12.07.2015 Views

การวิเคราะห์กระบวนการ (Process Analysis, PA)

การวิเคราะห์กระบวนการ (Process Analysis, PA)

การวิเคราะห์กระบวนการ (Process Analysis, PA)

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การวิเคราะหกระบวนการ(<strong>Process</strong> <strong>Analysis</strong>, <strong>PA</strong>)ดร.ณั ฐสุทธิ์ แมนธนานนทคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน23-08-2555


วัตถุประสงค• เพื่อใหมีหลักคิดในการวิเคราะหหาจุดสูญเสียพลังงานในหนวยงาน หรือพื้นที่ของตน• เพื่อใหมีการทดลองวิเคราะหที่เปนวิทยาศาสตรในการตอบโจทยการอนุรักษพลังงาน• เพื่อเปนการพัฒนากระบวนการทํางาน (หรือใชงาน) ใหมีประสิทธิภาพดีเชนเดิมหรือดีขึ้น แตเพิ่มมาซึ่งสมรรถภาพในการลดการใชพลังงานได (อยางยั่งยืน)


ประโยชนที่จะไดรับจากการทํา <strong>PA</strong>• ทําใหเจาหนาที่ไดปฏิบัติงานไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมกับมีความสามารถในการประหยัดพลังงานได• สามารถทําการพัฒนาตอยอดการวิเคราะหกระบวนการไดเพิ่มขึ้นและสามารถใชขอมูลในการเผยแพรตอสาธารณะได• เปนผลงานประจําหนวยงาน ที่จะมีผลตอการพิจารณางบประมาณพัฒนาหนวยงานของตนในอนาคต (Energy Saving Credit)• เจาหนาที่หรือลูกจาง ไดรับความรูดานอนุรักษพลังงาน และสามารถนําไปประยุกตใชที่บานของตนเอง หรือแนะนําบุคคลอื่นได ซึ่งจะเปนการขยายขอบเขตการอนุรักษพลังงานใหมากขึ้น


กรณีศึกษา (Case study)อาคารควบคุม ทั้งภาครัฐและเอกชน• สถาบันโรคทรวงอก• โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา• โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา• โรงพยาบาลหาดใหญ• โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์


กรณีศึกษา (Case study)• สถาบันโรคทรวงอก400 เตียง 1,350 คน


กรณีศึกษา (Case study)• โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา518 เตียง 1,500 คน


กรณีศึกษา (Case study)• โรงพยาบาลหาดใหญ650 เตียง 1,900 คน


กรณีศึกษา (Case study)


คําจํากัดความ• การวิเคราะหกระบวนการ หรือ<strong>Process</strong> <strong>Analysis</strong> (<strong>PA</strong>) คือการพินิจพิจารณากระบวนการทํางาน (เดิม)ของพวกเรา ในการใชสถานที่ เครื่องจักร/เครื่องมือที่ใชพลังงานทุกชนิด รวมกับการคนหาวิธีการในการทําใหการทํางานสะดวก รวดเร็ว หรือมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยที่สามารถประหยัดพลังงานไดอยางยั่งยืนไดดวย


3Pองคประกอบที่ตองสนใจในการทํา<strong>PA</strong>3P3P‣ Place ตึก อาคาร แผนก หรือหองทํางาน Mechanic และอุปกรณเครื่องมือทุกชนิด เช น กระติกตมน้ํา ไมโครเวฟ หมอตมน้ํา ทีวีตูเย็น คอมพิวเตอร ฯลฯ‣ People‣ <strong>Process</strong> วิธีการ (ใหมหรือที่จะปรับปรุง) ระบบควบคุมหรือเทคโนโลยีสมัยใหมที่นํามาใช เพื่อทําให 2P แรกลดการใชพลังงานลง<strong>PA</strong> = 3P = FM (Facility Management)


องคประกอบที่สําคัญของการทํา<strong>PA</strong>‣Place


องคประกอบที่สําคัญของการทํา<strong>PA</strong>‣People


องคประกอบที่สําคัญของการทํา<strong>PA</strong>‣<strong>Process</strong>Experimented Scientificallyกอนหุม Heater Jacket หลังหุม Heater Jacket


เนนย้ําวา การทํา <strong>PA</strong> ตองยึดหลัก‣Potential way


ขั้นตอนวิเคราะหกระบวนการ หรือ การบริหารจัดการทรัพยากรที่สมบูรณแบบ (สําหรับทานผูบริหาร)แตงตั้งทีมงานสํารวจการประชาสัมพันธสิ่งที่ไดจากการทํา FMเขาใจถึงสถานที่/เทคโนโลยีที่มีอยูเดิมประเมินจุดคุมทุนที่เหมาะสม ทั้งระยะสั้น และ ระยะยาวการกําหนดเปาหมายและระยะเวลาคืนทุนหาที่ปรึกษาที่นาเชื่อถือ/ไวใจได<strong>PA</strong> = 3P = FM (Facility Management)


กรณีศึกษา (Case study)• สถาบันโรคทรวงอก


ตัวอยางที่ 1‣ “Low loss Auditorium” ( ฝายวิศวกรรม/ ฝายอํานวยการ)


ถามองที่ระบบปรับอากาศ


แกปญหาแบบไมตองลงทุนกอนเสมอ“ปรับทิศทางลม”


แกปญหา (<strong>Process</strong>): ติดตั้ง VSD (Variable Speed Drive)“เครื่องลดความเร็วรอบมอเตอร” (มาตรการลงทุน)ลดรอบการทํางานของมอเตอรเครื่องจายลมเย็น(AHU; Air Handling Unit)จากปกติ ที่ ทํ างานที่ 50Hz(100%) เหลือแค 40 Hz(80%) เทากับประหยัดได20% (Energy Saving)


ตรวจวัดและเก็บขอมูลแบบละเอียดการใชพลังงานของมอเตอรVSD 50 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 5.5 kWVSD 49 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 5.115 kWVSD 48 Hzใชพลังงานไฟฟา จํานวน 4.73 kWVSD 47 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 4.345 kWVSD 46 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 3.96 kWVSD 45 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 3.57 kWVSD 44 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 3.19 kWVSD 43 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 2.805 kWVSD 42 Hz ใชพลังงานไฟฟา จํานวน 2.42 kWVSD 41-40 Hzใชพลังงานไฟฟา จํานวน 2.035 kW


ถาติดเครื่อง VSD ที่หองประชุมชั้น10 และปรับVSD อยางนอยที่ 45 Hz สามารถลดคาใชจายไดเทาไหร50 Hz 45 Hz Baht saving % reductionper hour 19 12 7 35per day 150 98 53 35per month 3,311 2,149 1,162 35per year 39,727 25,786 13,940 35


ระยะคืนทุน และกําไรในอนาคต ของเครื่องVSD• ราคาเครื่อง VSD ประมาณ 60,000 บาท(รวมคาติดตั้ง)• ใชเครื่อง VSD ประหยัด/ป ประมาณ 25,786 บาท• คืนทุน ภายใน 2.3 ป• และกําไร ปละ 25,786 ทุกปWait a minute


ปญหาซอนปญหา (ตนตอที่แทจริง)ที่ ติด“เครื่องลดความเร็วรอบมอเตอร” 10 ตัวก็ไมมีประโยชนAHUหองเก็บของพท.หองประชุมหลังปรับปรุงแกไข


ตัวอยางท ี่2‣หองปฏิบัติการจุลชี ววิทยา 3L “Lab loveslean”Place + Peopleลักษณะงาน: ตองวิเคราะหงาน (ตัวอยาง)โดยใชเครื่องมือเฉพาะทางที่กินพลังงานสูง และตองทํางานตลอด 24 ชั่วโมงปญหา: เครื่องปรับอากาศ 3 ตัวทํางานหนัก ไมมีพัก, การจัดวางอุปกรณไมเอื้อ energy saving


ตัวอยางที่ 2 (ตอ)ที่ยอมสไลดกอนปรับปรุง


กระบวนการ (<strong>Process</strong>)แนวทางการปรับปรุงChoice 1: ทําโซนนิ่ง- ทําผนังกั้นแบงสวนระหวางความรอนและความเย็น เพื่อลดความชื้นจากอางลางมือ และยายอุปกรณที่มีความรอนออกจากพื้นที่ปรับอากาศ เพื่อลดภาระการทํางานเครื่องปรับอากาศลงZone สีน้ําเงิน-ทําผนังกั้นบริเวณดานหนาทางเดินหนาหองเวร และมีประตูเปดผาน เขา-ออก ไดZone สีแดง- ยายเครื่อง Server จากหองระบบ LIS (Zone สีเขียว) มาไวที่หองปฏิบัติการ เนื่องจากหองดังกลาวเปดเครื่องปรับอากาศตลอด 24 ชม.


ตัวอยางที่ 2 (ตอ)เครื่องกรองน้ําเครื่องArchitectโตะวางเครื่องมือตูเย็นเก็บน้ํายาเครื่องโตะตรวจผลUPSUPSUPSUPSUPSUPSเครื่องเครื่องAU-400เครื่อง AU-400เครื่องCoulterเครื่องCoulterที่ยองสไลด ที่ยอมสไลดอางลางมือตูชีวนิรภัยจุดตรวจงานจุลทรรศนศาสตรคลินิกจุดตรวจงานโลหิตวิทยาหองพักเวร 1หองพักเวร 2ตูเก็บเอกสารโตะเตรียมงานและเก็บสิ่งสงตรวจหองเก็บอุปกรณงานระบบ LISจุดรับสิ่งสงตรวจหลังปรับปรุง (ปรับปรุงตามการวิเคราะหกระบวนการ)


กระบวนการ (<strong>Process</strong>)แนวทางการปรับปรุงChoice 2:ทําโซนนิ่ง+เติมแอรใหม (แอรประสิทธิภาพสูง)เพื่อเปดสลับกับแอรเกา


ผลจากการทําโซนนิ่งZoneZoneZoneลดพื้นที่ปรับอากาศได = 13.58 ตร.ม.= 10,864 btu (มาจาก 13.58 ตร.ม. x 800 btu/ตร.ม.)ลดพื้นที่ปรับอากาศได = 2.26 ตร.ม.= 1,808 btu (มาจาก 2.26 ตร.ม. x 800 btu/ตร.ม.)ลดพื้นที่ปรับอากาศได = 11.34 ตร.ม.= 9,072 btu (มาจาก 11.34 ตร.ม. x 800 btu/ตร.ม.)รวมทั้งหมดประหยัดได = 21,744 btu


ผลประหยัด= 21,744 BTU = 3.2 kW (ขอมูลจากเครื่องปรับอากาศขนาดเดียวกัน)= 3.2 kW x 24 ชม.ตอวัน x 365 วัน/ตอ x 0.80(เปอรเซ็นการทํางาน compressor 80%)= 22,426 หนวยตอป= 22,426 หนวยตอป x 3.4 บาทตอหนวย= 76,248 บาทตอปสรุปประหยัด = 76,248 บาทตอป


ตัวอยางที่ 3• “แคเลือกใชตูนึ่งอบฆาเชื้อถูกตัว จายกลางก็ประหยัดไดโขนะจะ”Specification:-3 ตู-3phases, กินพลังงาน 42 kW/ตู-อุณหภูมิใชงาน 134 o C-ใชนึ่งฆาเชื้ออุปกรณการแพทยเชน สายยาง เพลทขวดแกว หรือผา ฯลฯ


ตัวอยางที่ 3 (ตอ)การวิเคราะหกระบวนการของเรา(<strong>Process</strong> <strong>Analysis</strong>; <strong>PA</strong>)• กระบวนการทํางานประจําของตูนึ่งอบฆาเชื้อ (1 เครื่อง)เครื่องเปลาอุนเครื่อง 25 นาทีเครื่องเปลา + ใสแผนทดสอบอุนเครื่องเปลาที่ใสแผนทดสอบ 25 นาทีโหลดอุปกรณฯนึ่ง(Set Temp: 134 o C)Step1: อุน(50 นาที)Step2: นึ่ง(1 ชั่วโมง)


วิเคราะหประเด็นสําคัญๆ และตัด choice ใหเปน1) ตูมีอยู 3 ตู ...... แตละตูกินพลังงานเหมือนกันรึเปลา2) อุณหภูมิที่ใชในการนึ่ง จากเดิม set ไวที่ 134 o C.......เราจะสามารถลดอุณหภูมิลงไดหรือไม เชน 125-128 o C3) หากลดอุณหภูมิลง จะมีผลตอความแหง หรือความสะอาดของอุปกรณ หรือจะมีผลทําใหเวลาการทํางานยืดออกไปและจะกินพลังงานเพิ่มขึ้นหรือไม4) ปริมาณอุปกรณที่มาในแตละวันไมเทากัน (บางวันมาก บางวันนอย) ตรงนี้เปนปจจัยที่ผันแปร (Variable factors) …..ไมนํามาพิจารณา


ลักษณะการใชพลังงานของเครื่องนึ่งอบฆาเชื้อ เครื่องที่ 1kWเวลา 6 ชม


ลักษณะการใชพลังงานของเครื่องนึ่งอบฆาเชื้อ เครื่องที่ 2(7.00-13.00 น; 6 ชม)kWเวลา 6 ชม


ลักษณะการใชพลังงานของเครื่องนึ่งอบฆาเชื้อ เครื่องที่ 3kWเวลา 6 ชม


วิเคราะหกอนสรุปStep 1 เปรียบเทียบการกินพลังงาน Consumptions (Unit/Money)Standard(kWh.6hr)Real-time(kWh.6hr) kWh/ป บาท/ปตัวที่ 1 252 59.3 649,992 2,196,973ตัวที่ 2 252 62.3 683,222 2,309,290ตัวที่ 3 252 50.94 557,810 1,885,400


สรุปผลStep 1สรุป: เลือกใชตัวใหถูกตองกอนเรียงตามลําดับตัวที่ 2 กินไฟมากที่สุด 2,309,290 บาท/ป ประหยัดไดตัวที่ 1 กินไฟรองลงมา 2,196,973 บาท/ป 112,317 บาท/ปตัวที่ 3 กินไฟนอยที่สุด 1,885,400 บาท/ป 311,573 บาท/ปStep 2ติดตอบริษัทผูขาย เพื่อปรับตั้งอุณหภูมิใหม(134130….125 o C)


ตัวอยางที่ 4‣ “LPG ลดได-ใหญ ๆไม เล็กๆเอา” ของฝายเภสัชกรรมตมน้ําเพื่อใชในการเตรียมยาน้ําชนิดตางๆ


ตัวอยางที่ 4 (ตอ)‣การเตรียมยา ฝายเภสัชกรรม มี flow การทํางาน ดังนี้เครื่องกรองDI UV Boil


กระบวนการตมน้ําเพื่อผสมยา (อาศัย)ตัวอยางที่ 4 (ตอ)วิธีการตมน้ําแบบเดิม (ใช)ถัง 100 ลิตร (ถังใบใหญ) ตมน้ํา(ใหเดือด)ใชเวลา 240 นาที ใช แก็ส 3.6 กกวิธีการตมน้ําแบบใหม (ใช)ถัง 10 ลิตร (ถังใบเล็ก) ตมน้ํา(ใหเดือด) ใชเวลา 20 นาทีใชแก็ส 0.3 กกถัง 10 ลิตร x 10 ถัง ตมน้ําใชเวลา 200 นาที ใชแก็ส 3.0 กก


ตัวอยางที่ 4 (ตอ)ผลการปรับปรุงกระบวนการลดระยะเวลาในการตมน้ํา = 40 นาที ประหยัดแก็ส 0.6 กกและ ราคา แก็สหุงตม ปจจุบัน ราคา กิโลกรัมละ 20 บาทตมน้ํา 100 ลิตร ลดการใชแก็สได 0.6 กิโลกรัม ลดคาแก็สได 12 บาท1 เดือน ตมน้ํา 1,000 ลิตร ลดการใชแก็สได 6 กิโลกรัม ลดคาแก็สได 120บาท 1 ป ตมน้ํา 12,000ลิตร ลดการใชแก็สได 72 กิโลกรัม ลดคาแก็สได1,440 บาทผลการปรับปรุงกระบวนการพลังงานเชื้อเพลิง (LPG) ที่ประหยัดได :72 kg/ปหรือ : 3,616.56 MJ/ประยะเวลาคืนทุน : 0เงินที่ประหยัดได : 1,440 บาท/ปเงินลงทุน: ไมมี


ตัวอยางที่ 4 (ตอ)ผลการปรับปรุงกระบวนการลดระยะเวลาในการตมน้ํา = 40 นาที ประหยัดแก็ส 0.6 กกและ ราคา แก็สหุงตม ปจจุบัน ราคา กิโลกรัมละ 20บาทตมน้ํา 100 ลิตร ลดการใชแก็สได 0.6 กิโลกรัม ลดแก็สได12 บาท 1 เดือน ตมน้ํา 1,000 ลิตร ลดการใชแก็สได 6 กิโลกรัมลดคาแก็สได 120 บาท 1 ป ตมน้ํา 12,000ลิตร ลดการใชแก็สได72 กิโลกรัม ลดคาแก็สได 1,440 บาท


ตัวอยางที่ 5• “จัดการสิ่งที่กินพลังงานมากที่สุดกอน” (หนวยงาน CCU)


ตัวอยางที่ 5 (ตอ)ผลการสํารวจเบื้องตนเครื่องใชไฟฟา จํานวนหนวยเครื่องใชไฟฟาระยะเวลาในการใชงานคิดเปนหนวยไฟฟารวมคิดเปนเงินรวมคิดเปนเงิน(วัตต) (ชั่วโมง/วัน) (หนวย/ป) (บาท/ป) (บาท/วัน)1.หลอดไฟฟาฟลูออเรสเซนต 175 46 18 52,888.50 179,820.90 492.662.หลอดไฟฟา(หลอดตะเกียบ) 16 14 12 981.12 3,335.81 9.13923.กระติกน้ํารอนใบเล็ก 2 1,400.00 4 4,088.00 13,899.20 38.084.หมอตมน้ําใบใหญ 1 2,400.00 6 5,256.00 17,870.40 48.965.ตูเย็นธรรมดา 6 70 24 3,679.20 12,509.28 34.2726.เครื่องทําน้ําเย็น 1 116 8 338.72 1,151.65 3.15527.ทีวี 3 95 6 624.15 2,122.11 5.8148.เครื่องลาง bad pan 1 5,300.00 4 7,738.00 26,309.20 72.089.เครื่องทําน้ําอุน 2 3,500.00 12 30,660.00 104,244.00 285.610.เตาไมโครเวฟ 1 900 12 3,942.00 13,402.80 36.7211.พัดลมดูดอากาศ(หองรับรอง) 1 20 6 43.80 148.92 0.40812.พัดลมดูดอากาศใน ward 6 30 12 788.40 2,680.56 7.34413.Syringe pump 30 11 24 2,890.80 9,828.72 26.928รวม 245 13,902.00 156 113,918.69 387,323.55 1,061.16


ตัวอยางที่ 5 (ตอ)• “จัดการเครื่องจัดการสิ่งสกปรกBad Pan” (หนวยงาน CCU)เครื่องลางของสกปรก5,300 Wกอนดําเนินการ-ไมไดกําหนดจํานวนภาชนะในการลางแตละครั้ง(หลังใชงานลาง 1 ชิ้น/ครั้ง) : 12 ครั้ง/วัน(ครั้งละ 45-60 min)


ตัวอยางที่ 5 (ตอ)หลังดําเนินการ–แยกประเภท/จัดเรียงรอจํานวนที่เหมาะสมในการลางแตละครั้ง ซึ่งพบวาสามารถลางไดวันละ 4 ครั้ง/วัน


ตัวอยางที่ 6‣การอุนอาหารเหลวใหคนไขใน (หนวยงานRCU&FOB)ผูปวยหลังการผาตัด หรือผูปวยหนักโรคหัวใจ/ปอด ตองมีการพักรักษาตัว และอาหารของคนไขจะเปนอาหารเหลวและอาหารเหลวตองมีการอุนกอนรับประทานวิธีคิด: ถาม – เรามีอะไรบางที่จะใช อุนไดตอบ – อางน้ํารอน/ กระติกน้ํารอน/ ไมโครเวฟถาม – แลวใช อะไรดีที่สุดละตอบ – ตองทดลอง


ตัวอยางที่ 6(ตอ)‣การอุนอาหารเหลวใหคนไขใน (หนวยงานRCU&FOB)


ตัวอยางที่ 6 (ตอ)‣ออกแบบการทดลอง (Experimental Design)Test No.1 กรณีอางตมนํ ้าเปิ ดสวิตตที่ 50 O C นําอาหารผู ปวยลงแชนาน~ 20 นาที แลวยกออกTest No.2 กรณีอางตมนํ ้าเปิ ดสวิตตที่ 110 O C นําอาหารผู ปวยลงแชนาน~ 10 นาที แลวยกออกTest No.3 ใชกรั ติกนํ ้ารอน ตมนํ ้า แลวใชนํ ้าที่ไดสําหระบแชอาหาร


ตัวอยางที่ 6 (ตอ)‣การอุนอาหารเหลวใหคนไขใน(หนวยงาน RCU&FOB)Test No.4 ใชเตาไมโครเวฟในการอุ นอาหารเหลว (ตามขะ ้นตอนดะงนี้)วะดอุณหภูมิของอาหารหละงนําออกมาจากตู เย็นนําอาหารผู ปวยเขาไมโครเวฟตะ ้งรั ดะบไฟที่ใชในการอุ นอาหาร(ทดสอบที่) ไฟออน ไฟกลาง ไฟแรง ตะ ้งเวลาที่ใชในการอุ นอาหาร(ทดสอบที่) 1 นาที 1.30นาที แลั 2 นาที


ตัวอยางที่ 6 (ตอ)‣ผลการทดลอง


ตัวอยางที่ 6 (ตอ)วิเคราะหและสรุปผลเบื ้องตนจากผลการทดลองดังตารางขางตนพบวา ในกรณีใช ไมโครเวฟ ไฟกลาง ใชเวลา 2 นาที จะไดอุณหภูมิของอาหารเหลวที่เหมาะสมที่คนไขพอใจที่สุด (42 O C) และพลังงานไฟฟ าที่ใชคิดเป็น 0.04หนวยไฟฟ าตอครั ้ง (0.136บาท/ครั ้ง) โดย 1 วันตองมีการใหอาหารผูปวย 7 ครั ้ง/วัน (0.28 หนวยไฟฟ า/วัน)สรุปเปรียบเทียบอางเปิดสวิตซ 50 O C(1300 W)อางเปิดสวิตซ 110OC (1500 W)


ตัวอยางที่ 6 (ตอ)สรุปสุดทายมาตรการที่ใช :ยกเลิกการใชอางตมนํ้า เปลี่ยนมาเป็ น1. อุ นดวยไมโครเวฟ ไฟกลาง 2 นาที ปรั หยะด 3760.23- 364.75=3,395.48 บาท (ทางเลือกอะนดะบ 1)2. ใชกรั ติกนํ้ารอนแทน ปรั หยะด 3760.23-967.98= 2,792.25 บาท (ทางเลือกอะนดะบ 2)กรณีใชไมโครเวฟ แทน อางตมนํ้า(50 o C) พลังงานไฟฟ าที่ประหยัดไดหรือเงินที่ประหยัดไดเงินลงทุนระยะเวลาคืนทุน: 1,003.75 กิโลวัตตชั่วโมง/ปี: 3,613.5 MJ/ปี: 3,412.75 บาท/ปี: ไมมี: 0 ปี


ตัวอยางที่ 7‣“ตูแชเนื้อพลังงานต่ํา”(ฝายโภชนาการ)แนวคิดตูแชผักผลไม จะควบคุมอุณหภูมิไวที่ 10 องศาเซลเซียส และไมสามารถปรับเพิ่มหรือลดอุณหภูมิไดหากแตในกรณีของตูแชเนื ้อที่กําหนดอุณหภูมิควบคุมไวที่ 3-4 องศาเซลเซียส โดยตูแชเนื ้อนี ้สามารถที่จะปรับคาอุณหภูมิได ในการนี ้ไดมีการทดลองปรับอุณหภูมิตูแชเนื ้อขึ ้น 1-2 องศาเซลเซียสและทําการสังเกตผลที่เกิดขึ ้นกับเนื ้อสัตว


ตัวอยางที่ 7 (ตอ)


ผลการปรับปรุงกระบวนการหนวยไฟฟาที่ประหยัดได : 730 กิโลวัตตชั่วโมง/ปหรือ : 2,628 MJ/ปเงินที่ประหยัดได : 2,482 บาท/ปเงินลงทุน: ไมมีระยะเวลาคืนทุน : 0ผลการทดลอง (ตูแชเนื้อ)ตัวอยางที่ 7 (ตอ)วันที่ทดลองพลังงานที่วัดได/วัน(kW)พลังงานที่ใช/วัน(kW)อุณหภูมิองศาเซลเซียส23/9/54 18 - 31 13 224/9/54 31 - 43 12 325/9/54 43 - 54 11 4ผลการทดลองดังกลาวบงชี ้วา การเพิ่มอุณหภูมิขึ ้น ครั ้งละ 1 องศาเซลเซียสจะมีผลใหตูแชเนื ้อใชพลังงานลดลงไป 1 kW ดังนั ้นจึงกลาวไดวา ถาเพิ่มอุณหภูมิขึ ้นอีก 2 องศาเซลเซียส (จาก 4 o C 6 o C)เทากับการลดพลังงานไดถึง 2 kW นอกจากการทดลองแบบวิทยาศาสตรแลว สส .พลังงานหนวยโภชนาการไดมีการหาขอมูลเสริมเชิงป องกันวาการเพิ่มอุณหภูมิขึ ้นไมไดมีผลอยางมีนัยสําคัญตอการเพิ่มจํานวนหรือการเจริญเติบโตของจุลินทรีย และจะมีผลตอคนที่กินเขาไป โดยมีทั ้งขอมูลที่เป็น งานวิจัยตีพิมพ และขอมูลเสริมอื่นๆ เชน Temperature Diagram for Food Preservative


ตัวอยางที่ 8ผลการปรับปรุงกระบวนการหนวยไฟฟาที่ประหยัดได : 393,446.3 กิโลวัตตชั่วโมง/ปหรือ : 1,416,406.7MJ/ปเงินที่ประหยัดได :1,337,717 บาท/ปเงินลงทุน: 1,479,520 บาทระยะเวลาคืนทุน : 1.1 ป‣ “Slim but Wide”การปรับปรุงระบบแสงสวาง (T8T5) [ฝายวิศวกรรม/ช าง]แนวความคิดในการเปลี่ยนหลอดไฟแบบเดิม (หลอด T8 36Wที่ใชคูกับบัลลาสตแกนเหล็กคาการสูญเสีย 10 W) ไปเปนหลอดT5 28W ที่ใชคูกับบัลลาสตอิเลคทรอนิกคาการสูญเสีย 1 W) มีมาตั้งแตเทคโนโลยี T5 เพิ่งออกมาใหมซึ่งหมายความวา สถาบันจะสามารถประหยัดพลังงานไฟฟาที่ใชไปไดถึง 17 W ตอชุดแสง จากการสํารวจโดยทีม สส.พลังงานและทีมชางผูชํานาญการของสถาบันพบวา มีจํานวนชุดแสงสวางที่ตองเปลี่ยนทั้งสิ้น 5,284 ชุด ทั้งนี้จําเปนตองเปลี่ยนทั้งหมดเพื่อการอนุรักษพลังงานที่ยั่งยืนตอไปกอนปรับปรุง (T8) หลังปรับปรุง (T5)


ตัวอยางท ี่8‣ “Bubble พอเหมาะ” ระบบบําบัดน้ําเสียแบบคลองวนเวียน (ฝายสิ่งแวดลอม)Acceptable Load (Max) : 1,000 m 3 /dayReal Load : 400 m 3 /day


ตัวอยางที่ 8 (ตอ)‣ลดชั่ วโมงการเติมอากาศผลการปรับปรุงกระบวนการหนวยไฟฟาที่ลดได : 12,181.87 กิโลวัตตชั่วโมง/ปหรือ : 43,854.75 MJ/ปเงินที่ประหยัดได :41,418.37 บาท/ปเงินลงทุน: ไมมีระยะเวลาคืนทุน : 0กอนปรับปรุง หนวยไฟฟ าที่ใช (kWh/ปี )กรณีใชวันละ 24 ชั ่วโมง (12 ชมตอตัว)Motor 1Motor 2( 5,625 W(1kW/1000W)) (12 hr/วัน) (365 วันตอปี )= 24,637.5 kWh/ปี( 5,500 W (1kW/1000W)) (12 hr/วัน) (365 วันตอปี )= 24,090 kWh/ปีคาใชจายกอนปรับปรุง (บาทตอปี ): 48,727.5 kWh/ปี (3.4 บาท/kwh) = 165,673.5 บาท/ปีหลังปรับปรุง หนวยไฟฟ าที่ใช (kWh/ปี )กรณีใชวันละ 18 ชั ่วโมง (9 ชมตอตัว)Motor 1Motor 2( 5,625 W(1kW/1000W)) (9 hr/วัน) (365 วันตอปี )18,478.12= kWh/ปี( 5,500 W (1kW/1000W)) (9 hr/วัน) (365 วันตอปี )18,067.5 = kWh/ปีคาใชจายหลังปรับปรุง (บาทตอปี ): 36,545.62 kWh/ปี (3.4 บาท/kwh) = 124,255.1 บาท/ปี


ตัวอยางที่ 8 (ตอ)‣การใชนวัตกรรมแทนที่ปมสําหรับฉีดน้ําเพื่อใหฟองอากาศแตก- ฟองอากาศ หรือ ไขมันที่เจือปนมากับน้ํา ปกติจะตองมีการฉีดน้ําใหฟองอากาศแตก (วันละ 5 ชั่วโมง)- ปมกินไฟที่ 3.5 kW


ตัวอยางที่ 8(ตอ)คําขวัญ“รูประหยัด รูคาพลังงานน้ําเสียตองบําบัด ผานการฆาเชื้อ เปนมิตรสิ่งแวดลอมทั้งรูจักตอยอด พึ่งพาสิ่งเหลือใช สรางสรรคนวัตกรรม”


พัฒนาการการสรางนวัตกรรมบอบําบัดน้ําเสียชื่อนวัตกรรม: ตัวดักไขมันตัวอยางที่ 8 (ตอ)ครั้งที่ 1 เริ่มตน


พัฒนาการการสรางนวัตกรรมบอบําบัดน้ําเสียชื่อนวัตกรรม: ตัวดักไขมันตัวอยางที่ 8 (ตอ)ครั้งที่ 2(ปรับปรุง 1)


พัฒนาการการสรางนวัตกรรมบอบําบัดน้ําเสียชื่อนวัตกรรม: ตัวดักไขมันตัวอยางที่ 8 (ตอ)ครั้งที่ 3 ปรับปรุง 2


พัฒนาการการสรางนวัตกรรมบอบําบัดน้ําเสียชื่อนวัตกรรม: อุปกรณเสริมดักไขมันนํามุงลวดมาหุมตะแกรงอุปกรณสําหรับทําตัวตักฟองอากาศ ไขมันตัวอยางที่ 8 (ตอ)ตะแกรงหุมดวยมุงลวดพรอมดามไมไผ


ติดตั้ง และใชงานจริง


ผลของการมีนวัตกรรมตัวดักจับไขมันทําให เราไมตองใชตัวฉีดน้ําเพื่อทําใหฟองอากาศแตกอีกตอไป (ปกติฉีดวันละ 5 ชั่วโมง/วัน)= หยุดการใชปมตัวอยางที่ 8 (ตอ)ผลการปรับปรุงกระบวนการหนวยไฟฟาที่ลดได : 6,387 กิโลวัตตชั่วโมง/ปหรือ : 22,995 MJ/ปเงินที่ประหยัดได : 21,717 บาท/ปเงินลงทุน: ไมมีระยะเวลาคืนทุน : 0


้ตัวอยางที่ 9‣ “เครื่องดื่มแนวอนุรักษ” (แผนกผูปวยสามัญ ตึก 7 ชั้ น6-9)บอเกิดของการคิดเรื่องนี ้ก็คือ ความเป็นจริงที่วาเจาหนาที่ทุกคน จะชอบดื่ม ชา กาแฟ โอวัลตินกันทุกคนโดยเฉพาะชวงรอยตอของเวรดึก และเวรเชา โดยขอมูลที่เก็บไดในสวนการใชกระติกตมนํ้าเป็นดังนี ปริมาณนํ ้าชงกาแฟ 15 ถวย/วัน ถวยละ 150 ซีซี (15 ถวย =2,250 ซีซี) ความจุของกระติกนํ ้า = 2.8 ลิตร (กินไฟ 670 วัตต)ในการทดลองไดมีการคิดกันวา อุปกรณไฟฟ าใดบางที่ทําหนาที่แบบเดียวกัน ก็พบคําตอบที่เตาไมโครเวฟการทดลองไดเริ่มขึ ้นที่ปริมาณนํ ้าสําหรับชงกาแฟที่เทากัน ( 150 ซีซี) ซึ ่งผลการทดลองปรับเปลี่ยนระยะเวลาการทํางานของเตาไมโครเวฟ ตออุณหภูมิของนํ ้าที่ไดจะไดแสดงดังตารางตอไปนี ้


ตัวอยางที่ 9‣ “เครื่องดื่มแนวอนุรักษ” (แผนกผูปวยสามัญ ตึก 7 ชั้ น6-9)


การตรวจวัดและการวิเคราะหโดยจากการสอบถามเจาหนาที่ทุกทานพบวา อุณหภูมิที่เหมาะสมในการดื่มกาแฟจะอยูที่อุณหภูมิประมาณ 85-90 องศาเซลเซียส นั่นหมายความวา เวลาที่ใชในการตมนํ ้าโดยไมโครเวฟ จะใชเพียงแค 1 นาทีก็เพียงพอในประเด็นที่ตองวิเคราะหตอไปก็คือ แตละคนกินไมพรอมกัน “ดวยขอจํากัดในเรื่องของเวรแตละคน” ดังนั ้น กินคนละเวลา 15 ถวย 15 คน นั่นหมายความวา จะใชเวลารวมในการเวฟประมาณ 15 นาที/วันในขณะที่กระติกนํ ้ารอนใชเวลาตม 7 นาที จึงจะไดอุณหภูมิตามตองการ และตองมีการตม 3 ครั ้ง/วัน (ตามกะ) และในการตมครั ้งแรกของแตละวัน ภายหลังจากที่นํ ้ามีอุณหภูมิสูงสุดแลว ( 98 o C) ความรอนที่สูญเสียจั อยู ที่อะตราปรั มาณ5.5 O C/ชั่วโมง นั่นหมายความวาภายในเวลาของเวรกะแรกของวัน (8 ชั่วโมง) อุณหภูมิของนํ ้าจะลดลงไป 44 o C (นํ ้าที่เหลือในกระติกจะมีอุณหภูมิคงอยูประมาณ 54 o C โดยในการตม 2 ครั ้งถัดไปของวัน จนไดอุณหภูมิที่ 98 o C จะใชเวลารวมสําหรับอีก 2 กะที่เหลือที่ 10 นาที(สรุปในสวนของกระติกตมนํ้า ก็คือ มีเทคนิคการเติมนํ้าเพียงครั ้งเดียวที่ 2.25 ลิตรตอวัน/ สําหรับเวร 3 กะตอวัน/สําหรับตมนํ้า 3 ครั ้งตอวัน/ โดยใชเวลารวม 17นาทีตอวัน/ และมีการดึงปลั๊กออกทุกครั ้งเมื่อนํ้าเดือดในแตละกะ)เมื่อไดขอมูลเพียงพอแลว ก็จะเริ่มทําการคํานวณ ซึ ่งผลที่ไดพบวากระติกตมนํ ้ารอนและไมโครเวฟใชพลังงานที่258.72 และ 432 kWh/ปี ตามลําดับ ซึ ่งจากการทดลองดังกลาวสรุปไดวาใช กระติกนํ้ารอนดีกวาไมโครเวฟในการกินกาแฟในกรณีที่ “กินหลายแกว และ กินไมพรอมกัน” (ประหยัดได 173.28 kWh/ปี )หมายเหตุ: การจั เปรียบเทียบวาวิธีการตมนํ ้าโดยใชอุปกรณใดปรั หยะดกวากะนนะ ้นขึ้นกะบสภาพการใชงานจริง (พฤติกรรมการใช) สภาพหรือสมรรถนั ของเครื่องมือ (เกา-ใหม จั ตางกะน) แลั /หรือการออกแบบการทดลองของหนวยงานนะ ้นๆดวย


การตรวจวัดจริง (ที่ดี) ตองครอบคลุมทุกสถานะเคล็ดลับ:กรณีที่ตมน้ําเดือดแลวไมดึงปลั๊กออก ตัว ตัว Thermostat ของกระติกตมน้ํารอนจะทํางานในโหมดอุนใหรอนตอไปเรื่อยๆ โดยจากการวัดคาพลังงานโดยใช power meter พบวาในชวงอุน กระติกน้ํารอนจะยังใชพลังงานบางสวนอยู โดยมีคาสลับกันไป (ชวงตัด-ชวงตอ)ระหวางคาสูงสุด (16%) และคาต่ําสุด (1.5%) ของคาการใชพลังงานสูงสุด (660 (660 W; W;คาที่ไดจากการตรวจวัดจริงขณะตมใหเดือดจากอุณหภูมิหอง) ซึ่งนั่นหมายความวาหนวยงาน 7/6-9 สามารถประหยัดหนวยไฟฟาไดถึง 2.65 2.65kWh/วัน หรือ หรือ 79.64 kWh/เดือน(955.77 kWh/ป) ซึ่งคิดเปนเงินผลประหยัดไดถึง 3,249.6 บาท/ป (เพียงแคดึงปลั๊กกระติกตมน้ํารอนออก หลังตมเสร็จ)


กรณีศึกษา (Case study)• โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา250 เตียง 1,000 คน


โครงการเปลี่ยนมาใชเครื่องทําน้ําเย็นระบายความรอนดวยน้ําเย็นประสิทธิภาพสูง(Hi - Efficiency Chiller) ภาพโครงการ ป พ.ศ. 2548กอนทํา<strong>PA</strong>: Chiller แบบระบายความรอนดวยอากาศ หลังทํา<strong>PA</strong>: Chiller แบบระบายความรอนดวยน้ําเย็นสรุปผลการดําเนินการเงินลงทุน: 11,903,000 บาทพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได : 1,062,500.40 kWh / ปเงินที่ประหยัดได : 3,187,501.20บาท / ประยะเวลาคืนทุน: 3.73 ป


การใชเทคโนโลยีขั้นสูงในการตรวจติดตาม และควบคุมแบบอัตโนมัติการตรวจสอบการดําเนินการอนุรักษพลังงานในแผนกโดยการใช (Power Meter and EnergyManagement Software) วัดผลแบบ Real-time


DNDNการปรับปรุง(เพิ่ม)พื้นที่ใชสอยและประหยัดพลังงานUPUPTVREFFHCREFTVFHCTVTVREFREFTVREFREFTVTVREFREFTVTVREFREFTVTVREFREFTVTVREFREFTVTVREFNUR-B02TVREFREFTVTVREFREFTVTVREFREFTVTVREFREFTVTVREFREFTVTVREFREFTVUPFHCUPDNDNแผนผังหองชั้น 9 กอนการปรับปรุงB1 3 4 5 5' 6 78500 8500 8500 4250 42508500บริเวณหองกอนปรับปรุง800010500CD10500Eแผนผังหองชั้น 9 หลังการปรับปรุง1 3 4 5 5' 68500 8500 8500 4250 425085007B623 624 625 626 627 628 629 63010500FHCUSED CLOTHSTORAGEบริเวณหองที่เพิ่มขึ้นมาหลังปรับปรุงWaiting AreaCEmergency Cabinet601 602 603 604 605 6068000NURSE STATIONLIFT LOBBYD622 621 620 619 618 61710500616MAID'S RMMEDICALSERVICEE612 611 610 609 608 607615 614 613


การปรับปรุงภูมิทัศนใหดูดีก็ถือเปน <strong>PA</strong>เคานเตอรเดิม เคานเตอรใหมหองพักผูปวยเดิม หองพักผูปวยใหม


การปรับปรุงภูมิทัศนใหดูดีก็ถือเปน <strong>PA</strong>ทางเดินเดิม ทางเดินใหมประตูทางเขาเดิม ประตูทางเขาใหม


รายละเอียดการปรับปรุงและผลที่ไดรับผลจากการออกแบบและหลังจากการตกแตงปรับปรุงแลวเสร็จ1. สามารถรองรับจํานวนหองพักผูปวยเพิ่มขึ ้นจํานวน 3 หอง / ชั ้น2. การใชพื ้นที่ในการจัดเก็บสิ่งของ (เชน หมอน ผาหม ฯลฯ) ภายในหองพักผูปวยที่เพิ่มมากขึ ้น3. มีแสงสวางที่เพียงพอและไดมาตรฐานตอการทําการพยาบาล4. เคานเตอรพยาบาลมีพื ้นที่ลดลง แตฟังกชั่นการใชงานเพิ่มมากขึ ้น5. จากที่ไดยายตําแหนงของเคานเตอรพยาบาลสงผลใหมุมมองสามารถมองครอบคลุมทั ้งชั ้นไดมากยิ่งขึ ้นทั ้งนี ้ผลที่ไดรับสามารถสรางรายไดใหกับโรงพยาบาลเพิ่มขึ ้น โดยการประเมินทางดานเศรษฐศาสตร มีการลงทุนปรับปรุงชั ้น 9 โดยใชงบประมาณกวา 10 ลานบาท แตสามารถรับคนไขในไดเพิ่มขึ ้นอีก 3 หอง โดยเฉพาะคาบริการหองพัก มีรายไดหองละ 3,500 บาทตอวันตอหอง สวนหองผูปวยเดิม 27 หองเมื่อปรับปรุงแลวสามารถปรับเพิ่มคาหองพักอีก 700 บาท ทําใหมีรายไดปีละ 10 ,731,000 บาท ทั ้งความพึงพอใจของพนักงานและผูมาใชบริการก็เพิ่มขึ ้นเพราะไดรับการบริการที่สะดวกรวดเร็วมากขึ ้นคาใชจายและผลการประหยัดพลังงานเงินลงทุน: 10 ลานบาทรายไดที่เพิ่มขึ ้น : 10,731,000 บาท / ปีระยะเวลาคืนทุน : 0.93 ปี


การใชหลอดไฟฟาชนิด LED 3 วัตต ทดแทนหลอดไฟฟาชนิด Halogen 50 วัตตกอนทํา <strong>PA</strong>สรุปผลการดําเนินการเงินลงทุน: 43,800.00 บาทพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได : 12,351.60 kWh / ปเงินที่ประหยัดได : 37,054.80 บาท / ประยะเวลาคืนทุน: 1.18 ปหลังทํา <strong>PA</strong>


การใชโคมไฟเมทัลฮาไลดสําหรับเตรียมงานหองประชุม หองสัมนากอนทํา <strong>PA</strong>หลังทํา <strong>PA</strong>สรุปผลการดําเนินการเงินลงทุน 25,000.00 บาทพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได 17,886.96 kWh / ปเงินที่ประหยัดได 57,774.88 บาท / ประยะเวลาคืนทุน 0.43 ป


กรณีศึกษา (Case study)• โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา518 เตียง 1,500 คน


<strong>PA</strong> แบบความคิดสรางสรรค(กําจัดขยะ –ไดพลังงานจากขยะ)• โครงการสงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพ นี้เปนอีกหนึ่งโครงการที่โรงพยาบาลฯเล็งเห็นถึงศักยภาพของการนําเศษอาหารที่เหลือทิ้งจากโรงครัวที่มีเปนจํานวนมากในแตละวัน มาผลิตเปนเชื้อเพลิงเพื่อใชทดแทนกาซ LPG ปกติโรงครัวจะทําอาหารเลี้ยงผูปวย 3 มื้อ วันละประมาณ 500คน และจัดเลี้ยงอาหารสําหรับเจาหนาที่เปนสวัสดิการในมื้อกลางวันวันละ 200 คน และมื้อเย็น50 คน นอกจากนี้ยังมีเตรียมอาหารสําหรับผูเขามาประชุมและผูเขามาเยี่ยมชมงานตางๆของโรงพยาบาล อีกเดือนละประมาณ 1,000 คน คิดเปนกากอาหารแหงจํานวน 550 kg/วัน โดยมีการใชกาซ LPG ในการปรุงอาหาร 9,600 kg/ป จากโครงการนี้ไดรับการสนับสนุนจาก สํานักนโยบายและแผนพลังงาน 70 % ซึ่งทําใหจุดคุมทุนเร็วขึ้นจากเดิม 3.20 ป มาเปน 1.25 ป และยังสามารถนํากากอาหารที่ผานการหมักแลวมาทําเปนปุย สําหรับนําไปใสตนไมรอบโรงพยาบาลไดอีกดวย


การผลิตกาซชีวภาพจากขยะจากโรงอาหารรพ.อยุธยาการใชกาซชีวภาพปรุงอาหารในโรงครัวเครื่องผลิตกาซชีวภาพ


กรณีศึกษา (Case study)• โรงพยาบาลหาดใหญ650 เตียง 1,900 คน


การทํา <strong>PA</strong> สําหรับแอรแบบแยกสวน (split type)มาตรการจัดโหลดการทํางานของเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวนระบบปรับอากาศเป็นระบบที่ใชพลังงานสิ้นเปลีองที่สุดของโรงพยาบาล ทีมอนุรักษพลังงานจึงไดรวมกันศึกษาหาวิธีการตางๆ เพื่อที่จะควบคุมการทํางานของเครื่องปรับอากาศใหไดอยางเหมาะสมที่สุด จนพบวามีวิธีที่จะควบคุมการทํางานคอมเพรสเซอร ของเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน โดยใชคอมพิวเตอรเป็นชุดควบคุมการทํางานเพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานไดทีมอนุรักษพลังงาน นําโดยผูรับผิดชอบดานพลังงานประจําโรงพยาบาล ไดหาแนวทางและวิธีการใช DemandControl (การควบคุม Peak load นั่นเอง) ใหเหมาะสมกับการควบอุณหภูมิของพื ้นที่ปรับอากาศของแตละพื ้นที่โดยใหควบคุมการทํางานของคอมเพรสเซอร และการใชโปรแกรมควบคุมการทํางานของคอมเพรสเซอร สามารถเลือกไดวาจะควบคุมกําลังไฟฟ าที่กี่กิโลวัตตตอวัน ซึ ่งจะขึ ้นอยูกับสภาพอากาศในแตละวัน แตทุกวันจะสามารถควบคุมได 30 kW เป็นอยางตํ ่า


ผลที่ไดรับโดยการควบคุมการทํางานของคอมเพรสเซอรที่เหมาะสมจะทําควบคูความตองการของแตละพื ้นที่ และผลของผูมาใชบริการ เพื่อทําใหเกิดความชัดเจน ผูรับผิดชอบดานพลังงาน จึงไดทําการจดบันทึกและถายรูป กอน-หลัง การดําเนินมาตรการ การควบคุมกําลังไฟฟ าที่ 30 kW ตอวันนั ้น ไดมีการสํารวจแลวพบวาไมมีผลตอการทํางานของพนักงานและผูมาใชบริการ สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ าได 236 ,520 kWh/ ปี ใชเงินลงทุน 635,000บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน 0.94 ปีกอนปรับปรุงกําลังไฟฟ า 750 kWติดตั้งชุดควบคุม Demandหลังปรับปรุงกําลังไฟฟ าเฉลี่ย 720 kW


การลดคาใชจายจากการใชน้ํามันดีเซลมาตรการติดตั ้ง Boiler แกส LPG ประสิทธิภาพสูงทดแทน Boiler ใชนํ้ามันดีเซลเดิมเครื่อง Boiler โรงพยาบาลหาดใหญ ใชนํ ้ามันดีเซลเป็นเชื ้อเพลิงปีละหลายแสนลิตรเพื่อผลิตไอนํ ้าสําหรับ ซัก-อบผา หุงขาวลางจาน นึ ่งฆาเชื ้อเครื่องมือทางการแพทย ในสภาวะราคานํ ้ามันสูงทําใหตนทุนการใหบริการผูป วยสูงขึ ้น การเลือกใช Boiler Gas LPG ประสิทธิภาพสูง ซึ ่ง Boiler เดิมประสิทธิภาพอยูที่ 83 % และ87% สําหรับ Boiler ใหม จึงเป็นแนวทางหนึ ่งที่ชวยใหตนทุนการใหบริการผูป วยลดลงBoiler กอนประบปรุง Boiler หละงประบปรุง


ผลที่ไดรับ กอนปรับปรุงใชนํ ้ามันดีเซล 265,000 ลิตร/ปี หลังปรับปรุงใชLPG 192,720 kg/ปี เงินลงทุน4,000,000 บาท เงินที่ประหยัดได 3,514,500 บาท/ปี ระยะเวลาคืนทุน1.13 ปีเกี่ยวกับเรื่อง Boiler นี ้ กอนทําการเปลี่ยนจากใชนํ ้ามันดีเซลเป็น LPG เรามีมาตรการเอาไอนํ ้ารอน Condensateที่พนทิ้ง กลับมาอุนนํ ้าที่เขาเครื่อง สาเหตุที่ผูรับผิดชอบดานพลังงานเกิดแนวคิด เพราะเห็นชางจากภายนอกที่ไปซอมเครื่องในโรงพยาบาลเอาไอนํ ้ารอนดังกลาวที่พนทิ้งนั ้นมาลวกหอยแครงจนสุกรับประทานได จึงคิดเอาไอนํ ้ารอนนั ้นกลับมา Recycle จากการตอเติมที่เก็บไอนํ ้ารอนนี ้ ทําใหไดนํ ้าที่ป อนเขาเครื่องมีอุณหภูมิสูงขึ ้นมาก จากเดิมประมาณ 30 เป็น 75-90 องศาเซลเซียส ลงทุน 3500 บาท ประหยัดได 1.4 ลานบาทตอปี


หอง X‐ray รพ.ชุมพรเขตอุดมศักดิ์จากกรณีศึกษา โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ ์ หองเอกซเรยของโรงพยาบาลฯ มีเครื่องปรับอากาศขนาด24,000 บีทียู จํานวน 2 เครื่อง ใชงานในพื ้นที่ 64 ตารางเมตร ซึ ่งเปิดใชงานตลอด 24 ชั่วโมงโดยพื ้นที่ดังกลาวจะมีสวนของลางฟิลมจํานวน 3 เครื่อง และพื ้นที่ทํางานธุรการ มีผูปฏิบัติงาน ประจํา 10-15 คนปัญหาที่เกิดขึ้น1. เครื่องปรับอากาศไมสามารถทําความเย็นไดตามอุณหภูมิที่ตองการ2. เครื่องปรับอากาศชํารุดบอย3. มีกลิ่นของนํ ้ายาลางฟิลมกระจายทั่วหอง4. การสิ้นเปลืองพลังงานที่นับเป็นคาไฟฟ าที่จายอยางไมจําเป็นสาเหตุของปัญหา1. เนื่องจากเครื่องลางฟิลมเอกซเรยทั ้ง 3 เครื่อง เวลาทํางานจะแพรความรอน สงผลใหภาระโหลดของเครื่องปรับอากาศเพิ่มขึ ้น2. พบการสูญเสียความเย็นตลอดเวลาประตู / หนาตางเปิดใหบริการ3. ไมมีการแบงโซนการทํางานระหวางพื ้นที่ธุรการ และพื ้นที่ติดตั ้งเครื่องลางฟิลมแนวทางในการปัญหา1. ขั ้นตอนการศึกษา ไดทําการศึกษาอุณหภูมิการทํางานของเครื่องลางฟิลม พบวา เครื่องลางฟิลมสามารถทํางานไดดีในสภาวะที่อุณหภูมิการทํางานโดยรอบที่อุณหภูมิปกติ โดยไมตองปรับอากาศ ไดทําสํารวจพื ้นที่ของแผนกเอกซเรย ทํางานธุรการสําหรับคน 15 คน พบวาถาจัดพื ้นที่การทํางานใหมสามารถใชพื ้นที่ทํางานธุระประมาณ 50% ของพื ้นที่หองเดิม2. วิธีการแกไขปัญหา กั ้นพื ้นที่หองเพื่อแยกพื ้นที่ทํางานธุรการ และพื ้นที่ลางฟิลมเอกซเรยออกจากกัน ติดตั ้งเครื่องปรับอากาศใหมที่มีประสิทธิภาพสูงกวาเครื่องเกาในพื ้นที่ทํางานธุรการ ติดตั ้งพัดลมระบายอากาศในหองลางฟิลม เพื่อทําใหความดันในหองลาง ฟิลมเป็นลบ เมื่อเทียบหองทํางานธุรการ


หอง X‐ray รพ.ชุมพรเขตอุดมศักดิ์กอนทํา <strong>PA</strong>


หอง X‐ray รพ.ชุมพรเขตอุดมศักดิ์หลังทํา <strong>PA</strong>


เปรียบเทียบกันอีกทีภาพกอนทํา ภาพหลังทํา


สรุปการแกปญหาโดย <strong>PA</strong> และผลประหยัดสรุปลดปญหากลิ่นของน้ํายาลางฟลม ทําใหบุคลากรมีความสุขในการทํางานมากขึ้นไมตองทนกับการดมกลิ่นน้ํายาลางฟลม (P: People)ลดภาระคาใชจายดานการบํารุงรักษาและซอมเครื่องปรับอากาศ เนื่องจํานวนเครื่องปรับอากาศลดลง 1 ตัว (P: <strong>Process</strong>)สามารถลดการใชพลังงานไฟฟาได 99,645 บาท / ป และคืนทุน 0.76 ป เนื่องจากลดขนาดพื้นที่ในการปรับอากาศ (P: Place)คาใชจายและผลการประหยัดพลังงานเงินลงทุน: 76,000 บาทผลประหยัดพลังงาน : 99,645 บาท / ประยะเวลาคืนทุน : 0.76 ป


คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนรักษประเทศ ชวยลดCarbon footprintบริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จํากัดINNOVATION TECHNOLOGY CO., LTD.23-08-2555ดร.ณัฐสุทธิ ์ แมนธนานนท


คารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint, CF)คือ ปริมาณการปลดปลอยของกาซเรือนกระจก จากกิจกรรมการใชพลังงานของมนุษยเชน กาซคารบอนไดออกไซด (CO 2 )


ทําไมตองเรียนรู เรื่องคารบอนฟุตพริ้นทผลกระทบซึ่งเกิดจากภาวะโลกรอน มีความชัดเจนและรุนแรงขึ้นในยุคของพวกเราถือเปน หนาที่ความรับผิดชอบ (โดยเฉพาะหนวยงานดานดูแลสุขภาพ) ที่จะชวยปองกันและลดผลกระทบตอสุขภาพจากภาวะโลกรอนเพื่อเปนการพัฒนารูปแบบ และแผนในการลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse Gases, GHGs)


วัตถุประสงค (Objectives)เพื่อใหทราบแหลงที่มีการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อใหทราบปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อใหใชขอมูลที่ไดในการวางแผนการลดการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการลดการปลอยกาซเรือนกระจก


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ (Expected Output)ชวยเสริมความแข็งแรง และเพิ่มคุณคาใหกับโครงการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมถือเปนภาพลักษณ (เสริม) ที่ดีชวยสงเสริมใหรพ. ไดใชเทคโนโลยีและ/หรือ วิธีการดําเนินการที่ลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก อยางครบวงจรเจาหนาที่ทุกคน สามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใชไดในชีวิตนอกเหนือที่ทํางาน ซึ่งจะเปนการชวยเหลือทั้งตนเอง และ สังคมในมุมกวาง


เนื้อหา (Content)1. ความหมายของคารบอนฟุตพริ้นท และนิยามที่เหมือนกัน2. ประเภทของคารบอนฟุตพริ้นท3. กาซเรือนกระจกที่สําคัญ4. วิธีการหาคารบอนฟุตพริ้นท


1) ความหมายของคารบอนฟุตพริ้นท(รอยเทาคารบอน, CF) หรือ นิยามที่เหมือนกันCF:ปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด รวมทั้ง GHGs ตัวอื่นๆ โดยตลอดวัฏจักรชีวิตของมนุษยผลิตภัณฑ บริการ และขององคกร


CF LCALCA (Life Cycle Assessment)


สนใจกันเรื่องสมๆขอมูลจาก: ดร.รุงนภา ทองพูล ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC)


รอยเทาคารบอน, CFแสดงออกมาในหนวยใดkgCO 2 equivalent หรือTons CO 2 equivalent“เทียบเทา” (equivalent)ปริมาณเทียบเทาของกาซ CO 2 ที่ปลดปลอยออกมาจากกิจกรรมใดๆที่จําเพาะเจาะจงซึ่งมีศักยภาพตอการเกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศkgCO 2 e


2) ประเภทของคารบอนฟุตพริ้นท1. คารบอนฟุตพริ้นทของมนุษย2.คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ (สินคาและบริการ)3.คารบอนฟุตพริ้นทขององคกร


คารบอนฟุตพริ้นทของมนุษย


กลวยแตละผลปลอยคารบอน 80กรัม หรือ 450 กรัมตอ 1 กิโล


21 กรัม สําหรับชาหรือกาแฟไมใสนม + น้ําเดือดเฉพาะที่ตองการ- 53 กรัม สําหรับชาหรือกาแฟใสนม + น้ําเดือดเฉพาะที่ตองการ- 71 กรัม สําหรับชาหรือกาแฟใสนม + น้ําเดือดเกินกวาที่ตองการสองเทา-235 กรัม สําหรับคาปูชิโนแกวใหญ-340 กรัม สําหรับลาเตแกวใหญ


อาหารทั่วไป


ไมปลอยเลย ถาปลอยใหมือแหงเอง- 10 กรัม ถาใชกระดาษเช็ดมือ 1 แผน- 20 กรัม ถาใชเครื่องเปามือทั่วไปที่ตองใชพลังงานมากในการทําใหเกิดลมรอน


47 กิโลกรัมตอป สําหรับการใชมือถือนอยกวา 2 นาทีตอวัน- 1,250 กิโลกรัมตอปตอการใช 1 ชั่วโมงตอวัน-125 ลานตันตอป สําหรับการใชมือถือทั่วโลก


สงแมสเสจ 1 ขอความปลอยคารบอน :- 0.014 กรัมตอ 1 ขอความ (140 ตัวอักษร ใชเวลาพิมพ 1 นาที)- 32,000 ตัน สําหรับการสงขอความของคนทั่วโลกใน 1 ป


12 กรัมตอชั่วโมง สําหรับ โนตบุกประหยัดพลังงาน- 63 กรัมตอชั่วโมง สําหรับ ไอแมคขนาด 21.5 นิ้ว รุนป 2010- 150 กรัมตอชั่วโมง สําหรับ คอมพิวเตอรตั้งโตะรุนเกา


คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ


เครื่องใชไฟฟา


เครื่องใชสํานักงาน


ตัวอยาง carbon label ของผลิตภัณฑ


โรงงานนํารองที่ไดรับคัดเลือกเขารวมโครงการ(25 โรงงาน =25 ผลิตภัณฑ)


คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑ


คารบอนฟุตพริ้นทขององคกร


3) กาซเรือนกระจกที่สําคัญอางอิงตาม พิธีสารเกียวโต:Carbon dioxide (CO 2 )Methane (CH 4 )Nitrous Oxide (N 2 O) Hydrofluorocarbons (HFCs), Perfluorocarbons (PFCs) Sulfur Hexafluoride (SF 6 )อางอิงตาม พิธีสารมอนทรีออลChange in angle:Chlorofluorocarbons (CFCs)O ONChange in inter-atomic


กาซเรือนกระจกและศักยภาพในการทําใหโลกรอน (Global Warming Potential : GWP) และอายุขัยในบรรยากาศ (Lifetime)GW<strong>PA</strong>tmosphericLifetime, YearsCO 2Carbondioxide150-200CH 4Methane2110N 2ONitrous Oxide310130CFCsChlorofluorocarbons12,000-18,00090-400HFCsHydrofluorocarbons6,500-13,4001-246PFCsPerfluorocarbons7,8503,200-50,000SF 6Sulphur Hexafluoride23,9003,200


GHG Flow Diagram: Global Greenhouse Gas EmissionsCO277 %Etc. 1 %Methane14 %N2O 8%


ราคา (1,100) บาทAnestheticDesflurane; suprane(1,900)Sevoflurane (Sevorane, Ultane)(1,600)Nitrous Oxide (296)


ขอบเขตการปลอย GHGs(ในองคกร);จากโรงพยาบาล อาจระบุไดใน 3 สวนScope. 1: Direct Emission (กิจกรรมตางๆ เชน การจัดการขยะ การเผาไหม การบําบัดน้ําเสีย การใชรถสวนตัว การใชยาสลบ)Scope. 2: Indirect Emission (e.g. PurchasedElectricity): การใชกระแสไฟฟาScope. 3: Indirect Emission (i.e. from products andservices หรือ การจัดซื้อจัดจาง การใชบริการขนสงมวลชน)


สรุปย้ํา ความสัมพันธระหวางขอบเขตการปลดปลอยGHGsScopeและกิจกรรมในโรงพยาบาลตัวอยางกิจกรรม1 ‐ น้ํามันเชื้อเพลิง‐ กาซหุงตม‐ การจัดการขยะภายในสถานบริการ‐ ระบบบําบัดน้ําเสีย‐ การจัดการสิ่งปฏิกูล‐ สารเคมีทางการแพทย2 ‐ (การใช) ไฟฟา3 ‐ พาหนะจางเหมา‐ การจัดการขยะ โดยการสงกําจัดภายนอก


4) วิธีการหาคารบอนฟุตพริ้นทCO 2 emission = activity data × emission factorsโดย CO 2 emission = การปลดปลอยของกาซคารบอนไดออกไซดactivity data = กิจกรรมเฉพาะที่กอใหเกิดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกemission factors = คาปจจัยการปลดปลอย (เฉพาะกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง)


การคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทขององคกรActivity data เปนขอมูลกิจกรรมที่กอใหเกิดการปลอยกาซเรือนกระจกขอมูลปฐมภูมิหรือขอมูลทุติยภูมิ ไดแก- คาพลังงานไฟฟา หนวยเปน กิโลวัตตตอชั่วโมง (kWh)- น้ําหนักของของเสีย หนวยเปน กิโลกรัม (kg) หรือ (ton) ตัน- การใชน้ํามันเชื้อเพลิงของพาหนะ หนวยเปน ลิตร (l)- ระยะทางในการเดินทางโดยเครื่องบิน หนวยเปน กิโลเมตร (km)- ฯลฯ


พูดถึง Emission factors (EFs)EFs : คาปจจัยการปลดปลอยนั้น โดยทั่วไปจะเปนคาที่เปนตัวแทนของการปลดปลอยสารมลพิษที่มาจากแหลงจําเพาะ และ/หรือ เครื่องมือบางประเภทEFs : มักแสดงในรูปของหนวยของ ปริมาณสารมลพิษที่ปลดปลอยออกมาตอหนวยของพลังงานที่ใชไป (เชน kgCO 2 /kWh) และ/หรือ ปริมาณสารมลพิษที่ปลดปลอยออกมาตอหนวยของน้ําหนักเชื้อเพลิง (เชนkgCO 2 /kg coal , kgCO 2 /l oil ), หรือตอระยะทาง kgCO 2 /km


ตัวอยางการคํานวณหา emission factors


วิธีคิดการคํานวณหา emission factors (ตอ)คําถาม:ตองการหาคาปจจัยการปลดปลอย (EFs) ของการเผาไหมถานหิน(Coal) จะหาไดอยางไรคําถามกลับ:• เปนถานหินประเภทใด• เตาเผาเปนแบบใด ระบบเปนอยางไร• สภาวะการเผาไหมเปนอยางไรบาง เชน ใชอัตราการไหลของอากาศเทาไหร อากาศสวนเกินเทาไหร หรือใชถานหินกี่กิโลกรัม เปนตน• เปน emission factors ของสารมลพิษทางอากาศตัวใด


องคประกอบสําหรับหา emission factors


Combustion Technology


Total Airflow rate (TA)Experimental DesignParameters% Secondary Air to Total Air (SA:TA) 30%Total Excess Air (EA) 50%OperatingConditions300 L/min, or0.005 m 3 /secFuel Weight (kg)Operation:Combustion Technology:Type of Coal:7.2 kg (based on the maximum loadof fuel bed height)As batchFixed-bedThai Lignite


The air pollutants of interest:• Carbon dioxide (CO 2 ): Greenhouse gas• Carbon monoxide (CO): Toxic gas• Sulfur Dioxide (SO 2 ): Acid rain• NO x (Nitrogen Oxide; NO): Acid rain andOzone depletion• Total Suspended Particulate (TSP)/Particles having diameter size below 10micrometer; PM 10 : which may affect the atmosphere, thehealth of humans, and the internal parts of the combustion system


ต.ย. สูตรที่ใชในการคํานวณคา EFsสําหรับกาซ CO, SO 2 , NOxสําหรับฝุนละอองรวม (TSP)สําหรับกาซ CO 2


ขอมูลสําคัญ


Time‐resolved evolution of…..


การรายงานผลEFs from combustion of Thai lignite in a fixed bed with condition:•Total Airflow rate (TA): 300 l/min; 0.005 m 3 /sec; actual cubic meter per second(acms), 30%SA:TA (the percentage of secondary air to total air ), excess air 50%•Batch operation•Full load: 7.2 kgcoal per batch (Normalize), 3-5 mm in diameter•Bed Temp: 1200 o CAir pollutantsCarbon dioxide (CO 2 )Carbon monoxide (CO)Sulfur dioxide (SO 2 )Nitrogen Oxide (NO)Particulate Matter (PM)ResultsEmission factors (mass/mass)0.450 kgCO 2 /kg coal30 g /kg coal138 g /kg coal7.74 g/kg coal8.9 mg /kg coal


Emission Factors ที่ใชในการคํานวณกิจกรรมEmission Factorsการจัดการสิ่งปฏิกูล 8.82 kg CO 2e/kg BODSF623,900 kg CO 2e/kgNitrous Oxide 0.296 MT CO 2e/kgIsoflurane0.350 MT CO 2e/kgยาสลบDesflurane0.575 MT CO 2e/kgSevoflurane1.526 MT CO 2e/kgCO21 kg CO2e/kgการใชไฟฟา0.5610 kg CO 2e/kWhเครื่องบิน 0.13 kgCO 2e/kmพาหนะจางเหมา รถตู (ดีเซล) 29.4 kgCO2/100 kmรถบัส (ดีเซล) 105.3 kgCO2/100 kmที่มา : องคการบริหารกาซเรือนกระจก , GHG Protocol, IPCC


กิจกรรมEmission Factorsเบนซิน2.6 kg CO2e/Lดีเซล3 kg CO2e/Lน้ํามันเชื้อเพลิง (ในราชการ)กาซโซฮอล2.93 kg CO2e/LNGV0.24 kg CO2e/LLPG1.8 kg CO2e/Lกาซหุงตม0.061 kg CO2e/MJมูลฝอยรวม (ใชสําหรับขยะอันตราย)1.3 kg CO 2e/kgเผา CH4126 kg CO 2e/Gg waste incinerationเผา NO212.71 kgCO 2e/ton waste incinerationฝงกลบ0.8421 kg CO 2e/kgหมักปุย CH4 0.084 kg CO 2e/kg waste treatedการจัดการขยะหมักปุย NO2 0.093 kg CO2e/kg waste treatedBiogas0.021 kg CO2e/kg waste treatedเผาติดเชื้อ CH4 0.315 kg CO 2e/Gg waste incinerationเผาติดเชื้อ NO2 0.032 kgCO 2e/ton waste incinerationการขนสงขยะ0.0494 kg CO 2e/ton-kmระบบบําบัดน้ําเสียใชอากาศ3.78 kg CO 2e/kg BODไมใชอากาศ6.30 kg CO 2e/kg BOD


ชื่อกิจกรรม ขอมูลกิจกรรม หนวย คาแฟคเตอร. มูลฝอยทั่วไป / มูลฝอยอันตรายปริมาณมูลฝอยที่ทิ้งโดยเฉลี่ยตอวัน kg 1.3 kg CO 2e/kg. การจัดการของเสียชุมชน (มูลฝอยทั่วไป/ มูลฝอยอันตราย)2. 1 การฝงกลบ (Sanitary Landfill)‐ การฝงกลบมูลฝอยชุมชนรวม (MSW Sanitary Landfill) ปริมาณมูลฝอยทั้งหมดที่กําจัดดวยการฝงกลบ kg 0.8421 kgCO 2e/kg‐ Waste landfilled with landfill gas recoveryonvertedo electricity (นํากาซชีวภาพมาผลิตกระแสไฟฟา)‐ Waste landfilled with landfill gas combusted tohetmosphere (เผาทําลายกาซกอนออกสูบรรยากาศ)2.2 การเผา (Incineration)ปริมาณมูลฝอยทั้งหมดที่กําจัดดวยการฝงกลบ ton 0.1467 MTCO 2e/tonปริมาณมูลฝอยทั้งหมดที่กําจัดดวยการฝงกลบ ton 0.2567 MTCO 2e/ton‐ ดวยเทคโนโลยี Stokerการเผาตอเนื่อง 24 ชั่วโมง ปริมาณมูลฝอยที่กําจัดดวยการเผา Gg 0.2 kgCH 4/Ggton47 gN 2O/tonการเผาครั้งคราวตอเนื่อง 24 ชั่วโมง ปริมาณมูลฝอยที่กําจัดดวยการเผา Gg 6 kgCH 4/Ggton41gN 2O/tonการเผานานๆ ครั้งขึ้นอยูกับปริมาณมูลฝอย ปริมาณมูลฝอยที่กําจัดดวยการเผา Gg 60 kgCH 4/Gg‐ ดวยเทคโนโลยี Fluidised bedton56 gN 2O/tonการเผาตอเนื่อง 24 ชั่วโมง ปริมาณมูลฝอยที่กําจัดดวยการเผาton 67 gN 2 O/tonการเผาครั้งคราวตอเนื่อง 24 ชั่วโมง ปริมาณมูลฝอยที่กําจัดดวยการเผาGg 188 kgCH 4 /Ggton68 gN 2 O/ton


ชื่อกิจกรรม ขอมูลกิจกรรม หนวย คาแฟคเตอร2.3 การเผากลางแจง (Open burning) ปริมาณมูลฝอยที่กําจัดดวยการเผา ton 0.08 gN 2O/kg0.1 gCH 4 /kg900 kgCO 2 e/kg2.4 การกําจัดโดยวิธี Biologocal Treatment- การหมักเปนปุย ปริมาณของมูลฝอยอินทรียที่นํามาหมัก kg 4 gCH 4 /kgปริมาณของมูลฝอยอินทรียที่นํามาหมัก kg 0.3gN 2 O/kg-Biogas ปริมาณของขยะอินทรียที่นํามาผลิต Biogas kg 1 gCH 4/kg3. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ3.1 การกําจัดโดยวิธี Autoclaved off-site ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่กําจัด ton 0.243 MT CO 2e /ton3.2 การกําจัดโดยวิธีเผา ดวยเทคโนโลยี Stoker- การเผาครั้งคราวตอเนื่อง 24 ชั่วโมง ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่กําจัด Gg 6kgCH 4/Gg4. การสงมูลฝอยกําจัดภายนอก*กรณีสงมูลฝอยกําจัดภายนอกสถานบริการการสาธารณสุข ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่สงกําจัด ton-km5. การจัดการน้ําเสียจากระบบบําบัด0.0494 kg CO 2e/ton-kmจะตองคิดคาการปลอยกาซเรือนกระจกจากการขนสงดวย คาเฉลี่ยของระยะทางไป-กลับ5.1 น้ําเสียจากระบบบําบัด- Centralized, aerobic treatment plant ปริมาณน้ําเสียเขาระบบ (หนวยเปนลิตร) kg BOD 0.18 kgCH 4/kg BODคา BOD ของน้ําเสีย- Septic system ปริมาณน้ําเสียเขาระบบ (หนวยเปนลิตร) kg BOD 0.30 kg CH 4/kg BODคา BOD ของน้ําเสีย


6. การจัดการสิ่งปฏิกูล (ปสสาวะและอุจจาระ)* กรณีที่สิ่งปฏิกูลไมรวมกับน้ําเสียในระบบบําบัด จํานวนคนทั้งหมดปริมาณสิ่งปฏิกูลเฉลี่ย 2.0 ลิตร/คน/วัน kg BOD 0.42 kg CH 4/kgคา BOD ของสิ่งปฏิกูลเฉลี่ย 154.63mg/LBOD7. พลังงาน7.1 ไฟฟา ปริมาณไฟฟาที่ใช kWh 0.5610kgCO 2e/kWh7.2 น้ําประปา ปริมาณน้ําประปาที่ใช m 3 0.0264kgCO 2e/ m 37.3 กาซหุงตม (LPG) ปริมาณกาซที่ใช MJ 0.0612 kg7.4 น้ํามันเชื้อเพลิง (สําหรับยานพาหนะที่ใชในการเดินทาง)CO 2e/MJ- ดีเซล ปริมาณน้ํามันที่ใช L 3.0 kgCO 2e/L- เบนซิน ปริมาณน้ํามันที่ใช L 2.6 kgCO 2e/L- กาซ LPG ปริมาณกาซที่ใช L 1.8 kgCO 2e/L- กาซ NGV ปริมาณกาซที่ใช L 0.24 kgCO 2e/L8. การโดยสารเครื่องบินชื่อกิจกรรม ขอมูลกิจกรรม หนวย คาแฟคเตอร


ชื่อกิจกรรม ขอมูลกิจกรรม หนวย คาแฟคเตอร‐ ระยะทางนอยกวา 452 กิโลเมตร ระยะทางรวมที่เดินทาง km 0.18 kgCO 2 e/km‐ ระยะทางมากกวา 452 แตนอยกวา 1,600 กิโลเมตร ระยะทางรวมที่เดินทาง km 0.13 kgCO 2 e/km‐ ระยะทางมากกวา 1,600 กิโลเมตร ระยะทางรวมที่เดินทาง km 0.11 kgCO 2 e/km9. สารเคมี9.1 แอลกอฮอล ทําความสะอาด ปริมาณแอลกอฮอลที่ใช kg 1.2600 kgCO 2 e/kg9.2 Nitrous Oxide ปริมาณ Nitrous Oxide ที่ใช kg 0.296 MTCO 2 e/kg9.3 Isoflurane ปริมาณ Isoflurane ที่ใช kg 0.350 MTCO 2 e/kg9.4 Desflurane ปริมาณ Desflurane ที่ใช kg 0.575 MTCO 2 e/kg9.5 Sevoflurane ปริมาณ Sevoflurane ที่ใช kg 1.526 MTCO 2 e/kg10. อื่นๆ10.1 เศษผาทําความสะอาด ปริมาณเศษผาที่ใช kg 2.1100 kgCO 2e/kg10.2 ปุยเคมี- ปุยไนโตรเจน (Fertilizer N) ปริมาณปุยที่ใช kg 2.6000 kgCO 2 e/kg- ปุยฟอสฟอรัส (Fertilizer P) ปริมาณปุยที่ใช kg 0.2520 kgCO 2 e/kg- ปุยโปแตสเซียม (Fertilizer K) ปริมาณปุยที่ใช kg 0.1600 kgCO 2 e/kg- Fertilizer 15-15-15 ปริมาณปุยที่ใช kg 2.0500 kgCO 2 e/kg- Fertilizer 13-13-21 ปริมาณปุยที่ใช kg 1.8100 kgCO 2 e/kg- Fertilizer urea ปริมาณปุยที่ใช kg 5.5300 kgCO 2 e/kg11. ออฟเซ็ต11.1 ตนไม ปลูกตนไมยืนตน ตน ลด 9 kg CO2e/1 tree/year หรือ 1tonตลอดอายุขัย


ตัวอยางการคํานวณ (1)โจทย: ในเดือนตุลาคม 54 สถาบันโรคทรวงอกมีปริมาณขยะมูลฝอยทั่วไปที่ทิ้งโดยเฉลี่ยตอวัน 500กิโลกรัม ถามวาสถาบันจะมีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูชั้นบรรยากาศใน 1 วัน เทากับเทาใดวิธีทํา : ใชสูตร CO 2emission = activity data × emission factorsคา emission factors สําหรับขยะมูลฝอย มีคาเทากับ 1.3 kg CO 2e/kg ขยะแทนคาจะได = 500 kg ขยะ/วัน × 1.3 kgCO 2 e/kg ขยะ= 650 kgCO 2e/วัน หรือต.ย. Scope.1= 19,500 kgCO 2e/เดือน (ตุลาคม)


ตัวอยางการคํานวณ (2)โจทย: ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 สถาบันโรคทรวงอกใช หนวยไฟฟาทั้งสิ้น 500,000 หนวย(kWh) ถามวา สถาบันโรคทรวงอกไดปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูบรรยากาศเปนจํานวนเทาใดวิธีทํา : ใชสูตร CO 2emission = activity data × emission factorsคา emission factors ของการใชไฟฟา มีคาเทากับ 0.5610 kg CO 2e/kWhแทนคาจะได = 500,000 kWh × 0.5610 kg CO 2e/kWh= 280,500 kg CO 2 ตอเดือน (ตุลาคม)ต.ย. Scope.2


ถามตัวเราเองซิวาคาเมื่อตะกี้มัน….เกินไป


ตัวอยางการคํานวณ (3)โจทย: ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 สถาบันโรคทรวงอกจัดใหเจาหนาที่มีการไปดูงานหลายสถานที่โดยอาศัยรถบัส จากการเก็บขอมูลพบวาระยะทางรวมจากการเดินทางเทากับ 3,000 km ถามวา tripsเหลานี้ของสถาบันโรคทรวงอกมีสวนในการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูบรรยากาศเปนจํานวนเทาใดวิธีทํา : ใชสูตร CO 2emission = activity data × emission factorsคา emission factors ของรถบัส (ดีเซล) มีคาเทากับ 105.3 kg CO 2e/100kmแทนคาจะได = 3,000 km × 105.3 kg CO 2e/100km= 3,159 kg CO 2 ตอเดือน (ตุลาคม)ต.ย. Scope.3


ตัวอยางการคํานวณ (4)(การคํานวณที่มีความซับซัอนขึ้น)โจทย: สถาบันโรคทรวงอกมียานพาหนะที่โรงพยาบาลเปนเจาของอยูจํานวน 8 คันโดยมี 4 คันเปนรถที่ใชน้ํามันดีเซล 2 คัน เปนรถที่ใชน้ํามันเบนซิน 2 คัน และเปนรถที่ใชกาซ NGV จํานวน 2 คัน จากขอมูลในเดือน ธันวาคม พ.ศ.2554 พบวา สถาบันใชน้ํามันดีเซลจํานวน 2,500 ลิตร น้ํามันเบนซิน1,000 ลิตร และใชกาซ NGV 500 ลิตร ถามวา ในเดือนธันวาคม 2554สถาบันโรคทรวงอก มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจากการใชเชื้อเพลิงสําหรับยานพาหนะ เปนปริมาณเทาใด


(ตอ)ตัวอยางการคํานวณ (4)วิธีทํา: คํานวณการใชน้ํามันดีเซลactivity data = 2,500 Lemission factors = 3.0 kgCO 2 e/LCO 2 emission = 2,500 L × 3.0 kgCO 2 e/Lคํานวณการใชน้ํามันเบนซิน= 7,500 kgCO 2 eactivity data = 1,000 Lemission factors = 2.6 kgCO 2 e/LCO 2 emission = 1,000 L × 2.6 kgCO 2 e/L= 2,600 kgCO 2 e


(ตอ)ตัวอยางการคํานวณ (4)วิธีทํา: คํานวณการใชกาซ NGVactivity data = 500 Lemission factors = 0.24 kgCO 2 e/LCO 2 emission = 500 L × 0.24 kgCO 2 e/L= 120 kgCO 2 eดังนั้น Total CO 2 emission = 7,500 kgCO 2 e + 2,600 kgCO 2 e +120 kgCO 2 e= 10,220 kgCO 2 e หรือ 10.22 ton CO 2ดังนั้น สรุปไดวา สถาบันโรคทรวงอก มีการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูบรรยากาศจากการใชน้ํามันเชื้อเพลิงในเดือนธันวาคม 2554 เทากับ 10.22 ตัน


คํานวณคา CO 2 Emission ของ ทุกActivity ในแตละ ScopeScopeScope 1Scope 2Scope 3Carbon footprint =CO2Emissionผลรวม


ต.ย. การกําหนดเปาหมายการลด คารบอนฟุตพริ้นทโรงพยาบาลแหงหนึ่ง ในปฐาน มีพนักงาน 80 คนคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทสุทธิไดเทากับ 1552 Metric Ton CO2 eตั้งเปาหมายวาจะลดคารบอนฟุตพริ้นทในปถัดมา ลง 7.0 %ของปฐานพบวามีพนักงานเพิ่มขึ้นเปน 125 คน และคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทสุทธิได 2000 Metric Ton CO2 e


ปจํานวนพนักงาน(คน)เปาหมายตอหัวเปาหมายเปาหมายสุทธิปฐาน 80 19.4 Metric TonCO2 e1552 Metric Ton CO2 eปถัดมา 125 16.0 Metric Ton CO2 e 2000 Metric Ton CO2 eผลตางลด 3.4 Metric TonCO2 e(ลด 17.5%)เพิ่ม 448 Metric TonCO2 e( เพิ่ม 22.4%)


หนวยงานสาธารณสุข ควร1. เปนผูนําในการชี้ใหสังคมเห็นความสําคัญของปญหาการปลอยกาซเรือนกระจกสูสิ่งแวดลอม- นําโรงพยาบาลเขารวมดําเนินการโรงพยาบาลลดโลกรอน- รวมกับองคกรปกครองทองถิ่นและหนวยงานในจังหวัดดําเนินการลดโลกรอน- สนับสนุนการนําโครงการลดโลกรอนเขาสูแผนพัฒนาทองถิ่นและแผนพัฒนาจังหวัด2. ดําเนินการประเมินและลดคารบอนฟุตพริ้นท


3. กําหนดใหมาตรการการประหยัดพลังงานเปนหัวใจของการดําเนินงานขององคกร ที่ทั้งชวยในการประหยัดงบประมาณรายจายและเพิ่มประสิทธิภาพของการดําเนินงานดวย4. สงเสริมใหบุคลากรและชุมชน มีความรูเรื่องโลกรอนและผลกระทบ มีความตระหนักถึงความรับผิดชอบตอสวนรวมในการลดการปลอยกาซเรือนกระจก และรวมกันดําเนินการลดการปลอยกาซเรือนกระจก


สถาบันโรคทรวงอกกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข255325542555 2556116 365 528 UsDon’t throw away the best part of your life:“energy conservation and environmental preserve(lower your carbon footprint)”

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!