มาแล้ว 6-7 ปี อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาเรื่องการหล่อ จึงจำเป็นต้องมีการวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการหล่อมอเตอร์อยู่(4) มอเตอร์สวิทช์รีลัคแตนช์ (Switched Reluctance motor: SRM) มอเตอร์ชนิดนี้มีโครงสร้างทั้งสเตเตอร์และโรเตอร์ ลักษณะเป็นขั้วยื่น (Salient pole) โดยทำด้วยแผ่นเหล็กธรรมดาทั้งคู่ มอเตอร์มีขดลวดแบบกระจุก(Concentrated winding) พันอยู่ที่ส่วนสเตเตอร์เท่านั้น ภายในมอเตอร์ไม่มีแม่เหล็กถาวรและไม่มีแปรงถ่าน อาจจะมีจำนวนเฟสได้หลายเฟส เช่น 3-เฟส 4-เฟส หรือ 5-เฟส เป็นต้น โครงสร้างขั้วของสเตเตอร์และโรเตอร์ ยังไม่ค่อยเป็นมาตรฐานมากนักขึ้นอยู่กับโรงงานผู้ผลิตออกแบบ มอเตอร์ชนิดนี้ได้ถูกวิจัยพัฒนาเป็นเวลานาน แต่ก็ยังไม่ค่อยเป็นที่นิยมมากเท่าที่ควร เนื่องจากมีข้อจำกัดในการหมุนที่ความเร็วตํ่าความน่าเชื่อถือยังท ำได้ไม่ดีนัก มอเตอร์ชนิดนี้มักใช้ในงานประยุกต์ที่ความเร็วสูงๆ เช่น เครื่องดูดฝุ่น ระบบขับเคลื่อนในทางทหาร การผลิตไฟฟ้า มอเตอร์-ปั๊มของเครื่องบินไอพ่น มอเตอร์ชนิดนี้มีราคาค่อนข้างสูง(5) มอเตอร์แบบ Written Pole (WP) เป็นมอเตอร์ที่ดัดแปลงจากมอเตอร์เหนี่ยวนำ 1-เฟสแบบทั่วไป ซึ่งจดสิทธิบัตรโดยบริษัท Precision Power Corporation โดยการเพิ่มขดลวดกระตุ้นให้เกิดขั้วแม่เหล็กขึ้นในส่วนของผิวโรเตอร์ที่ท ำโดยวัสดุนำสนามแม่เหล็ก (Magnetic material) เพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่ดีหลายประการช่วยในการสตาร์ทมอเตอร์ เช่น ลด Inrush current ลง ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เป็นต้นมอเตอร์ชนิดนี้มีขนาดจำกัดอยู่ที่ 15-75 แรงม้าและปัจจุบันมอเตอร์ชนิดนี้ถูกนำไปใช้กับปั๊มน้ำชลประทานมอเตอร์สายพาน ปั๊มน้ำ และอื่นๆ13

เครื่องจักรที่ถูกขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า (Motor-Driven Equipment) ได้แก่ เครื่องอัดอากาศปั๊ม และพัดลมเป็นอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามากกว่าครึ่งหนึ่งที่มอเตอร์ใช้ทั้งหมด ปัญหาสำคัญของอุปกรณ์ทั้ง 3 ชนิดนี้ คือ ขนาดที่ถูกออกแบบไว้ใหญ่เกินจำเป็น ใช้มอเตอร์ที่ใหญ่เกินไป ดังนั้น ระบบจึงมีประสิทธิภาพต่ำ สำหรับประเทศไทยเป็นที่สังเกตว่ามีการใช้เครื่องอัดอากาศ ปั๊มและพัดลมที่ผลิตในประเทศเป็นจำนวนมากโดยในการออกแบบระบบเหล่านี้ในบางกรณีไม่ได้ใช้หลักการทาง Turbomachine ซึ่งอาจทำให้ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เหล่านี้ไม่สูงเท่าอุปกรณ์ที่ผลิตจากต่างประเทศเครื่องอัดอากาศ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศ คือ Advancedcompressor control ซึ่งควบคุมให้เครื่องอัดอากาศทำงานสอดคล้องกัน และทำงานให้ใกล้จุดที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเครื่องอัดอากาศที่มีอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ (VFD) สามารถทำงานด้วยความเร็วรอบต่ำ แทนที่จะต้องหมุนที่ความเร็วรอบสูงทันทีเช่นกรณีของเครื่องอัดไอทั่วไปทำให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 35ปั๊ม การออกแบบปั๊มให้มีประสิทธิภาพสูงต้องใช้ทฤษฎีด้าน Turbomachinery ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเพิ่มประสิทธิภาพของปั๊ม คือ การออกแบบทางเข้าปั๊ม อัตราการไหลของของเหลว การออกแบบใบพัด(Impeller) ของปั๊ม สมบัติของของเหลวและการกำหนดความเร็วรอบของมอเตอร์ที่ใช้ การเลือกใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงและการติดตั้งอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ (VFD) ก็ช่วยให้สามารถลดพลังงานไฟฟ้าได้อีกแนวทางหนึ่งพัดลม พัดลมที่ใช้ในอุตสาหกรรมมีหลากหลายชนิดและขนาด การปรับปรุงประสิทธิภาพของพัดลมนอกจากการใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงและการติดตั้งอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ (VFD) แล้ว ยังสามารถใช้มาตรการด้านเทคนิคต่างๆ เช่น การออกแบบใบพัด (Blade) และ Casing shape และการกำหนดระบบควบคุมที่จะควบคุมความเร็วรอบและพื้นที่หน้าตัดที่อากาศจะเคลื่อนเข้าพัดลม (Cross-section)หม้อไอนำ้ำ (Boiler)หม้อไอน้ำเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดชนิดหนึ่งและมีการใช้กันอย่างกว้างขวางในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมกระบวนการ (Process industries) ประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำในประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณร้อยละ 65 การปรับปรุงประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำสามารถทำได้โดยใช้วิธีการหรือมาตรการที่ไม่ยุ่งยากและมีการลงทุนไม่สูงมากนักแต่ส่งผลให้ประหยัดพลังงานของระบบหม้อไอน้ำได้ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 20 มีความเป็นไปได้ที่จะประหยัดพลังงานของระบบหม้อไอน้ำได้ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 20 โดยไม่ต้องเปลี่ยนหม้อไอน้ำ ในสหรัฐอเมริกา มีการวิจัยเพื่อพัฒนาหม้อไอน้ำที่มีประสิทธิภาพสูงซึ่งเรียกกันว่า “Super Boiler” ซึ่งเป็นหม้อไอน้ำชนิดใหม่ที่ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยรุ่นแรกๆอาจมีประสิทธิภาพสูงถึงร้อยละ 92 และจะมีการปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจน (NO x ) ต ำ ่ S u p e r B o i l e rมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วนคือหม้อไอน้ำและระบบ heat recovery ประกอบด้วยนวัตกรรมใหม่ซึ่งได้แก่Transport Membrane (TM) Condenser, Compact Air Heat เพื่อใช้กำจัด Sensible Heat และ Latent Heat14

เครื่องจักรที่ถูกขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า (Motor-Driven Equipment) ได้แก่ เครื่องอัดอากาศปั๊ม และพัดลมเป็นอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามากกว่าครึ่งหนึ่งที่มอเตอร์ใช้ทั้งหมด ปัญหาสำคัญของอุปกรณ์ทั้ง 3 ชนิดนี้ คือ ขนาดที่ถูกออกแบบไว้ใหญ่เกินจำเป็น ใช้มอเตอร์ที่ใหญ่เกินไป ดังนั้น ระบบจึงมีประสิทธิภาพต่ำ สำหรับประเทศไทยเป็นที่สังเกตว่ามีการใช้เครื่องอัดอากาศ ปั๊มและพัดลมที่ผลิตในประเทศเป็นจำนวนมากโดยในการออกแบบระบบเหล่านี้ในบางกรณีไม่ได้ใช้หลักการทาง Turbomachine ซึ่งอาจทำให้ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เหล่านี้ไม่สูงเท่าอุปกรณ์ที่ผลิตจากต่างประเทศเครื่องอัดอากาศ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศ คือ Advancedcompressor control ซึ่งควบคุมให้เครื่องอัดอากาศทำงานสอดคล้องกัน และทำงานให้ใกล้จุดที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเครื่องอัดอากาศที่มีอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ (VFD) สามารถทำงานด้วยความเร็วรอบต่ำ แทนที่จะต้องหมุนที่ความเร็วรอบสูงทันทีเช่นกรณีของเครื่องอัดไอทั่วไปทำให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 35ปั๊ม การออกแบบปั๊มให้มีประสิทธิภาพสูงต้องใช้ทฤษฎีด้าน Turbomachinery ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเพิ่มประสิทธิภาพของปั๊ม คือ การออกแบบทางเข้าปั๊ม อัตราการไหลของของเหลว การออกแบบใบพัด(Impeller) ของปั๊ม สมบัติของของเหลวและการกำหนดความเร็วรอบของมอเตอร์ที่ใช้ การเลือกใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงและการติดตั้งอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ (VFD) ก็ช่วยให้สามารถลดพลังงานไฟฟ้าได้อีกแนวทางหนึ่งพัดลม พัดลมที่ใช้ในอุตสาหกรรมมีหลากหลายชนิดและขนาด การปรับปรุงประสิทธิภาพของพัดลมนอกจากการใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงและการติดตั้งอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ (VFD) แล้ว ยังสามารถใช้มาตรการด้านเทคนิคต่างๆ เช่น การออกแบบใบพัด (Blade) และ Casing shape และการกำหนดระบบควบคุมที่จะควบคุมความเร็วรอบและพื้นที่หน้าตัดที่อากาศจะเคลื่อนเข้าพัดลม (Cross-section)หม้อไอนำ้ำ (Boiler)หม้อไอน้ำเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดชนิดหนึ่งและมีการใช้กันอย่างกว้างขวางในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมกระบวนการ (Process industries) ประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำในประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณร้อยละ 65 การปรับปรุงประสิทธิภาพของหม้อไอน้ำสามารถทำได้โดยใช้วิธีการหรือมาตรการที่ไม่ยุ่งยากและมีการลงทุนไม่สูงมากนักแต่ส่งผลให้ประหยัดพลังงานของระบบหม้อไอน้ำได้ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 20 มีความเป็นไปได้ที่จะประหยัดพลังงานของระบบหม้อไอน้ำได้ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 20 โดยไม่ต้องเปลี่ยนหม้อไอน้ำ ในสหรัฐอเมริกา มีการวิจัยเพื่อพัฒนาหม้อไอน้ำที่มีประสิทธิภาพสูงซึ่งเรียกกันว่า “Super Boiler” ซึ่งเป็นหม้อไอน้ำชนิดใหม่ที่ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยรุ่นแรกๆอาจมีประสิทธิภาพสูงถึงร้อยละ 92 และจะมีการปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจน (NO x ) ต ำ ่ S u p e r B o i l e rมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วนคือหม้อไอน้ำและระบบ heat recovery ประกอบด้วยนวัตกรรมใหม่ซึ่งได้แก่Transport Membrane (TM) Condenser, Compact Air Heat เพื่อใช้กำจัด Sensible Heat และ Latent Heat14

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!