12.07.2015 Views

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

ฉบับ สมบูรณ์ - Thailand Energy Network for Educators หน้าแรก

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

และเพิ่มคุณภาพในกระบวนการผลิตอุตสาหกรรม เทคโนโลยี Thin films Si นั้น มีการผลิตและการพัฒนาบ้างแล้วในประเทศไทย แต่ยังคงมีช่องว่างในการเลือกวิจัยพัฒนาได้อีกพอควร เทคโนโลยีกลุ่มEmerging technologies ยังจำเป็นต้องมีการพัฒนาต้นแบบและสาธิตการใช้งานเมื่อทำเป็นแผงเซลล์แสงอาทิตย์แล้ว เทคโนโลยีกลุ่ม Concentrator technologies อาจจะมีการทดลองสาธิตและเก็บข้อมูลแต่อาจจะมีอุปสรรคจากราคาและความยุ่งยากซับซ้อนประกอบกับลักษณะของรังสีกระจายในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทย และเทคโนโลยีกลุ่มเทคโนโลยีชั้นสูง เป็นกลุ่มที่ควรสนับสนุนเพื่อให้นักวิจัยไทยได้พัฒนาองค์ความรู้และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการระดับนานาชาติเมื่อพิจารณาโครงสร้างพื้นฐานการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์และพัฒนาการของอุตสาหกรรมในประเทศไทยแล้วพบว่า เทคโนโลยีกลุ่มผลึกซิลิกอนและกลุ่มฟิล์มบางชนิดซิลิกอนมีศักยภาพทางเทคโนโลยีในการพัฒนาเชิงอุตสาหกรรมทั้งในด้านการพัฒนาประสิทธิภาพและกระบวนการผลิตได้ซึ่งอาจช่วยเรื่องต้นทุนการผลิตแผงเซลล์ เพิ่มประสิทธิภาพเซลล์และแผงเซลล์ และการเพิ่มอายุการใช้งานได้เมื่อพิจารณาเทคโนโลยีของระบบผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยมุ่งเน้นเฉพาะเทคโนโลยีแบบไม่เชื่อมต่อกับระบบจำหน่าย สำหรับในปัจจุบัน เมื่อมีความชัดเจนเรื่องการรับซื้อไฟฟ้าจากระบบเซลล์แสงอาทิตย์มากขึ้น ก็มีการพัฒนาและใช้งานอินเวอร์เตอร์แบบเชื่อมต่อระบบจำหน่ายของการไฟฟ้า และอินเวอร์เตอร์สำหรับโรงไฟฟ้า ด้วยศักยภาพอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันเชิงอุตสาหกรรมที่ดีและความสามารถในการวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ประกอบระบบ (Balance of Systems) ทั้งแบบเชื่อมต่อระบบจำหน่ายและแบบไม่เชื่อมต่อระบบจำหน่าย นอกจากการพัฒนาเทคโนโลยีอุปกรณ์ประกอบระบบแล้ว นักวิจัยของไทยยังมีศักยภาพและความต่อเนื่องในการศึกษาเทคโนโลยีระบบเซลล์แสงอาทิตย์ ได้แก่ ผลกระทบของการเชื่อมต่อระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับระบบจำหน่ายการออกแบบระบบเซลล์แสงอาทิตย์เชิงวิศวกรรม การทดสอบมาตรฐานทั้งผลิตภัณฑ์และระบบ เป็นต้นซึ่งจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องการผลิตน้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์มีส่วนประกอบหลักอยู่ 2 ส่วนคือ แผงรับความร้อนแสงอาทิตย์และถังเก็บน้ำร้อน แผงรับความร้อนแสงอาทิตย์เป็นเทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อน ใช้หลักการดูดกลืนความร้อนและส่งผ่านให้น้ำหรือของเหลวนำความร้อนชนิดอื่น เทคโนโลยีแผงรับความร้อนแสงอาทิตย์แบ่งออกได้เป็น4 ชนิดได้แก่ Flat plate collector, Evacuated collector, CPC collector และ Parabolic troughcollector ประเทศไทยมีการใช้แผงรับความร้อนแสงอาทิตย์ทั้งชนิด Flat plate และ Evacuated tubeอย่างแพร่หลาย เทคโนโลยีทั้งสองชนิดมีความคงทน ประสิทธิภาพและราคาที่ไม่ต่างกันมาก โดยมากเป็นการนำเข้าจากต่างประเทศ การผลิตในประเทศมีเฉพาะชนิด Flat plate ซึ่งในปัจจุบันมีการพัฒนาสารเคลือบแผ่นดูดกลืนความร้อนชนิด Super selective ทำให้มีประสิทธิภาพและอุณหภูมิสูงทัดเทียมกับแผง Evacuated collectorการนำกังหันลมมาใช้ผลิตไฟฟ้าโดยส่วนใหญ่เป็นการศึกษาโดยอาศัยข้อมูลทุติยภูมิเพื่อคำนวณและประเมินโครงการโดยอาศัยหลักการทางสถิติ เทคโนโลยีใบพัดกังหันลมแบ่งออกเป็น 2 ด้านคือ เทคโนโลยีการออกแบบและระบบควบคุมกำลังผลิตด้วยใบกังหันลม และเทคโนโลยีการผลิตใบกังหันลม ในการออกแบบกังหันลมในประเทศไทยมักนิยมใช้ภาคตัดของแพนอากาศ (Airfoil section) ตามรูปแบบมาตรฐาน แต่หาก101

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!