12.07.2015 Views

Annual report of the year 2548(646.52 KB)

Annual report of the year 2548(646.52 KB)

Annual report of the year 2548(646.52 KB)

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานประจําป <strong>2548</strong>-----------------------------------------------------------------ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน<strong>Annual</strong> Report 2005Melioidosis Research Center (MRC)Faculty <strong>of</strong> Medicine, Khon Kaen Universityhttp://web.kku.ac.th/~melioid


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส1. ชื่อศูนยวิจัย: ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส(Melioidosis Research Center)Website: http://web.kku.ac.th/~melioidหนวยงานตนสังกัด: (แกนนํา) คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน(เครือขาย) คณะเทคนิคการแพทย คณะทันตแพทยศาสตรคณะสัตวแพทยศาสตร และ สํานักงานปองกันและควบคุมโรคที่ 6ชื่อหัวหนาโครงการและคณะนักวิจัย:คณะที่ปรึกษาโครงการ1. ศาสตราจารยเกียรติคุณ สถิตย สิริสิงห ขาราชการบํานาญ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล2. ศาสตราจารยพิเศษแพทยหญิง วิภาดา เชาวกุล โรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค จ.อุบลราชธานี3. นายแพทย เกรียงศักดิ์ เวทีวุฒาจารย ผูอํานวยการสํานักงานปองกันและควบคุมโรคที่ 6ผูอํานวยการศูนย รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวินตําแหนง รองศาสตรจารยสังกัด ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนสมาชิกศูนยวิจัยชื่อ-สกุล สาขาที่เชี่ยวชาญก. สังกัดคณะแพทยศาสตร1. รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน2. ศ. พญ. ผกากรอง ลุมภิกานนท3. ศ.พญ. เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์4. รศ.นพ. วัลลภ แกวเกษ5. รศ. ดร. ศิริชัย ชัยชนะวงศ6. ผศ.ดร. อัญชลี ตัตตะวะศาสตร7. รศ.ดร. รศนา วงศรัตนชีวิน8. ผศ.พญ. ศิริลักษณ อนันตณัฐศิริ9. ผศ.ดร. โสรัจสิริ เจริญสุดใจ10. ผศ. ฐิติมา ไชยทา11. รศ. ดร. วีรพงศ ลุลิตานนท12. ดร. วิเศษ นามวาท13. รศ. ดร. ชาญณรงค อรัญนารถ14. อ. พิพัฒนพงศ แคนลาข. คณะเทคนิคการแพทย1. ผศ.ดร. ปรีชา หอมจําปา2. ผศ.ดร. ชาญวิทย ลีลายุวัฒนจุลชีววิทยา, วิทยาภูมิคุมกัน, Melioidosisกุมารเวชศาสตร, โรคติดเชื้อในเด็ก, melioidosisอายุรศาสตร, โรคติดเชื้อ melioidosisจุลชีววิทยา, ความไวของเชื้อตอยาจุลชีววิทยา, วิทยาภูมิคุมกันจุลชีววิทยา, แบคทีเรียวิทยา, Drug resistenceจุลชีววิทยา, biotechnology, molecular Biologyอายุรศาสตร, โรคติดเชื้อจุลชีววิทยา, molecular biology, microbial genetiesจุลชีววิทยาจุลชีววิทยา, วิทยาภูมิคุมกันจุลชีววิทยาจุลกายวิภาคจุลกายวิภาคimmunology, molecular biology, vaccinemolecular immunology2


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส3. รศ. อรุณลักษณ ลุลิตานนทจุลชีววิทยา4. ดร.ธนกร ปรุงวิทยาimmunologyค. คณะทันตแพทยศาสตร1. รศ.ดร.ทญ. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษพยาธิวิทยา, bi<strong>of</strong>ilms,2. ผศ.ดร.ทญ.เนาวรัตน วราอัศวปติ เจริญmolecular biologyง. คณะสัตวแพทยศาสตร1. อ.นริศร นางาม สัตวแพทยสาธารณสุขจ. สํานักงานปองกันและควบคุมโรคที่ 6 และสํานักงานสาธารณสุข จ. ขอนแกน1. นางกนกวรรณ แกวปา2. นายเชิดชัย แกวปา3. นายสุพจน สิงหโตหินระบาดวิทยาจุลชีววิทยาจุลชีววิทยาหลักการและเหตุผลเมลิออยโดสิส เปนโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรียแกรมลบรูปแทงที่มีชื่อวา Burkholderiapseudomallei โรคนี้พบไดทั้งในคนและสัตว โดยจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็วและรุนแรง ซึ่งบางครั้งอาจถึงขั้นเสียชีวิตได โดยเฉพาะอยางยิ่งในผูปวยรายที่มีภูมิตานทานต่ํา โรคดังกลาวคนพบครั้งแรกโดยWhitmore และKrishnaswami ในป ค.ศ. 1911 ที่เมืองยางกุง ประเทศพมา (1) เมื่อทําการเพาะเลี้ยงเชื้อครั้งแรกพบวาเปนเชื้อ Bacillus mallei ตอมาไดมีการจัดกลุมเชื้อนี้เสียใหม โดยมีการเรียกชื่อตางกันคือ B.whitmori, Pfeiflerellawhitmori, P.pseudomallei, Actinobacillus pseudomallei, Loefferella whitmore, Malleomycespseudomallei, Pseudomonas pseudomallei (1-5) จนในที่สุดตั้งชื่อเชื้อดังกลาววาเปน Burkholderiapseudomallei ดังที่รูจักในปจจุบัน เชื้อนี้สามารถตรวจพบไดในดิน บอน้ํานิ่ง ตาง ๆ หลุมหรือบอเล็ก ๆ ที่มีน้ําขัง และในนาขาว (6-10) จากการศึกษาในหองปฏิบัติการพบวาเชื ้อนี้สามารถ มีชีวิตอยูไดนานในน้ําประปา(11) การระบาดของโรคนี้พบไดทั่วโลกแตจะพบมากในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต มารดากาสการกวม และ ประเทศออสเตรเลีย (3, 4, 7, 12-21) นอกจากนั้นยังมีรายงานพบโรคนี้กระจัดกระจายในหลายแหงทั่วโลก เชน เกาหลี, ฮองกง, ศรีลังกา, อินเดีย, อิหราน, ตุรกี, อังกฤษ, ฝรั่งเศส, อัฟริกา, อดีตสหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา (3, 6, 22-29) สาเหตุที่โรคนี้ไดรับความสนใจทางการแพทยมากขึ้นเนื่องจากโรคนี้มักเกิดอาการที่รุนแรงอาจทําใหผูปวยเสียชีวิตไดอยางรวดเร็ว ตลอดจนไดมีผูอพยพจากประเทศทางเอเชียตะวันออกเฉียงใตไปสูประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกมากขึ้นทําใหการระบาดของโรคแพรกระจายไปไดงาย โดยที่แพทยในแตละประเทศยังไมมีความชํานาญหรือคุนเคยกับโรคดังกลาว (14, 30-34) นอกจากจะพบโรคนี้ในคนแลวยังสามารถพบไดในสัตวพวก แพะ แกะและหมู แตยังไมมีรายงานวามีการติดตอจากสัตวมาสูคนได(4, 14) จากการรายงานในการประชุมระดับประเทศที่จัดขึ้นในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ.2531 พบวาจํานวนผูปวยโรคนี้มีมากขึ้นทุกป จวบจน ป พ.ศ.2529 มีผูปวยจํานวน 1,000 ราย เมื่อเทียบกับ ป พ.ศ.2506 ซึ่งมีเพียง 3 รายเทานั้น (35) เฉพาะที่โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนพบวามีผูปวยประมาณปละ 60-80 ราย ในปจจุบันนี้ จากการสํารวจอยางไมเปนทางการพบวาจํานวนผูปวยทั้งหมดในประเทศไทยมีประมาณ 2,000-3,000 ราย และเปนประเทศที่มีรายงานโรคนี้มากที่สุดในโลก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศมีรายงานวาพบผูปวยมากที่สุดโดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดขอนแกนจนมีผูตั้งสมยานามวาจังหวัดขอนแกน เปน Capital <strong>of</strong> melioidosis จากจํานวนผูปวยที่มากนี้ทําใหรัฐตองเสีย3


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสคาใชจายในการรักษาปละไมต่ํากวา 150 ลานบาท ซึ่งยังไมนับรวมการสูญเสีย โอกาสทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชนจากสถิติที่กลาวมาแสดงใหเห็นวาจํานวนผูปวยไดถูกพบมากขึ้นซึ่งบงชี้วาแพทยและบุคคลากรทางสาธารณสุขไดเริ่มสนใจและระมัดระวังในการวินิจฉัยโรคนี้มากยิ่งขึ้น จากการสํารวจในประเทศไทยโดยวิธีการตรวจจากระดับแอนติบอดีตอเชื้อ B. pseudomallei โดยวิธี Indirect Hemagglutination พบวา 29%ของประชากรที่ทําการสํารวจ (405 คน) มีแอนติบอดีตอเชื้อนี ้ (36) ในประเทศออสเตรเลียก็ไดมีการสํารวจหาระดับของแอนติบอดีไดเชนกันพบวาประชากรปกติมีระดับแอนติบอดีสูงถึงรอยละ 5.7% (จากประชากรที่สํารวจทั้งหมด 9,047 ราย) (37) แสดงวาทั้งประเทศไทยและออสเตรเลียเปนแหลงที่มีการระบาดของเชื้อนี้อยางมากการติดเชื้อในคนเกิดจากการที่เชื้อผานเขาทางผิวหนังที่มีรอย ขีดขวน ถลอก หรือมีแผล โดยเชื้อนั้นอาจติดมาจากการปนเปอนของดินและน้ําหรืออาจเขาสูรางกายทางการหายใจจากละอองฝุนซึ่งมีเชื้อปนอยู(2, 38) อาการของผูปวยที่เปนโรคนี้ไมแนนอน พบไดหลายแบบมีตั้งแตแบบเฉียบพลัน (acute), เรื้อรัง(chronic) และแบบที่ไมมีอาการแตมีระดับของแอนติบอดีอยู (subclinical infection) ความรุนแรงของโรคที่เปนก็พบไดหลายแบบเชนกันโดยมีตั้งแตรุนแรงมากถึงขั้นเสียชีวิตหรือแบบเปนแผลเรื้อรัง ตลอดจนแบบที่ไมมีอาการแตระดับแอนติบอดีใหผลบวก จากการรายงานผูปวยเมลิออยโดสิส จํานวน 686 ราย พบวา 57.4%มีอาการเปนแบบ septicemic meliodosis (39) และในผูปวยที่เปน septicemia นี้มีอัตราการเสียชีวิตดวยseptic shock สูงถึง 80-90% ถึงแมวาจะไดรับการวินิจฉัยและรักษาอยางถูกตองแลวก็ยังมีอัตราการตายสูงถึง 40% สวนในกรณีที่มีอาการแบบเรื้อรังนั้นอาจมีการลุกลามเขาสูอวัยวะตาง ๆ ไดเชน ปอด ตับ มามไต หัวใจ ตอมน้ําเหลืองและสมอง (3, 16, 20, 25-34, 40-46) แสดงใหเห็นวาโรคเมลิออยโดสิสนี้มีความรุนแรงมากและควรไดรับการสนใจจากวงการแพทยเปนอยางยิ่งปญหาสําคัญอยางหนึ่งที่พบไดบอยในผูปวยเมลิออยโดสิสคือการกลับเปนซ้ํา (relapse) จากการศึกษาของวิภาดา เชาวกุลและคณะ พบวาประมาณ 23% ของผูที่เคยเปนเมลิออยโดสิสจะกลับเปนซ้ําอีกและพบวามีปจจัยที่เกี่ยวของ 2 สวนคือ ความรุนแรงของการติดเชื้อครั้งแรก และวิธีการและชนิดของยาปฏิชีวนะที่ใชรักษา โดยพบวาหากผูปวยที่มีการติดเชื้อครั้งแรกเปน septicemic melioidosis หรือ multifocallocalized melioidosis จะมีโอกาสเปนเมลิออยโดสิสไดมากกวาในผูปวยที่มีการติดเชื้อครั้งแรกเปน localizedmelioidosis ประมาณ 5 เทา (47) นอกจากนี้ Desmarchelier และคณะ ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบสายพันธุของเชื้อ B. pseudomallei ที่แยกไดจากผูปวยที่มีการติดเชื้อมากกวาหนึ่งครั้ง โดยวิธี ribotyping พบวาในผูปวยสวนใหญที่ศึกษา เชื้อ B. pseudomallei ที่แยกไดจากการติดเชื้อครั้งแรก มักเปนเชื้อที่มี ribotypeเดียวกันกับเชื้อที่แยกไดในผูปวยรายเดียวกันเมื่อเปนโรคเมลิออยโดสิสครั้งที่สอง (48)ในปจจุบันโรคเมลิออยโดสิส ยังมีปญหาที่ตองการคําตอบอยูคอนขางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเด็น กลไกการเกิดโรค พยาธิสภาพของโรคที่เกิดจากระบบภูมิคุมกัน การรักษา การดื้อยาของเชื้อ การปองกันโรค virulence ของเชื้อ การวินิจฉัยโรค ตลอดจนการแยกวิเคราะห Strain ของเชื้อมหาวิทยาลัยขอนแกนเปนสถาบันการศึกษาชั้นสูงที่ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนแหลงระบาดของโรคเมลิออยโดสิส ปจจุบันคณาจารยนักวิจัยที่มีความสามารถเฉพาะทางหลายๆ สาขา ทีมีความสนใจที่จะมุงเปนการแกปญหา สาธารณสุขของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดรวมกันจัดตั้งเปนกลุมวิจัยโรคเมลิออยโดสิส (ไดรับการสนับสนุนเงินทุนในการจัดตั้งจากคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน) โดยไดมีการประชุมรวมกันเปนประจําทุกๆ เดือนตั้งแต มิถุนายน 2542 จวบจนปจจุบัน กลุมวิจัยนี้ประกอบดวยอาจารยและนักวิจัยจาก 2 สถาบันการศึกษาคือ มหาวิทยาลัยขอนแกนและมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยขอนแกนจะประกอบดวย อาจารยจาก 4 คณะ คือ คณะแพทยศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร4


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสคณะสัตวแพทยศาสตร และ คณะเทคนิคการแพทย เปาหมายของกลุมคือการรวมระดมความคิดและรวมกันทําวิจัยในประเด็นที่ยังเปนปญหาของโรคเมลิออยโดสิส การสรางองคความรูใหมเพื่อแกปญหา โดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกัน โดยดําเนินการวิจัยในลักษณะบูรณาการ และถายทอดความรูสูชุมชน นอกจากนั้นยังมีการเชื่อมโยงเครีอขายไปยังสถาบันอี่นทั้งในและตางประเทศ ตลอดจนการเผยแพรความรูทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อใหกลุมวิจัยโรคเมลิออยโดสิสไดมีความเขมแข็งมากขึ้น ประกอบกับเพื่อใหกลุมสามารถดําเนินวิจัยในเชิงลึกมากขึ้น มีการใชทรัพยากรตาง ๆรวม ตลอดจนเกิดเครือขายรวมกับสถาบันอื่นทั้งในและตางประเทศมากขึ้น และวิจัยแกปญหาในรูปแบบบูรณาการ เพื่อปองกันการติดเชื้อและแกปญหาตาง ๆ ในการรักษาและการวินิจฉัยตามนโยบายการวิจัยแหงชาติฉบับที่ 6 และนโยบายการวิจัยสูชุมชนของมหาวิทยาลัยขอนแกน กลุมวิจัยโรคเมลิออยโดสิสจึงไดขอสนับสนุนการกอตั้งศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสในมหาวิทยาลัยขอนแกนขึ้นเอกสารอางอิง1. Whitmore A, Krishnasmami CS. An account <strong>of</strong> <strong>the</strong> discovery <strong>of</strong> a hi<strong>the</strong>rto undescribed infective disease occurring among<strong>the</strong> population <strong>of</strong> Rangoon. Indian. Med. Gaz. 1912;47:262-267.2. Sanford JP. Pseudomonas species (including melioidosis and glanders). In: Mandell GL, Douglas RG, Bennett JE,editors. Principles and Practice <strong>of</strong> Infectious Diseases. 2 ed. New york: John Wiley and Sons; 1985. p. 1250-1254.3. Patamasucon P, Schaad UB, Nelson JD. Melioidosis. J.Pediatr. 1982;100:175-182.4. Howe C, Sampath A, Spotnitz M. The Pseudomallei group: a review. J.Infect.Dis. 1971;124:598-606.5. Brown M, Thin RN. Melioidosis in infectious diseases and medical microbiology. Hong Kong: WB Saunders; 1986.6. Chambon L. Isolement du bacille de Whitmore a partir du mileu exterieur. Ann. Inst. Pasteur (Paris) 1955;89:229-235.7. Ellison DW, Baker HJ, Mariappan M. Melioidosis in Malaysia.I. A method for isolation <strong>of</strong> Pseudomonas pseudomallei fromsoil and surface water. Am. J. Trop. Med. Hyg. 1969;18:694-697.8. Strauss JM, Jason S, Marioppen M. Pseudomonas pseudomallei in soil and surface water <strong>of</strong> Sabah, Malaysia. Med. J.Malaya. 1967;22:31-32.9. Strauss JM, Groves MG, Mariappan M, Ellison DW. Melioidosis in Malaysia.II.Distribution <strong>of</strong> Pseudomonas pseudomalleiin soil and surface water. Am. J. Trop. Med. Hyg. 1969;18:698-702.10. Vaucel M. Presence probable du bacille de Whitmore dans leau de mare au Tonkin. Bull. Soc. Path. Exot. 1937;30:10-15.11. Miller WR, Pannell L, Cravitz L, Tanner WA, Ingalls MS. Studies on certain biological characteristics <strong>of</strong> Malleomycesmallei and Malleomyces pseudomallei. I Morphology,cultivation, viability and isolation from contaminated specimens.J. Bact. 1948;55:115-126.12. Merick GS, Zimmerman HM, Maner GD. Melioidosis on Guam. JAMA 1946;130:1063-1067.13. Remington RA. Melioidosis in north Queensland. Med. J. Aust. 1962;1:50-53.14. Rubin HL, Alexander AD, Yager RH. Melioidosis a military medical problem ? Milit. Med. 1963;128:523-542.15. Strauss JM, Alexander AD, Rapmund G, Gan E, Dorsey AE. Melioidosis in Malaysia, III. Antibodies to Pseudomonaspseudomallei in <strong>the</strong> human pouplation. Am. J. Trop. Med. Hyg. 1969;18:703-707.16. Thin RN, Brown M, Stewart JB, Garrett CJ. Melioidosis: a <strong>report</strong> <strong>of</strong> ten cases. Quarterly J. Med. 1970;39:115-127.17. Johnson DW. Melioidosis: <strong>report</strong> <strong>of</strong> four cases from Torres Strait. Med.J.Aust. 1967;2:587-588.18. National Workshop on Melioidosis organized by <strong>the</strong> Infectious Disease Association <strong>of</strong> Thailand. In:; 1985; AmbassadorHotel, Bangkok, Thailand, November 23-24,; 1985.19. Atthasampunna P, Jayanetra P, Kurathong S, Punyagupta S. Melioidosis : a rare disease for Thai patients ? Thai. med.Council. Bull. 1976;5:419-423.20. Guard RW, Khafagi FA, Brigden MC, Ashdown LR. Melioidosis in Far North Queensland. A clinical and epidemiologicalreview <strong>of</strong> twenty cases. Am.J.Trop.Med.Hyg. 1984;33:467-473.21. Lee MK, Chua CT. Brain abscess due to Pseudomonas pseudomallei. Aust.N.Z.J.Med. 1986;16:75-77.22. Biegeleisen JZJ, Mosquera R, Cherry WB. A case <strong>of</strong> human melioidosis : clinical epidemiological and laboratoryfindings. Am. J. Trop. Med. 1964;13:89-99.5


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสหนาที่และองคประกอบของหนวยงาน1. หนวยงานวิจัยประกอบดวยหนวยยอย 5 หนวย ดังนี้1.1. หนวยวิจัยดานคลินิค ประกอบดวยกลุมวิจัยที่ทํางานเกี่ยวกับการดูแลรักษาผูปวยโรคเมลิออยโดสิสหรือโรคติดเชื้อที่สําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนืองานวิจัยจะครอบคลุมถึงการหาวิธีใหม ๆ ในการรักษา การดูแลผูปวยการศึกษาอาการหรือพยาธิสภาพที่ไดจากผูปวยเพื่อเปนแนวทางในการศึกษา1.2. หนวยวิจัยดานแบคทีเรียวิทยา ประกอบดวย กลุมนักวิจัยที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตัวเชื้อแบคทีเรียที่กอโรค กลไกของเชื้อในการทําใหเกิดโรค virulent ของเชื้อ ตลอดจนการทําmutant ของเชื้อ เพื่อศึกษาการเกิดพยาธิสภาพในสัตวทดลอง1.3. หนวยวิจัยดานการปองกันโรค ประกอบดวย กลุมนักวิจัยที่ทําการศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางในการปองกันโรค เชน การพัฒนาวัคซีน การพัฒนาวิธีหรือกลวิธีในการกําจัดเชื้อในธรรมชาติ รวมถึงการใหความรูแกประชาชนองคกรตาง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือสัมผัสเชื้อกอโรค1.4. หนวยวิจัยดานระบาดวิทยา ประกอบดวย กลุมนักวิจัยที่ทําการศึกษาเกี่ยวกับระบาดวิทยาของเชื้อกอโรคในธรรมชาติและในผูปวยดวยวิธีทาง molecular biology หรือวิธีอื่นๆ ที่จะทําใหทราบวาเชื้อในธรรมชาติและผูปวยมีความแตกตางกันอยางไร เพื่อคนหาวิธีในการควบคุมโรคและปองกันโรคตอไป1.5. หนวยวิจัยดานการพัฒนาการวินิจฉัยโรค ประกอบดวยกลุมนักวิจัยที่ทําการศึกษาเพื่อหาวิธีพัฒนาการวินิจฉัยโรคที่รวดเร็วและแมนยํา เพื่อชวยลดอัตราการเสียชีวิตของผูปวยโดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวยที่ติดเชื้อในกระแสเลือดหนวยสนับสนุน ประกอบดวยหนวยยอยตาง ๆ 4 หนวยดังนี้2.1 หนวยเลขานุการ ทําหนาที่ผูชวยเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ตลอดจนการสนับสนุนดานธุรการแกนักวิจัย โดยมีพนักงานประจําสํานักงานและยังทํางานดานสารบรรณธุรการ การเงินการพัสดุ2.2 หนวยสารสนเทศทําหนาที่รวบรวมขอมูล ทําฐานขอมูล วิเคราะหขอมูลประชาสัมพันธศูนยโดยผานระบบสารสนเทศ ประสานงานทุนวิจัย เพื่อสนับสนุนจัดหางบประมาณการวิจัยและการเงินแกนักวิจัยในเครือขายของศูนย ตลอดจนทําหนาที่ประสานกับหนวยงานเลขานุการในการจัดอบรมใหความรู ถายทอดความรูใหม ๆ แกนักวิจัยประชาชนทั่วไปและองคการตาง ๆ2.3 หนวยหองปฏิบัติการ ทํางานดานหองปฏิบัติการ ในสวนกลางที่สนับสนุนเครือขาย การวิจัย เชน การเก็บเชื้อ การผลิต monoclonal antibodies การเก็บตัวอยาง2.4 หนวยวิจัยดานคลินิก ทํางานดานประสานงานการวิจัยดานคลินิก เชนการนัดผูปวย การตรวจสอบประวัติผูปวย การติดตามผูปวย ตลอดจนการประเมินการวิจัย8


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสกรรมการตางๆของศูนยมีดังนี้ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส1. คณะกรรมการอํานวยการศูนยผศ. นพ. สุชาติ อารีมิตรคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนประธานกรรมการศ.นพ.ภิเศก ลุมภิกานนท กรรมการ(ผูทรงคุณวุฒิ)ศ.นพ.ปยทัศน ทัศนาวิวัฒนกรรมการ (ผูทรงคุณวุฒิ)นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์(เลขานุการมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ)กรรมการ (ผูทรงคุณวุฒิภายนอก)รศ.นพ.ประสิทธ ผลิตผลการพิมพ(รองผูอํานวยการศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ)กรรมการ (ผูทรงคุณวุฒิภายนอก)รศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชิวินผูอํานวยการศูนยวิจัยกรรมการและเลขานุการ 9ผศ.ดร.โสรัจสิริ เจริญสุดใจเลขานุการศูนยวิจัยกรรมการและผูชวยเลขานุการ


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. คณะกรรมการบริหารศูนยฯศ.(พิเศษ) พญ.วิภาดา เชาวกุล ที่ปรึกษาศ.เกียรติคุณ ดร.สถิตย สิริสิงห ที่ปรึกษานพ.เกรียงศักดิ์ เวทีวุฒาจารย ที่ปรึกษารศ.ดร.สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ประธานกรรมการ(ผูอํานวยการศูนยฯ))ศ.พญ.เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์ กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยดานคลีนิค)รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยระบาดวิทยา)ผศ.ดร.ปรีชา หอมจําปา กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยดานการปองกันโรค)10


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสรศ.ดร.สุวิมล ทวีชัยศุภพงศ กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยแบคทีเรีย)ผศ.ดร.อัญชลี ตัตตะวะศาสตร กรรมการ(รองผูอํานวยการฝายวิจัยและพัฒนาการวินิจฉัยโรค)ผศ.ดร.โสรัจสิริ เจริญสุดใจ กรรมการและเลขานุการ(เลขานุการผูอํานวยการศูนยฯ)เจาหนาที่ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสผูจัดการศูนยฯ นางสาวกุลวรา พูลผลนักวิจัยศูนยฯ นางสาว สุวรรณา นนทะภานักวิจัยศูนยฯ นางสาว นภาพิศ สังสีโหการเงิน บัญชี ผูชวยเลขานุการ นางสาว ทัศมาลี ขุลีทัศมาลี กุลวรา นภาพิศ สุวรรณา11


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสวิสัยทัศน (Vision) พันธกิจ (Mission) ของศูนยวิจัยวิสัยทัศนมหาวิทยาลัยขอนแกนเปนศูนยแหงการวิจัยและการเรียนรูโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้อสําคัญทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือผลิดผลงานวิจัย ฐานขอมูลการเรียนรู การเผยแพรอยางเปนระบบครบวงจรสรางความเขมแข็งในการแขงขันดานองคความรูพันธกิจ1. สรางผลงานวิจัยโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีศักยภาพในการสรางองคความรูใหม2. สนับสนุนใหนักวิจัยในศูนยมีความเขมแข็งสรางผลงานวิจัยอยางตอเนื่อง3. ตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยเกี่ยวกับโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้อที่สําคัญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งในวารสารนานาชาติและวารสารระดับชาติ4. เปนแหลงขอมูลความรูโรคเมลิออยโดสิส5. สรางระบบเชื่อมโยงเครือขายงานวิจัยของแตละหนวยยอยไปสูสถาบันอื่นทั้งในประเทศและตางประเทศ6. สนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในหลักสูตรตางๆ ที่เกี่ยวของใหทําการวิจัยและมีความเชี่ยวชาญโรคเมลิออยโดสิส7. เปนศูนยกลางการถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีที่นักวิจัยในศูนยสรางขึ้นหรือที่รวบรวมจากแหลงอื่นในระดับภูมิภาคใหแกหนวยงานของรัฐและเอกชนตลอดจนประชาชนทั่วไปเปาหมาย วัตถุประสงคและแผนกลยุทธเปาหมาย1. ใหมหาวิทยาลัยขอนแกนเปนศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ2. ดําเนินการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการวิจัยโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพเพื่อการสนับสนุนดานงบประมาณงานวิจัยอยางยิ่ง3. สรางความรวมมือกับนักวิชาการในหนวยงานอื่นทั้งในประเทศและตางประเทศ4. พัฒนาดานวิจัยรวมแบบเครือขายบูรณาการระหวางสถานบัน5. ใหเปนศูนยถายทอด เผยแพรความรูโรคเมลิออยโดสิสและโรคติดเชื้ออื่นที่เปนปญหาสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือวัตถุประสงค1. เพื่อจัดตั้งศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส2. เพื่อใหเกิดการใชทรัพยากรและดําเนินงานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพของบุคคลากรในมหาวิทยาลัยขอนแกน3. เพื่อสนับสนุนใหเกิดผลงานวิจัยโรคเมลิออยโดสิสในแงประเด็นตาง ๆ ที่สําคัญโดยวิจัยในรูปแบบบูรณาการและสรางเครือขายการวิจัยอยางเปนระบบ12


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส4. เพื่อสนับสนุนใหเกิดการนําผลงานวิจัยของบุคคลากรไปพัฒนาและนําไปใชใหเปนประโยชนตอประชาชนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ5. เพื่อใหเกิดการสรางองคความรูใหม และ ถายทอดองคความรูที่เกิดในศูนยวิจัยสูการเรียนการสอนในระดับตาง ๆ ทั้งภาคปฏิบัติและการบรรยายอบรมทั้งระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา6. เพื่อใหเกิดการถายทอดองคความรู แกประชาชนและชุมชนในทองถิ่นแผนกลยุทธเพื่อใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคดังที่กลาวมาศูนยวิจัยที่ตั้งขึ้นจะมีกลยุทธดังตอไปนี้1. จัดใหมีศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสเพื่อประสานและสนับสนุนหนวยวิจัยยอยใหเกิดความเชื่อมโยงกันทั้งดานทรัพยากรวิจัยและศักยภาพการวิจัย2. สรางการเชื่อมโยงดวยกลไกการประชุม เสวนา สัมมนา และการสื่อสารอิเลคโทรนิกส เพื่อกําหนดทิศทาง เปาหมาย และแผนกลยุทธดานการวิจัย การพัฒนาบัณฑิตศึกษา การรวบรวมขอมูลการวิจัยตลอดจนการเผยแพรและการถายทอดความรูรวมกัน3. จัดทําแผนการดําเนินงาน ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยใหทุกคนมีสวนรวมและเปนแผนงานที่สามารถตรวจสอบและประเมินผลได4. สนับสนุนหนวยวิจัยตาง ๆ ใหมีอิสระในการวิจัยตามศักยภาพและทรัพยากรที่มีหรือที่จัดหามาได ตามแผนที่กําหนด ตลอดจนสนับสนุนการประสานความรวมมือกับสถาบันอื่นและการขอทุนวิจัยอื่นเพื่อสรางความเขมแข็งเปาหมายการผลิตและตัวชี้วัด ในระยะ 5 ป (<strong>2548</strong>-2552)ผลผลิตจํานวนนักวิจัยในเครือขาย (คน)ป ป ป ป ป<strong>2548</strong> 2549 2550 2551 2552 รวม26 +3 +4 +5 +543จํานวนนักวิจัยในเครือขายนอกมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศ 5 +3 +4 +5 +5และตางประเทศ (คน)17นักศึกษาปริญญาโท (คน) 4 3 5 3 5 20นักศึกษาปริญญาเอก (คน) 2 2 3 3 3 13นักวิจัยหลังปริญญาเอก (คน) - - - - 1 1ผลงานตีพิมพในวารสารวิชาการนานาชาติ (เรื่อง) 2 2 3 4 7 18ผลงานตีพิมพในวารสารวิชาการภายในประเทศ(เรื่อง) - 2 2 2 2 8สิทธิบัตร / ลิขสิทธิ์ (ฉบับ) - - - - - -การเสนอผลงานประชุมวิชาการนานาชาติ (เรื่อง) 1 7 2 3 4 17การเสนอผลงานประชุมวิชาการภายในประเทศ(เรื่อง) 2 2 2 4 4 14การจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ (ครั้ง) - - 1 - - 1การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (ครั้ง) 1 1 1 1 1 5การจัดประชุมวิชาการ (ครั้ง) 1 1 1 1 1 5การเผยแพรผลงานวิชาการหรือการถายทอดเทคโนโลยีสู - 1 1 1 1 413


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสชุมชน (ครั้ง)3. สรุปผลการดําเนินงานตั้งแตจัดตั้งจนถึงสิ้นปงบประมาณ 2547 (30 กันยายน 2547)ไมมี เนื่องจากศูนยจัดตั้งขึ้นในปงบประมาณ <strong>2548</strong>4. สรุปผลการดําเนินงานในปงบประมาณ <strong>2548</strong> (1 ตุลาคม 2547-30 กันยายน <strong>2548</strong>)4.1 ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด (KPI) จนถึง 30 กันยายน <strong>2548</strong>เปาหมายการผลิตและตัวชี้วัด ระยะเวลา 1 ป (<strong>2548</strong>)ผลผลิต เปาหมาย ผลสําเร็จ หมายเหตุ1) การตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ 3 3(เรื่อง)2) นวัตกรรม, ทรัพยสินทางปญญา, เทคโนโลยีใหม, 0 0สิ่งประดิษฐตนแบบ (เรื่อง)3) จํานวนทุนภายนอกที่ไดรับการสนับสนุน (ลานบาท) 9.604) การตีพิมพในวารสารวิชาการภายในประเทศ(เรื่อง) 2 25) การนําเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับ 4 4นานาชาติ (เรื่อง)6) การนําเสนอผลงานในประชุมวิชาการภายในประเทศ 2 2(เรื่อง)7) จํานวนอาจารย / นักศึกษาบัณฑิตที่เพิ่มขึ้นภายใต 5 12ศูนย (คน)8) การถายทอดเทคโนโลยี การใหบริการวิชาการของ 1 390ศูนย (ครั้ง-คน-วัน)9) การจัดประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ (ครั้ง) 0 010) การจัดประชุมสัมมนาระดับชาติ (ครั้ง) 1 1ทุนวิจัยจากหนวยงานภายนอก รวมทั้งสิ้นเปนเงิน 9, 601,000 บาท1. ชื่อโครงการ กลไกการเกิดโรคในระดับโมเลกุลและการหาแนวทางปองกัน ตอการติดเชื้อBurkholderia pseudomallei ไดรับทุนจาก สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ระยะเวลาของโครงการ 3 ป งบประมาณรวม3,951,000 บาท หัวหนาโครงการ รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน2. ชื่อโครงการ การศึกษาระบาดวิทยาทางโมเลกุลของเชื้อ pathogenic Leptospira interrogans ที่แยกไดจากผูปวยในประเทศไทย ไดรับทุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และ สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาติ ระยะเวลาของโครงการ 3 ป งบประมาณรวม 1,190,000บาท หัวหนาโครงการ รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน14


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส3. ทุนปริญญาเอกกาญจนภิเษก (คปก.) จํานวน 2 ทุนๆ ละ 2, 230,000 บาทการดําเนินงานของศูนยในรอบปที่ผานมาในดานตางๆ1. การสรางบัณฑิตศึกษาตารางที่ 1 แผนดําเนินการดานบัณฑิตศึกษาหลักสูตร1. สหสาขา1.1 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ชีวเวชศาสตร)1.2 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีวเวชศาสตร)2. คณะแพทยศาสตร2.1 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(จุลชีววิทยาทางการแพทย)2.2 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(จุลชีววิทยาทางการแพทย)2.3 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ชีวเคมีทางการแพทย)2.4 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ชีวเคมีทางการแพทย)3. คณะเทคนิคการแพทย1.1 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาศาสตรการแพทย)จํานวนนักศึกษาปจจุบันที่วิจัยเกี่ยวกับโรคเมลิออยโดสิส (<strong>2548</strong>)-2131--จํานวนคาดวาจะรับเขาในแตละปการศึกษา2549 2550 2551 2552 2553- - 1 1 12 1 1 1 13 - 3 - 3- 1 - 2 21 1 - 1 -1 - 1 - 1- 1 1 1 1ในรอบปที่ผานมาศูนยไดรับนักศึกษาในระดับบัณฑิต ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก จํานวนทั้งสิ้น 7 คนในหลักสูตรตางๆดังนี้หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย จํานวน 3 คน คือนางสาว อภิชญา พวงเพ็ชรนางสาว ธนัชพร บาตรโพธิ์นาย ชาคริต สวัสดิดลหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาชีวเวชศาสตร จํานวน 2 คน คือนางสาว ภาวนา พนมเขตนางสาวจิรารัตน สองสีหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย จํานวน 1 คน คือ15


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสนางสาว อรัญญา ผิวเกลี้ยงหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาชีวเคมีทางการแพทย จํานวน 1 คน คือนายไพรัช โรยรสจํานวนนักวิจัยหนาใหมที่เขารวม 4 ทาน• รศ. ศิริชัย ชัยชนะวงศ• รศ ฑิฆัมพร กุยยกานนท• นาย ประจวบ ชัยมณี• ผศ. ดรุณ โกฏิมนัสวนิชย2. ดานการวิจัยและการหาทุนวิจัยศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสมุงเนนใหเกิดการพัฒนางานวิจัยเพื่อแกปญหาโรคเมลิออยโดสิสเปนสําคัญและจะขยายงานไปสูโรคติดเชื้ออื่น ๆ ที่สําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยอาศัยเทคโนโลยีองคความรูที่ไดจากการวิจัยโรคเมลิออยโดสิส การวิจัยที่จะดําเนินการบริหารจัดการภายในศูนยจะมุงเนนงานวิจัยเชิงบูรณาการโดยไมเพียงแตจะอาศัยศูนยวิจัยของมหาวิทยาลัยขอนแกนแตจะสรางเครือขายความรวมมือกับสถาบันวิจัยอื่นทั้งในและตางประเทศ เชน มหาวิทยาลัยมหิดล, wellcome Research Unitและกระทรวงสาธารณสุข ศูนยไดกําหนดกิจกรรมดานการวิจัยโดยมุงเนนประเด็นที่สําคัญดังนี้ก. การวิจัยและพัฒนาวิธีการรักษาโรคที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นทั้งการรักษาเฉพาะโดยใชยาตานจุลชีพ และการรักษาเสริมดวยวิธีอื่นข. การวิจัยเพื่อพัฒนาการปองกันโรคเพื่อใหประชาชนปลอดภัยจากการไดรับเชื้อโรค โดยใชกลยุทธในการวิจัยและพัฒนามาตรการเครื่องมือหรือ เทคโนโลยีทําลายเชื้อที่มีอยูในดิน หรือปรับเปลี่ยน virulence ของเชื้อตลอดจนการพัฒนาวัคซีนปองกันโรคค. การวิจัยเพื่อพัฒนาการวินิจฉัยโรคที่รวดเร็วและแมนยําเพื่อการรักษาที่ถูกตอง ลดอัตราการเสียชีวิตของผูปวยง. การวิจัยเพื่อศึกษาตัวเชื้อแบคทีเรีย กลไกการกอโรค ภูมิตานทานตอโรค สวนของเชื้อที่เกี่ยวของกับ virulence โดยองคความรูที่ไดจะเชื่อมโยงไปยังการวิจัยการพัฒนาการรักษาการปองกันโรค (ขอ ก และ ข)จ. การวิจัยเพื่อศึกษา ระบาดวิทยาของชนิดของเชื้อในสิ่งแวดลอม เพื่อเปนขอมูลในการหามาตรการปองกันการสัมผัสโรค หรือหาเทคโนโลยีในการทําลายเชื้อ (ขอ ข)ศูนยวิจัยไดดําเนินการหาทุนวิจัยโดยไดมีการสรางเครือขายความรวมมือกับสถาบันอื่นๆหลายแหงและไดดําเนินการวิจัยอยูจํานวนทั้งสิ้น 11 โครงการ ดังนี้1. กลไกการเกิดโรค ในระดับโมเลกุล และ การหาแนวทางปองกัน ตอการติดเชื้อBurkholderia pseudomallei ไดรับทุนจาก สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ระยะเวลาของโครงการ 3ป งบประมาณรวม 3,951,000 บาท หัวหนาโครงการ รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวินภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน2. การศึกษาระบาดวิทยาทางโมเลกุลของเชื้อ pathogenic Leptospira interrogans ที่แยกไดจากผูปวยในประเทศไทย ไดรับทุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และ16


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาติ ระยะเวลาของโครงการ 3 ป งบประมาณรวม 1,190,000 บาท หัวหนาโครงการ รศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน3. การศึกษาระบาดวิทยาของเชื้อ Burkholderia pseudomallei ในดินและสิ่งแวดลอมเพื่อหาวิธีการควบคุมการระบาดของโรค4. การสราง bi<strong>of</strong>ilm mutant ของเชื้อ Burkholderia pseudomallei เพื่อการศึกษากลไกการเกิดโรค5. การผลิตวัคซีนตอโรคเมลิออยโดสิส โดยใชเชื้อ Burkholderia pseudomallei Pan Cmutant6. การสราง Shuttle vector สําหรับการถายยีนสจากเชื้อ E. coli ไปสูเชื้อ Burkholderiapseudomallei7. การศึกษาผลของแคปซูลของ B. pseudomallei ตอเซลลเยื่อบุผิวมนุษยที่ติดเชื้อ8. การศึกษาหาวิธีการรักษาโดยใช สเตียรอยด เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะ septic shockจาก โรคเมลิออยโดสิสในหนูทดลอง9. การหาความสัมพันธุระหวางการสราง bi<strong>of</strong>ilm ของเชื้อ B. pseudomallei กับการดื้อตอยาปฏิชีวนะ10. การศึกษาแบบแผนการแสดงออกของจีน Burkholderia pseudomallei ในหนูทดลอง11. การศึกษาประสิทธิภาพระหวางการใชยา cotrimoxazole ชนิดเดียวและการใชยาcotrimoxazole รวมกับ doxycycline ในการรักษาผูปวยโรคเมลิออยโดสิสในระยะการรักษาตอเนื่องหมายเหตุ โดยโครงการที่ 3 กําลังอยูในระหวางการพัฒนาเปน proposal เพื่อขอทุนจาก NIH, USA โดยมีความรวมมือกับ Pr<strong>of</strong>: Paul Keim, Nor<strong>the</strong>rn Arizona University, USAสวนโครงการที่ 10 เปนโครงการความรวมมือกับ Dr. Adel M. Talaat, University <strong>of</strong> Wisonsin,Madison, USA.โครงการที่ 1 มีความรวมมือกับ มหาวิทยาลัยมหิดลโครงการที่ 2 มีความรวมมือกับ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยนเรศวร และ WelcomeResearch Unitโครงการที่ 11 มีความรวมมือกับ Welcome Research Unit ในงบประมาณ 3 ลานบาท และกําลังดําเนินการขอการสนับสนุนจากฝายวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแกน และ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจํานวนเงินทั้งสิ้นอี 3 ลานบาทนอกจากนี้ยังมีโครงการวิจัยอื่นๆที่มิไดระบุไวในที่นี้ 13 โครงการ อยูในระหวางการขอการสนับสนุนงบประมาณจาก สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาติ ในรูปแบบการจัดตั้งเปนNational Excellent Center in Medical Biotechnology และกําลังอยูในระหวางการพิจารณาจากสถาบันคลังสมองของชาติ โดยดําเนินการรวมกับมหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในวงเงินงบประมาณ 600 ลานบาทใน 5 ป17


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสผลงานวิจัยในปที่ผานมามีผลงานตีพิมพระดับนานานชาติ 3 เรื่อง1. Wongratanacheewin, S., Kespichayawattana, W., Intachote, P., Pichayangkul, S,Sermswan, RW., Krieg, AM and Sirisinha, S. 2004. Immunostimulatory CpGoligodeoxynucleotide confers protection in a murine model <strong>of</strong> infection with Burkholderiapseudomallei. Infect. Immun. 72, 4494-4502. Impact factor =2. Taweechaisupapong, S., Kaewpa, C., Arunyanart, C., Kanla, P., Homchampa, P., StitayaSirisinha, S., Proungvitaya, T. and Wongratanacheewin, S. 2005. Virulence <strong>of</strong> Burkholderiapseudomallei does not correlate with bi<strong>of</strong>ilm formation. Microb Pathog. 39, 77-83. Impactfactor =3. Wirongrong Chierakul Siriluck Anunnatsiri Jennifer M. Short Bina Maharjan PiroonMootsikapun Andrew J. H. Simpson Direk Limmathurotsakul Allen C. Cheng KasiaStepniewska Paul N. Newton Wipada Chaowagul, Nicholas J. White, Sharon J. Peacock,Nicholas P. Day and Ploenchan Chetchotisakd. 2005. Two Randomized Controlled Trials <strong>of</strong>Ceftazidime Alone versus Ceftazidime in Combination with Trimethoprim-Sulfamethoxazolefor <strong>the</strong> Treatment <strong>of</strong> Severe Melioidosis. Clin Infect Dis (in press). Impact factor =ผลงานตีพิมพระดับชาติ 2 เรื่องการนําเสนอผลงานในระดับชาติ และนานานชาติระดับนานาชาติ 4 เรื่อง1. Development <strong>of</strong> immune protection in a murine model <strong>of</strong> infection with Burkholderiapseudomallei ในการประชุม The 17 th FAOBMB Symposium / 2 nd IUBMB SpecialMeeting /A-IMBN Meeting Genomics and Health in <strong>the</strong> 21 st Century, 22-26 Nov 2004.2. PATHOLOGY AND IMMUNE RESPONSES IN HAMSTER IMMUNIZED WITH HEAT-KILLED LEPTOSPIRA INTERROGANS. R.W. Sermswan, A. Srikram, S.Wongratanacheewin, A. Puapairoj and V. Wuthiekanun. The Third Congress <strong>of</strong> <strong>the</strong>Federation <strong>of</strong> Immunology Societies <strong>of</strong> Asia-Oceania (FIMSA 2005). April, 18-22, 2005.Hangzhou, China.3. CYTOKINES PROFILE IN HAMSTERS IMMUNIZED AGAINST OPISTHORCHISVIVERRINI INFECTION. S. Wongratanacheewin, J. Jittimanee, R. W. Sermswan, andW. Maleewong. The Third Congress <strong>of</strong> <strong>the</strong> Federation <strong>of</strong> Immunology Societies <strong>of</strong>Asia-Oceania (FIMSA 2005). April, 18-22, 2005. Hangzhou, China.4. The ability <strong>of</strong> bi<strong>of</strong>ilm formation does not influence virulence <strong>of</strong> Burkholderiapseudomallei in mice. Taweechaisupapong, S., Kaewpa, C., Arunyanart, C., Kanla, P.,Homchampa, P., Stitaya Sirisinha, S., Proungvitaya, T. and Wongratanacheewin, S.The world congress <strong>of</strong> pathology and laboratory medicine. 26-30 May, 2005. Istanbul,Turkey.18


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสระดับชาติ 2 เรื่อง1. The Effects <strong>of</strong> Bi<strong>of</strong>ilm Producing Burkholderia pseudomallei on Human Monocytic andEpi<strong>the</strong>lial Cell Lines Burkholderia pseudomallei. Khosit Pinmai, Sorujsiri Chareonsudjai,Viraphong Lulitanond, Surasakdi Wongratanacheewin, Chariya Hahnvajanawong. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ ครั้งที่ 7 วันศุกรที่ 21 มกราคม <strong>2548</strong> ณ อาคารศูนยวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน2. Construction and Phenotypic Characterization <strong>of</strong> an AroC Mutant <strong>of</strong> Burkholderiapseudomallei and Its Potential as a Vaccine Candidate. Mayuree Srilunchang, PreechaHomchampa, Tanakorn Proungvitaya, Surasakdi Wongratanacheewin. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิทยานิพนธ ครั้งที่ 7 วันศุกรที่ 21 มกราคม <strong>2548</strong> ณ อาคารศูนยวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแกนนอกจากนี้ศูนยวิจัยยังมี manuscript ที่อยูในระหวางการพิจารณาตีพิมพในวารสารนานาชาติอีก 4เรื่อง (submitted) และกําลังเตรียม manuscript อีก 2 เรื่อง3. ดานการสรางความรวมมือกับสถาบันอื่นทั้งในและตางประเทศศูนยวิจัยไดตั้งปณิธานแนวแนในการสรางเครือขายเชื่อมโยงกับสถาบันอื่นทั้งในและตางประเทศ ศูนยไดเริ่มสรางเครือขายครั้งแรกในการประชุมรวมกับ นักวิจัยใน มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีผูเขารวมประชุมจากศูนยวิจัยและ มหาวิทยาลัยนเรศวรดังนี้ผูที่เขารวมประชุมเครือขายวิจัยโรคเมลิออยโดสิสวันศุกรที่ 8 ตุลาคม 2457สถานที่ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดลเวลา 12:00-16:30 น.รายชื่อ สังกัด e-mail1. ศ. (เกียรติคุณ) ดร. สถิตย สิริสิงห มหาวิทยาลัยมหิดล scssr@mahidol.ac.th2. รศ.ดร. สุรศักดิ์ วงศรัตนชีวิน มหาวิทยาลัยขอนแกน sura_wng@kku.ac.th3. รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน มหาวิทยาลัยขอนแกน rasana@kku.ac.th4. รศ.ดร.สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ มหาวิทยาลัยขอนแกน suvi_taw@kku.ac.th5. ผศ.ดร.ปรีชา หอมจําปา มหาวิทยาลัยขอนแกน preecha@kku.ac.th6. รศ.พญ.เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแกน ploencha@kku.ac.th7. ดร. พงษศักดิ์ อุทัยสินธุเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล scput@mahidol.ac.th8. อ.จริยา สุนทรานนทไพบูลย จุฬาลงกรณ9. รศ.นพ.มงคล คุณากรณ มหาวิทยาลัยมหิดล ramkn@mahidol.ac.th10. อ.นริศร นางาม มหาวิทยาลัยขอนแกน narnan@kku.ac.th11. อ.นพ.ภัทรชัย กีรติสิน มหาวิทยาลัยมหิดล sipkr@mahidol.ac.th12. อ.วรรณพร วุฒิเอกอนันต Welcome unit lek@tropmedres.ac13. คุณนริศรา จันทราทิตย Welcome unit narisara@tropmedres.ac14. อ.พิทักษ สันตนิรันทร มหาวิทยาลัยมหิดล psantanirand@hotmail.com15. ผศ.ดร.พรรณนิกา เนียมทรัพย มหาวิทยาลัยนเรศวร pannikan@nu.ac.th19


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส16. ผศ.ดร.อัญชลี ตัตตะวะศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน unchalee@kku.ac.thนอกจากนี้แลวไดมีการสรางเครือขายโดยประชุมรวมกับ นักวิจัยจากหนวยวิจัย Welcome ถึง 4 ครั้ง ที่มหาวิทยาลัยขอนแกน โดย ประชุมรวมกับ Dr. Nick Day, Dr Sharon Peacock ทําใหเกิดโครงการวิจัยรวมกับดังโครงการที่ 11 ที่กลาวมาศูนยวิจัยไดไปสรางเครือขายนอกประเทศที่ USA เพื่อทํางานวิจัยรวมกันโดยทาง University <strong>of</strong> Nor<strong>the</strong>rnArizona (UNA) ไดเชิญเขารวมประชุมและแลกเปลี่ยนงานวิจัย โดยศูนยไดให รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน เดินทางเขารวมประชุม โดยทาง UNA เปนผูออกคาใชจายในการเดินทางและคาที่พัก ทําใหเราไดรวมกันเขียนโครงการวิจัยการพัฒนาเปน proposal เพื่อขอทุนจาก NIH, USA โดยมีความรวมมือกับ Pr<strong>of</strong>. Paul Keim,Nor<strong>the</strong>rn Arizona University, USA ขณะนี้อยูระหวางการรอผลการพิจารณาและในระหวางการเดินทางไปNor<strong>the</strong>rn Arizona University, USA รศ.ดร.รศนา วงศรัตนชีวิน ไดแวะเยี่ยมและรวมพัฒนาเปนโครงการความรวมมือกับ Dr. Adel M. Talaat, University <strong>of</strong> Wisonsin, Madison, USA. ซึ่งเราจะศึกษาดาน geneexpression pr<strong>of</strong>ile ของเชื้อ B. pseudomallei และสงนักศึกษาระดับปริญญาเอกของศูนยไปทําวิจัยรวมกับDr. Adel M. Talaat นับเปนความสําเร็จที่ยิงใหญที่จะทําใหศูนยมีเครือขายงานวิจัยทั่วโลก ซึ่งในปจจุบันศูนยมีเครือขายงานวิจัยอยูแลวที่ University <strong>of</strong> Guelph, Ontario, Canada โดยมีนักศึกษาปริญญาเอกของศูนยเพิ่งกลับจากการทําวิจัยรวมที่มหาวิทยาลัยดังกลาว และขณะนี้ มีนักศึกษาอี 1 คน ที่กําลังทําวิจัยอยูที่เครือขายของศูนยที่ University <strong>of</strong> Monash, Melbourne, Australia และคาดวาจะกลับมาในเดือนพศจิกายน<strong>2548</strong>4. ดานการถายทอดเทคโนโลยีและการบริการวิชาการของศูนยศูนยวิจัยจัดประชุมวิชาการระดับชาติ เพื่อเปนการบริการวิชาการในป <strong>2548</strong> เปนจํานวน 2 ครั้ง คือ1. การประชุมเครือขาย CRN Microbiology และ การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Real timePCR ในระหวางวันที่ 12-14 พฤษภาคม <strong>2548</strong> ที่หองประชุม 89 พรรษาสมเด็จยาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยมีผูเขารวมประชุมทั้งสิ้น 80 คน จากทั่วประเทศ การประชุมนี้ไดรับงบประมาณสนับสนุนจาก สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแหงชาติ และจัดรวมกับศูนยวิจัย emerging diseases2. การประชุมเชิงปฏิบัติการการเฝาระวังโรคเมลิออยโดสิส วันที่ 19 กันยายน <strong>2548</strong>เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ หองประชุมมิตรภาพ ชั้น 3 อาคารเรียนรวม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ดําเนินการโดย ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โครงการบริการวิชาการและวิจัยเพื่อแกปญหาสุขภาพของประชาชน โดยมหาวิทยาลัยขอนแกนและหนวยงานสาธารณสุขเขต 6 และสํานักงานปองกันและควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแกน โดยมีผู เขารวมประชุมทั้งสิ้น 100 คนศูนยไดรวมจัดงาน KKU Innovation ในเดือน 28-30 มกราคม <strong>2548</strong> เนื่องในวันสถาปนามหาวิทยาบัยขอนแกนนอกจากนี้เพื่อเปนการเผยแพรความรูดานวิชาการจาก ศูนยวิจัยสูประชาชนโดยตรงศูนยวิจัยไดมีการเผยแพรความรูแกประชาชนโดยผานสื่อวิทยุในรายการ การแพทยเพื่อประชาชน ที่สถานีวิทยุ FM90.75 MHz อสมท เวลา 6:10-7:00 น. ในวันอาทิตยที่ 21 สิงหาคม <strong>2548</strong> โดย ศ.พญ.เพลินจันทร เชษฐโชติศักดิ์20


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส5. ดานการประชุมกรรมการบริหาร สมาชิก และประชุมวิชาการของศูนยศูนยมีการประชุมสมาชิกและกรรมการบริหารทุกเดือนๆละ 1 ครั้ง ในสัปดาหสุดทายของทุกเดือนโดยแตละครั้งของการประชุจะเริ่มจากการนําเสนองานวิจัยความกาวหนาทางวิชาการกอน45 นาที และตามดวยการประชุมกิจกรรมของศูนย ซึ่งในปที่ผานมามีการประชุมทั้งสิ้น 12 ครั้งนอกจากนั้นศูนยยังมีการประชุมกลุมยอยในการติดตามงานวิจัย วิจารณ และแกปญหาการวิจัยทุกวันอังคาร และที่ผานมาไดมีการประชุมไปแลวทั้งสิ้น 30 ครั้งเพื่อใหเกิดโลกทัศนที่กวางไกลและเกิดการเชื่อมโยงงานวิจัยไปยังเครือขายอื่นๆ ศูนยไดมีการประชุมทางวิชาการ โดยไดเชิญวิทยากรที่มีงานวิจัยรวมกับศูนยมานําเสนอผลงานวิจัย และหาแนวทางในการทําวิจัยรวมกัน ในปนี้มีการ บรรยายพิเศษ 3 ครั้ง คือครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 30 สิงหาคม <strong>2548</strong> เรื่อง “ Inrabody: The novel immuno<strong>the</strong>rapy”โดย ผศ. ดร. ชัชชัย ตะติยาภิวัฒนามหาวิทยาลัยเชียงใหมครั้งที่ 2 วันอังคารที่ 6 กันยายน <strong>2548</strong> เรื่อง “ Inrabody: The novel immuno<strong>the</strong>rapy”โดย ผศ. ดร. พรรณิกา เนียมทรัพยมหาวิทยาลัยนเรศวรครั้งที่ 3 วันศุกรที่ 9 กันยายน <strong>2548</strong> เรื่อง “ Inrabody: The novel immuno<strong>the</strong>rapy”โดย ดร. สาธิต พิชญางกูลสถาบัวนวิจัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร(AFFRIM)6. การจัดประชุมวิชาการนานาชาติศูนยไดรับเกียรติใหเปนแกนนําในการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ World Melioidosis Congress ในวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2550 โดยศูนยไดติดตอหาเจาภาพรวม และไดรับความรวมมือจากหนวยงานตางๆดังนี้1. มหาวิทยาลัยขอนแกน ในนาม มหาวิทยาลัย และ ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส เปนแกนนํา2. ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (BIOTEC) สนับสนุนคาใชจายวิทยากรรับเชิญจากตางประเทศ 2ทาน3. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) สนับสนุนคาใชจายในการจัดประชุม100000 บาท4. สมาคมโรคติดเชื้อแหงประเทศไทย (เจาภาพรวม)5. Welcome Research Unit (เจาภาพรวม)6. กระทรวงการตางประเทศ สนับสนุนคาใชจายในการเดินทางเขารวมประชุมของนักวิจัยจากประเทศในแถบอินโดจีนจํานวน 10 คน7. กรมควบคุมโรค (เจาภาพรวม)8. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (กําลังอยูระหวางการติดตอ)9. บริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) (กําลังอยูระหวางการติดตอ)21


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิสThe 5th World Melioidosis CongressKhon Kaen, Thailand21-23 November, 2007แผนการดําเนินงานระยะเวลา 5 ปกิจกรรม ปที่ 1(<strong>2548</strong>)1. จัดทําเครือขายใหเปนระบบ1.1 ทําแผนกลยุทธ ทั้งระยะยาวและระยะสั้น1.2 กําหนดทิศทางการวิจัย1.3 จัดทํากรอบแนวทางการบริหารการสนับสนุน1.4 รวบรวมขอมูล ทรัพยากร ผลงาน1.5 ประสานงานเครือขายกับสถานบันอื่นทั้งในและตางประเทศ1.6 ติดตามและประมวงผล2. สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา2.1 ประชุมวิชาการพัฒนาขีดความสามารถนักวิจัย2.2 ระดมสมองนักวิจัยในศูนยและเครือขายตางสถาบันเพื่อพัฒนาโครงการวิจัยแบบบูรณาการ2.3 สนับสนุนการดําเนินงานวิจัยของนักวิจัยและการดําเนินงานวิจัยบัณฑิตศึกษา2.4 สัมมนาวิชาการประจําเดือน√√√√√√√√√ปที่ 2(2549)√---√√√√√ปที่ 3(2550)√√√√√√√√√ปที่ 4(2551)√---√√√√√ปที่ 5(2552)√ √ √ √ √3. สนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยทั้งระดับใน - √ √ √ √ประเทศและตางประเทศ4. สนับสนุนการอบรมถายทอดความรูสูประชาชน - √ √ √ √√√√√√√√√√22


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ในรูปแบบตาง ๆ5. จัดประชุมวิชาการนานาชาติ World Congresson Melioidosis ที่มหาวิทยาลัยขอนแกน6. รวมพัฒนาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทและเอกศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส- - √ - -√ √ √ √ √สรุป องคความรูในรอบปที่ผานมา ศูนยวิจัยไดสรางเครือขายงานวิจัยไปทั่วประเทศ ไมวาจะเปน มหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลันเรศวร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตลอดจนเครือขายตางประเทศ 4แหง คือ USA 2 แหง Canada 1 แหง และ Australia 1 แหง ไดผลิตผลงานวิจัยที่เปนองคความรูที่สําคัญมาก 3 เรื่อง คือเปนผูพบวาสาร CpG สารมารถใชในการปองกันการติดเชื้อ B. pseudomallei ในหนูไดถึง 92-100% (ผลงานชิ้นนี้อยูในระหวางการพิจารณาจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติในการแขงขันเพื่อขอรับรางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยมประจําป <strong>2548</strong>) และเปนผูคนพบวา Bi<strong>of</strong>ilm ของเชื้อ B.pseudomallei ไมมีความสัมพันธกับการเกิด virulent ของโรค และองคความรูที่สําคัญอีกเรื่องคือการหาวิธีรักษาที่เหมาะสมในผูปวยที่เปน severe melioidosis ซึ่งเปนงานวิจัยที่ทํารวมกับ Welcomeศูนยไดสรางนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาเอก 5 คน และ ปริญญาโท 2 คน ภายใตหลักสูตร 6 หลักสูตร และกําลังดําเนินโครงการวิจัยอยูทั้งสิ้น 11 โครงการโดยทุกโครงการใชเงินสนับสนุนจากแหลงเงินภายนอกเปนหลักเพื่อใหเขากับวัตถุประสงคของการกอตั้งศูนยวา sustainableศูนยไดหาเงินทุนสนับสนุนจากภายนอกทั้งสิ้นในปนี้ถึง 9.6 ลานบาทและทายสุดศูนยไดรับเกียรติใหเปนเขาภาพหลักในการจัดประชุม The 5 th World Melioidosis Congress ที่ ขอนแกน23


รายงานประจําป <strong>2548</strong>ศูนยวิจัยโรคเมลิออยโดสิส1. รูปกิจกรรมตางๆของศูนยภาคผนวกKKU-Innovation 28-30 January 200524

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!