12.07.2015 Views

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการส - วิทยาลัย สห วิทยาการ

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการส - วิทยาลัย สห วิทยาการ

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการส - วิทยาลัย สห วิทยาการ

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

1<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong><strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตร(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556)ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรวิทยาเขต/คณะ/ภาควิชาศูนยลําปางโครงการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป1. รหัสและชื่อหลักสูตรชื่อหลักสูตรภาษาไทย : <strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong><strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตรชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Interdisciplinary Studiesof Social Science2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชาชื่อเต็ม (ภาษาไทย) ศิลปศาสตรบัณฑิต (<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร)ชื่อยอ (ภาษาไทย) ศศ.บ. (<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร)ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) Bachelor of Arts (Interdisciplinary Studies of Social Science)ชื่อยอ (ภาษาอังกฤษ) B.A. (Interdisciplinary Studies of Social Science)3.วิชาเอก3.1 จีนศึกษา3.2 อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา3.3การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม3.4 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน4.จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 130 หนวยกิต


25.รูปแบบของหลักสูตร5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี4ป5.2 ภาษาที่ใช หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทย5.3 การรับเขาศึกษารับเฉพาะนักศึกษาไทย5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่นเปนหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษาใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับปรุงจาก<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตร พ.ศ. 2552กําหนดเปดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2556ไดพิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการบริหารมหา<strong>วิทยาลัย</strong> ในการประชุมครั้งที่ 18/2555เมื่อวันที่ 3เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555ไดพิจารณากลั่นกรองโดยคณะอนุกรรมการสภามหา<strong>วิทยาลัย</strong>ดานหลักสูตรและการจัดการศึกษาในการประชุมครั้งที่ 7/2555เมื่อวันที่ 4เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555ไดรับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหา<strong>วิทยาลัย</strong>ในการประชุมครั้งที่ 12/2555เมื่อวันที่ 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 25557.ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานหลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติในปการศึกษา 25588.อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา8.1 พนักงานในองคกรภาครัฐและเอกชน8.2 อาจารย นักวิชาการและนักวิจัย8.3 เจาหนาที่ในองคกรพัฒนาเอกชน8.4 เจาหนาที่ในองคการปกครองสวนทองถิ่น8.5 เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน8.6 ผูจัดการและเจาหนาที่ในมูลนิธิ8.7เจาหนาที่ในสถานทูตและองคกรระหวางประเทศ8.8นักพัฒนา8.9ผูจัดการในธุรกิจนําเที่ยว8.10เจาหนาที่หรือผูจัดการหอศิลปและพิพิธภัณฑ8.11อาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาเอก


9. ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวประชาชน ตําแหนงทางวิชาการ และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร3เลขประจําตัวประชาชน3-8008-00029-74-43-9201-00918-78-23-5099-01302-75-7ตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษารอง-ศาสตราจารย1. สายฝนสุเอียนทรเมธี - สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2540)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศึกษาศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>สงขลานครินทร(2536)อาจารย 2. พิทยาสุวคันธ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2550)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2540)- วิทยาศาสตรบัณฑิต (สัตวศาสตร)สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก(2536)อาจารย 3. โขมสี แสนจิตต - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2553)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาและวรรณกรรมลานนา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2539)- ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2533)10. สถานที่จัดการเรียนการสอนโครงการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร <strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปาง


11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจการพัฒนา<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตรจะสอดคลองกับยุทธศาสตรของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ที่กลาวถึง การเชื่อมโยงเศรษฐกิจไทยกับโลกหลายขั้วอํานาจ ซึ่งเนนการเชื่อมโยงเศรษฐกิจไทยกับประเทศเพื่อนบานและภูมิภาค เพื่อเตรียมตัวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดวยเหตุผลดังกลาวหลักสูตรจึงไดถูกออกแบบเพื่อตอบสนองกับความทาทายใหมดานการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคที่ตองการองคความรูในลักษณะบูรณาการ และความทาทายดานสถาปตยกรรมทางสังคมที่ตองการบัณฑิตที่มีทั้งความรู คุณธรรมและความคิดสรางสรรค เพื่อนําไปใชในการพัฒนาประเทศ11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาภูมิภาคในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองภายใตความเปน “ประชาคมอาเซียน”ประกอบกับเมื่อพิจารณาในระดับพื้นที่จะเห็นไดวาประเทศไทยเปนภูมิภาคที่มีความโดดเดนทั้งดานสังคมวัฒนธรรมฐานทรัพยากร สภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร โดยเฉพาะภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งถือเปนพื้นที่ยุทธศาสตรทางเนื่องจากมีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพื่อบานหลายประเทศในขณะเดียวกันสภาวการณสังคมโลกในปจจุบัน นับวันจะมีการพัฒนาใหมีความเจริญกาวหนาและมีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน และผนวกรวมใหเปนหนึ่งเดียวมากขึ้นในขณะที่ภายใตการพัฒนาและความเจริญกาวหนากลับสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และปญหาตาง ๆ ตามมามากมาย มีความสลับซับซอนมากขึ้นซึ่งปรากฏการณปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนผลมาจากการมีปฏิสัมพันธกันภายใตกระแสโลกาภิวัตน ทําใหมีความจําเปนตองอาศัยองคความรูจากศาสตรสาขาตางๆทางสังคมศาสตรที่มีความหลากหลายเชิง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (Interdisciplinary) มาบูรณาการ ประยุกตใชในการทําความเขาใจตอปรากฏการณทางสังคม วัฒนธรรม เพื่อนําไปสูแนวทางการพัฒนา แกไขปญหาตางๆและเกิดการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนตอไป12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน12.1 การพัฒนาหลักสูตร(1) หลักสูตรตองมีการปรับปรุงและพัฒนาใหสอดคลองกับพลวัตทางสังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจการเมือง(2) หลักสูตรตองพัฒนาใหมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับทั้งภายในและตางประเทศ(3) หลักสูตรตองพัฒนาใหผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีองคความรูและทักษะเชิง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>4


512.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน(1) สถาบันตองพัฒนาคุณภาพทางวิชาการใหเทียบเทามาตรฐานระดับสากล(2) สถาบันตองพัฒนาไปสูการเปนมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ที่ใหความสําคัญกับการวิจัย(3) สถาบันตองพัฒนางานบริการวิชาการที่หลากหลาย มีคุณภาพอยางตอเนื่อง(4) สถาบันตองจัดระบบบริหารจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพคลองตัว(5) สถาบันตองสงเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและรวมพัฒนาชุมชน13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอื่นที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน13.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่นวิชาศึกษาทั่วไป ไดแก13.1.1วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 1 21หนวยกิต- หมวดมนุษยศาสตรบังคับ 1 วิชา 2 หนวยกิตมธ.110<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร 2 (2-0-4)TU 110 Integrated Humanities- หมวดสังคมศาสตรบังคับ 2 วิชา 5 หนวยกิตมธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม 3(3-0-6)TU 100 Civic Educationมธ.120<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร 2 (2-0-4)TU 120 Integrated Social Sciences- หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร บังคับ 2 วิชา 5 หนวยกิตวิทยาศาสตร บังคับ 1 วิชา2 หนวยกิตมธ.130<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 (2-0-4)TU 130 Integrated Sciences and Technologyคณิตศาสตรหรือคอมพิวเตอร บังคับเลือก 1 วิชา 3 หนวยกิตจากวิชาตอไปนี้มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong> 3(3-0-6)TU 151 General College Mathematicsมธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 3(3-0-6)TU 153 General Concept of Computerมธ.155 สถิติพื้นฐาน 3(3-0-6)TU 155Elementary Statistics


- หมวดภาษาบังคับ4 วิชา 12หนวยกิตภาษาไทยบังคับ 1 วิชา3 หนวยกิตท.161การใชภาษาไทย 3(3-0-6)TH 161 Thai Usageภาษาอังกฤษบังคับ 3 วิชา9 หนวยกิตสษ.070ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 ไมนับหนวยกิตEL 070 English Course 1(สําหรับผูที่มีพื้นความรูยังไมถึง สษ.171)สษ.171ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 3(3-0-6)EL 171 English Course 3สษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 3(3-0-6)EL 172 English Course 313.1.2วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 9หนวยกิต- วิชาบังคับ 2 วิชา 6หนวยกิตท.162การเขียนรายงานวิชาการ 3(3-0-6)TH 162 Report Writingสษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 3(3-0-6)EL 295 Academic English 1- วิชาบังคับเลือก 1 วิชา 3 หนวยกิตจากวิชาตอไปนี้มธ.111ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6)TU 111 Thailand in Historical Social and Cultural Perspectiveมธ.116 มนุษยกับศิลปะ : ทัศนศิลป ดนตรีและศิลปะการแสดง 3(3-0-6)TU 116 Man and Arts : Visual Art, Music and Performing Artsมธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม 3(3-0-6)TU117 Development of Modern Worldมธ.121 มนุษยกับสังคม 3(3-0-6)TU 121 Man and Societyมธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6)TU122 Law in Everyday Lifeมธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ 3(3-0-6)TU124 Society and Economy6


มธ.143มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)TU 143 Man and Environmentมธ.156คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน 3(3-0-6)TU 156Introduction to Computers and Programmingอซ.125 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน 3(3-0-6)AS125Introduction to ASEAN13.2กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปดสอนใหภาควิชา/หลักสูตรอื่นตองมาเรียนไมมี13.3การบริหารจัดการอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรตองประสานงานกับอาจารยผูแทนจากคณะอื่นที่เกี่ยวของ ดานเนื้อหาสาระ การจัดตารางเรียนและสอบ และความสอดคลองกับมาตรฐานผลการเรียนรูตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี7


8หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร1. ปรัชญา ความสําคัญและวัตถุประสงคของหลักสูตร1.1 ปรัชญาและความสําคัญโดยเหตุที่สภาวะเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั้งภายในและระหวางประเทศไดพัฒนาเจริญกาวหนาและมีความสลับซับซอนยิ่งขึ้นอยางมากพรอมๆ กับพัฒนาการและความเจริญกาวหนานั้นปญหาตางๆ ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมเพิ่มทวีขึ้น มีความยุงยากซับซอนคาบเกี่ยวและมีความละเอียดออนมากยิ่งขึ้นตามไปดวย ประกอบกับเมื่อพิจารณาในระดับพื้นที่จะเห็นไดวาภาคเหนือของประเทศไทยเปนภูมิภาคที่มีความโดดเดนในดานตางๆ เชน ประวัติศาสตร ทรัพยากร เปนตนรวมทั้งเปนพื้นที่ยุทธศาสตรทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง เนื่องจากมีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพื่อนบานหลายประเทศ ปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นอันเปนผลมาจากการมีปฏิสัมพันธกันจําเปนตองอาศัยองคความรูจากศาสตรตางสาขาที่มีความหลากหลายเชิง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>(Interdisciplinary) มาประยุกตใชในการทําความเขาใจ อธิบาย วิเคราะห เพื่อการปองกันและแกไขปญหาทั้งเชิงรับและเชิงรุกใหบรรลุเปาหมายสูงสุดของการพัฒนาประเทศ เชน องคความรูจากสาขาเศรษฐศาสตรรัฐศาสตร นิติศาสตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนตนยิ่งไปกวานั้นมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรยังยึดมั่นในพันธกิจเพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐในการขยายโอกาสทางการศึกษาออกสูภูมิภาค มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปาง ในฐานะที่เปนหนวยงานหนึ่งของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรจึงเห็นควรจัดใหมี<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> สาขา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตรขึ้น โดยจุดเดนของหลักสูตร คือ การบูรณาการศาสตรแขนงตางๆเขามาในการเรียนการสอนทั้งนี้เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและศักยภาพในเชิง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ออกไปรับใชประชาชนและสังคมตลอดจนสรางองคความรูที่มีลักษณะ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ใหเทาทันกับกระแส ความเปลี่ยนแปลงของโลกเพื่อการพัฒนา ปองกัน และแกไขปญหาตางๆ ในระดับภูมิภาคและระดับชาติตอไป1.2 วัตถุประสงคของหลักสูตร(1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในลักษณะ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> ตลอดจนมีความสามารถในการประยุกตความรูไปใชในทางปฏิบัติ(2) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม อุดมการณ และจิตสํานึกออกสูสังคม(3) เพื่อสรางองคความรูที่มีลักษณะ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>อันเปนองคความรูที่ยังขาดแคลน(4) เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาระดับปริญญาตรีในภูมิภาค ณ มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปาง2. แผนพัฒนาปรับปรุง


<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตร มีแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรที่มีรายละเอียดของแผนการพัฒนา ยุทธศาสตรและตัวบงชี้การพัฒนาปรับปรุง คาดวาจะดําเนินการแลวเสร็จภายใน 5 ป นับจากเปดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ดังนี้แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงชี้- ปรับปรุงหลักสูตรใหมีลักษณะองคความรูแบบ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ที่สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงและมีความทันสมัย- เชิญผูเชี่ยวชาญมามีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร- มีการวัดและประเมินหลักสูตรอยางตอเนื่อง- ปรับปรุงรายวิชาใหสอดคลองกับการ- เอกสารปรับปรุงหลักสูตร- รายงานผลการวัดและประเมินหลักสูตรเปลี่ยนแปลงและมีความทันสมัย- พัฒนาศักยภาพของผูสอน - อาจารยใหมตองผานการอบรมหลักสูตรเบื้องตนเกี่ยวกับเทคนิคการสอนการวัดและการประเมินผล- อาจารยทุกคนตองเขารวมฝกอบรมและสัมมนาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพและความรูทางวิชาการอยางตอเนื่อง- ยกระดับคุณภาพผูเรียนใหมีความรูความสามารถและมีคุณธรรมจริยธรรม- จัดการเรียนการสอนใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง(Learning by doing)- จัดกิจกรรมใหผูเรียนเกิดจิตสํานึกเพื่อบําเพ็ญประโยชนตอสาธารณชน9- หลักฐานหรือเอกสารแสดงผลการดําเนินการ- โครงการและกิจกรรมในรายวิชา- โครงการและกิจกรรมของนักศึกษา- หลักฐานหรือเอกสารแสดงผลการดําเนินการ


หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร1. ระบบการจัดการศึกษา1.1 ระบบใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 16 สัปดาห และอาจเปดภาคฤดูรอนไดโดยใชเวลาการศึกษาไมนอยกวา 6 สัปดาห แตใหเพิ่มชั่วโมงการศึกษาในแตละรายวิชาใหเทาภาคปกติ1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอนมีการจัดการศึกษาภาคฤดูรอนในการเรียนชั้นปที่ 2 และปที่ 31.3การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค- ไมมี2.การดําเนินการหลักสูตร2.1 วัน – เวลาในการดําเนินการเรียนการสอนวัน-เวลาราชการปกติภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน-กันยายนภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธภาคฤดูรอน เดือนมีนาคม-กุมภาพันธ2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษาเปนไปตามขอบังคับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรวาดวยการศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2540(แกไขเพิ่มเติมถึงปจจุบัน ฉบับที่ 3 พ.ศ.2555) ขอ 72.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา(1) นักศึกษามีขอจํากัดในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู(2) นักศึกษามีขอจํากัดทางดานภาษาตางประเทศและทักษะทางการคํานวณ2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา / ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3จัดอบรมเพิ่มพูนความรูทักษะความสามารถดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู ทักษะภาษาตางประเทศและทักษะทางการคํานวณอยางตอเนื่องและมีการติดตามประเมินผล2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปรับนักศึกษาปการศึกษาละ 150 คนนักศึกษาปการศึกษา2556 2557 2558 2559 2560ชั้นปที่ 1 150 150 150 150 150่่ชั้นปที 2 - 150 150 150 150ชั้นปที่ 3 - - 150 150 150ชั้นปที 4 - - - 150 150รวม 150 300 450 600 600จํานวนที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษา - - - - 15010


2.6 งบประมาณตามแผนใชงบประมาณ ดังนี้งบบุคลากรบาทหมวดเงินเดือน 320,000 บาทหมวดคาจางประจํา 0 บาทงบดําเนินการบาทหมวดคาตอบแทน 1,380,000 บาทหมวดคาใชสอย 1,300,000 บาทหมวดคาวัสดุ 500,000 บาทหมวดสาธารณูปโภค 100,000 บาทงบลงทุนบาทหมวดครุภัณฑ 200,000 บาทงบเงินอุดหนุนหมวดเงินอุดหนุน 8,000,000 บาทงบสวัสดิการ 180,000 บาทงบรายจายอื ่น 20,000 บาทรวมทั้งสิ้น 12,000,000 บาทคาใชจายตอหัวนักศึกษาประมาณ 19,949.65 บาทตอป โดยมีการบริหารจัดการเปนโครงการปกติใชงบประมาณแผนดินประจําป2.7 ระบบการศึกษา แบบชั้นเรียน แบบทางไกลผานสื่อสิ่งพิมพเปนหลัก แบบทางไกลผานสื่อแพรภาพและเสียงเปนสื่อหลัก แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกสเปนสื่อหลัก (E-learning) แบบทางไกลทางอินเตอรเน็ต อื่นๆ (ระบุ)2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหา<strong>วิทยาลัย</strong>1) การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนขามมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ใหเปนไปตามขอบังคับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรวาดวยการศึกษาชั้นปริญญาตรีพ.ศ. 2540 (แกไขเพิ่มเติมถึงปจจุบันฉบับที่ 3 พ.ศ.2555) ขอ 10.10 และขอ 152) หลักเกณฑการลงทะเบียนเรียนขามมหา<strong>วิทยาลัย</strong> ใหเปนไปตามประกาศมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร เรื่องหลักเกณฑและเงื่อนไขการจดทะเบียนศึกษารายวิชาขามโครงการและการจดทะเบียนศึกษารายวิชาขามสถาบันอุดมศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.255211


3.หลักสูตรและอาจารยผูสอน3.1 หลักสูตร3.1.1 จํานวนหนวยกิตและระยะเวลาการศึกษาจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 130 หนวยกิตระยะเวลาการศึกษา เปนหลักสูตรแบบศึกษาเต็มเวลา นักศึกษาตองใชระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร อยางนอย 7 ภาคการศึกษาปกติ และอยางมากไมเกิน 14 ภาคการศึกษาปกติ3.1.2 โครงสรางหลักสูตรนักศึกษาจะตองจดทะเบียนรายวิชา รวมไมนอยกวา 130 หนวยกิต โดยศึกษารายวิชาตางๆ ครบตามโครงสรางองคประกอบ และขอกําหนดของหลักสูตร ดังนี้1)วิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต2) วิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 94 หนวยกิต2.1 วิชาแกน2.1.1 กลุมวิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 27 หนวยกิต2.1.2 กลุมวิชาภาษา 6 หนวยกิต2.1.3 กลุมวิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติและภาคนิพนธ10 หนวยกิต2.2 วิชาเอก2.2.1 วิชาเอกรวม 9 หนวยกิต2.2.2 วิชาเอกบังคับ 30 หนวยกิต2.3 วิชาเลือก 12 หนวยกิต3) วิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร3.1.3.1รหัสวิชารายวิชาที่เปดสอนใน<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตรประกอบดวยตัวอักษรยอ 2 ตัว และเลขรหัส 3 ตัว โดยมีความหมาย ดังนี้อักษรยอ สส. (SI)หมายถึง อักษรยอของ<strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตรตัวเลข มีความหมาย ดังนี้เลขหลักหนวยเลข 0-9 หมายถึง ลําดับของรายวิชาที่จะศึกษาเลขหลักสิบเลข 0 หมายถึง กลุมวิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>เลข 1 หมายถึง กลุมวิชาภาษาเลข 2 หมายถึง กลุมวิชาเอกรวมเลข 3 หมายถึง กลุมวิชาเอกบังคับสาขาจีนศึกษา12


เลข 4 หมายถึงกลุมวิชาเอกบังคับสาขาอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาเลข 5 หมายถึง กลุมวิชาเอกบังคับสาขาการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมเลข 6 หมายถึงกลุมวิชาเอกบังคับสาขาการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนเลข 7 หมายถึงกลุมวิชาเลือกเลข 8 หมายถึง กลุมวิชาเลือกเสรีเลขหลักรอยเลข 1-4 หมายถึง รายวิชาที่จัดสอนในแตละชั้นปตามลําดับ 1-4เลข 5 หมายถึง กลุมวิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติและภาคนิพนธ่3.1.3.2 รายวิชาและขอกําหนดของหลักสูตร1) วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิตนักศึกษาจะตองศึกษารายวิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป รวมแลวไมนอยกวา30 หนวยกิต ตามโครงสรางและองคประกอบของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป ซึ่งแบงเปน 2 สวน คือ1.1) วิชาศึกษาทั่วไปสวนที 121หนวยกิต- หมวดมนุษยศาสตรบังคับ 1 วิชา 2 หนวยกิตมธ.110<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร 2(2-0-4)TU 110 Integrated Humanities- หมวดสังคมศาสตรบังคับ 2 วิชา 5 หนวยกิตมธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม 3(3-0-6)TU 100 Civic Educationมธ.120<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร 2(2-0-4)TU 120 Integrated Social Sciences- หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร บังคับ 2 วิชา5 หนวยกิตวิทยาศาสตร บังคับ 1 วิชา2 หนวยกิตมธ.130<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2(2-0-4)TU 130 Integrated Sciences and Technologyคณิตศาสตรหรือคอมพิวเตอร บังคับเลือก 1 วิชา 3 หนวยกิตจากวิชาตอไปนี้มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong> 3(3-0-6)TU 151 General College Mathematicsมธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 3(3-0-6)TU 153 General Concept of Computer13


มธ.155 สถิติพื้นฐาน 3(3-0-6)TU 155Elementary Statistics- หมวดภาษาบังคับ4 วิชา 12หนวยกิตภาษาไทยบังคับ 1 วิชา3 หนวยกิตท.161การใชภาษาไทย 3(3-0-6)TH 161 Thai Usageภาษาอังกฤษบังคับ 3 วิชา9 หนวยกิตสษ.070ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 ไมนับหนวยกิตEL 070 English Course 1(สําหรับผูที่มีพื้นความรูยังไมถึง สษ.171)สษ.171ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 3(3-0-6)EL 171 English Course 2สษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 3(3-0-6)EL 172 English Course 3(1.2)วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 9หนวยกิต- วิชาบังคับ 2 วิชา 6หนวยกิตท.162การเขียนรายงานวิชาการ 3(3-0-6)TH 162 Report Writingสษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 3(3-0-6)EL 295 Academic English 1- วิชาบังคับเลือก 1 วิชา 3หนวยกิตจากวิชาตอไปนี้มธ.111ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6)TU 111 Thailand in Historical Social and Cultural Perspectiveมธ.116 มนุษยกับศิลปะ : ทัศนศิลป ดนตรีและศิลปะการแสดง 3(3-0-6)TU 116 Man and Arts : Visual Art, Music and Performing Artsมธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม 3(3-0-6)TU117 Development of Modern Worldมธ.121 มนุษยกับสังคม 3(3-0-6)TU 121 Man and Societyมธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6)TU122 Law in Everyday Life14


มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ 3(3-0-6)TU124 Society and Economyมธ.143มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)TU 143 Man and Environmentมธ.156คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน 3(3-0-6)TU 156Introduction to Computers and Programmingอซ.125 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน 3(3-0-6)AS125Introduction to ASEAN2) วิชาเฉพาะ 94 หนวยกิต2.1)วิชาแกน43หนวยกิต- กลุมวิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 27 หนวยกิตสส.201วัฒนธรรมศึกษา 3(3-0-6)SI 201 Cultural Studyสส.202แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตร 3(3-0-6)SI 202Social Theoryสส.203 เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3(3-0-6)SI 203 Economics for Interdisciplinary Studiesสส.204รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3(3-0-6)SI 204Political Science for Interdisciplinary Studiesสส.205การบริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3(3-0-6)SI 205Business Administration for Interdisciplinary Studiesสส.206สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา 3(3-0-6)SI 206 Environment and Developmentสส.207 หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื้องตน 3(3-0-6)SI 207Introduction to Law and Rule by Lawสส.208ปรัชญาและวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร 3(3-0-6)SI 208Philosophy of Social Scienceสส.209การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร 3(3-0-6)SI 209Quantitative Research- กลุมวิชาภาษา 6 หนวยกิตเลือกศึกษาภาษาใดภาษาหนึ่งจากภาษาดังตอไปนี้สส.211ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 3(3-0-6)SI 211English for Social Sciencesสส.212ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)SI212English for Communication15


หรือจน.171 ภาษาจีน 1 3(3-0-6)CH 171 Chinese 1จน.172 ภาษาจีน 2 3(3-0-6)CH 172 Chinese 2หมายเหตุ: สําหรับนักศึกษาที่จะเลือกสาขาวิชาเอกจีนศึกษา ตองสอบได จน. 171 และ จน. 172- กลุมวิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติและภาคนิพนธ10หนวยกิตสส.500ภาคนิพนธ4หนวยกิตSI 500 Directed Researchสส.501 กระบวนการทํางานในชุมชน3หนวยกิตSI 501Community Participatory Field Workสส.502 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3หนวยกิตSI 502 Practicum in Interdisciplinary Studies2.2) วิชาเอก 39 หนวยกิตนักศึกษาจะตองเลือกศึกษาวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งจากวิชาเอก ดังนี้- จีนศึกษา- อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา- การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม-การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน2.2.1)วิชาเอกรวม9 หนวยกิต- รายวิชาเอกรวมในสาขาวิชาเอกจีนศึกษาและสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาสส.321 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ 3(3-0-6)SI 321 Introduction to International Lawสส.322 เอเชียในบริบทโลก 3(3-0-6)SI 322 Asia in Global Contextสส.323 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ 3(3-0-6)SI 323 International Economic Integration- รายวิชาเอกรวมในสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมและสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.324 แนวคิดวาดวยการพัฒนา 3(3-0-6)SI 324 Concepts and Theories on Developmentสส.325 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6)SI 325 Social And Cultural Capital16


17โขงศึกษาสส.326 การบริหารงานองคกร 3(3-0-6)SI326Organizational Management2.2.2)วิชาเอกบังคับ30 หนวยกิต- รายวิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกจีนศึกษาสส.331 หลักไวยากรณจีน 3(3-0-6)SI 331Chinese Grammarสส.332 ทักษะการอานและเขียนภาษาจีน 3(3-0-6)SI 332Chinese Reading and Writing Skillsสส.333 ประวัติศาสตรและอารยธรรมจีน 3(3-0-6)SI 333 History and Civilization of Chinaสส.334 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน 3(3-0-6)SI 334 Economy and Politics of Chinaสส.335 สังคมและวัฒนธรรมจีนรวมสมัย 3(3-0-6)SI 335Contemporary Chinese Society and Cultureสส.431 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีน 3(3-0-6)SI 431Law and Culture of Business Transactions in Chinaสส.432การเมืองและนโยบายตางประเทศของจีน 3(3-0-6)SI 432Politics and Foreign policy of Chinaสส.433 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในจีน 3(3-0-6)SI 433Ecology and Environment Problem in Chinaสส.434การคาและการลงทุนจีน 3(3-0-6)SI 434Trade and Investment of Chinaสส.435สัมมนาประเด็นจีนศึกษา 3(3-0-6)SI 435 Seminar on Chinese Studies- รายวิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําสส.341 การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่องอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 341Selected Reading in the Mekong Sub-regionsสส.342 บริหารธุรกิจนานาชาติ 3(3-0-6)SI 342International Business Managementสส.343 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 343History of the Mekong Sub-regions


สส.344 ภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐกิจสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 344Political Geography and Socio-economicContext of the Mekong Sub-regionsสส.345 วัฒนธรรมและสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 345Culture and Societyof the Mekong Sub-regionsสส.441 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 441Trade and Investment in the Mekong Sub-regionsสส.442 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 442Ecology and Environmental Problemin the Mekong Sub-regionsสส.443 จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6)SI 443Overseas Chinese in Southeast Asiaสส.444 การพัฒนาและการจัดการโลจิสติกส 3(3-0-6)SI 444Logistics Management and Developmentสส.445 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 445Seminar on the Mekong Sub-regions Studies Issues- รายวิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมสส.351 คติชนและวิถีชีวิตพื้นบาน 3(3-0-6)SI 351Folkloreand Folklifeสส.352 กลุม องคกร และเครือขายทางสังคม 3(3-0-6)SI 352Group, Organization and Social Networksสส.353 ลานนาศึกษา 3(3-0-6)SI 353Lanna Studiesสส.354 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6)SI 354Socio – Cultural Resource Management)สส.355 การสื่อสารเพื่อการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6)SI 355Communication for Socio-Cultural ResourcesManagement18


19ทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.451 ประวัติศาสตรและโบราณคดีชุมชน 3(3-0-6)SI 451Historical and Community Archaeologyสส.452 ชาติพันธุ รัฐ และโลกาภิวัตน 3(3-0-6)SI 452Ethnicity State and Globalizationสส.453 อุตสาหกรรมวัฒนธรรม 3(3-0-6)SI 453Cultural Industryสส.454 พิพิธภัณฑศึกษา 3(3-0-6)SI 454Museologyสส.455 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3(3-0-6)SI 455Seminar on Socio - Cultural Resources Management- รายวิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกการพัฒนาการสส.361 อุตสาหกรรมการทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 361Tourism Industryสส.362 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 362Tourism Business Managementสส.363ทรัพยากรการทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 363Tourism Resourceสส.364 ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 364Geography and Tourism Relationสส.365 สังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 365 Sociology of Tourismสส.461 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3(3-0-6)SI 461Ecotourismสส.462 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 462Human Resource Developmentfor Tourismสส.463 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3(3-0-6)SI 463Sustainable Tourism Developmentสส.464 นโยบายและแผนการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3(3-0-6)SI 464Policyand Plan forSustainable TourismManagementสส.465 สัมมนาประเด็นการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3(3-0-6)SI 465Seminar on Sustainable Tourism


2.3) วิชาเลือก 12 หนวยกิตเลือกอยางนอย 4 วิชา จากวิชาตอไปนี้สส.371 ศิลปะและวรรณกรรมจีน 3(3-0-6)SI 371Chinese Arts and Literatureสส.372 การทองเที่ยวในจีน 3(3-0-6)SI 372 Tourism in Chinaสส.373บูรณาการอาเซียน 3(3-0-6)SI 373 ASEAN Integrationสส.374การทองเที่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6)SI 374Tourism in Southeast Asiaสส.375 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น 3(3-0-6)SI 375Civil Society and Local Democratic Governanceสส.376 ศิลปหัตถอุตสาหกรรมและการจัดการ 3(3-0-6)SI 376Industrial Crafts and Managementสส.377 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการการทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 377English for Tourism Managementสส.378 หลักนันทนาการเพื่อการทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 378Principles of Recreation for Tourismสส.471ทักษะการฟงและการพูดภาษาจีน 3(3-0-6)SI 471Chinese Listening and Speaking Skillsสส.472 ภาษาจีนสําหรับการประกอบอาชีพ 3(3-0-6)SI 472Chinese for Careersสส.473 การเคลื่อนยายและการขามแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6)SI 473Mobility and Cross-Border Movement in Southeast Asiaสส.474 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3(3-0-6)SI 474Urban and Rural in the Mekong Sub-regionsสส.475 มนุษย สังคม และวัฒนธรรมในวรรณกรรมและภาพยนตร 3(3-0-6)SI 475Man, Society and Culture in Literature and Filmสส.476 หลักการสื่อสารตางวัฒนธรรม 3(3-0-6)SI 476Principles of Intercultural Communicationสส.477 การสื่อสารเพื่อการจัดการการทองเที่ยว 3(3-0-6)SI 477Communication for Tourism Management20


สส.478 การทองเที่ยวกับชุมชนทองถิ่น 3(3-0-6)SI 478Tourismand Local Community3) วิชาเลือกเสรี 6หนวยกิตนักศึกษาอาจเลือกศึกษาวิชาใดก็ไดที่เปดสอนในมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรเปนวิชาเลือกเสรีไมนอยกวา 6 หนวยกิต หรือนักศึกษาอาจเลือกศึกษารายวิชาที่<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>เปดสอนเพื่อเปนวิชาเลือกเสรีจากวิชาดังตอไปนี้สส.381 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ 3(3-0-6)SI 381 English for Careersสส.382การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตร 3(3-0-6)SI 382Skill Development in Presenting Informationof Social Sciencesสส.383ภูมิทัศนวัฒนธรรม 3(3-0-6)SI 383Cultural Landscapeสส.384องคกรกับความรับผิดชอบตอสังคม 3 (3-0-6)SI 384Organization and Social Responsibilityสส.385 ประเด็นปจจุบันดานความสัมพันธระหวางประเทศ3(3-0-6)SI 385Current Issues in International Relationsสส.386การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6)SI 386Human Resource DevelopmentinSoutheast Asiaหมายเหตุ ทั้งนี้วิชาเหลานี้ไมสามารถนับเปนวิชาเลือกเสรีได1. วิชาพื้นฐานทางดานวิทยาศาสตรและคณติศาสตร2. วิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปทั้งสวนที่ 1 และสวนที่ 2 ที่มีรหัสยอเปน “มธ” ทุกวิชา3. วิชาท.162 การเขียนรายงานวิชาการ และ วิชาท.163 การเขียนเพื่อการสื่อสารในองคกร21


223.1.4แสดงแผนการศึกษาชั้นปที่ 1ภาคการศึกษาที่1สษ.070 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 หรือ S/Uสษ.171 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2หรือ 3 หนวยกิตสษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 3 หนวยกิตท.161 การใชภาษาไทย 3 หนวยกิตมธ.110 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร 2 หนวยกิตมธ.130 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 หนวยกิตมธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>หรือ 3 หนวยกิตมธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอรหรือ 3 หนวยกิตมธ.155 สถิติพื้นฐาน 3 หนวยกิตรวม10/13 หนวยกิตภาคการศึกษาที่2สษ.171 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2หรือ 3 หนวยกิตสษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 3 หนวยกิตท.162 การเขียนรายงานวิชาการ 3 หนวยกิตมธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม 3 หนวยกิตมธ.120 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร 2 หนวยกิตxxx วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 3 หนวยกิตรวม14 หนวยกิตภาคฤดูรอนสษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 3 หนวยกิตรวม3 หนวยกิต


หมายเหตุ : ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชา สษ.070ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 (ไมนับหนวยกิต)ในภาคเรียนที่ 1 จะมีจํานวนหนวยกิตเปน 10 หนวยกิต จึงตองลงเรียนวิชาสษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 ในภาคฤดูรอน แตในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาสษ.171ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 ในภาคเรียนที่ 1 จะมีจํานวนหนวยกิตเปน 13หนวยกิต และไมตองลงเรียนวิชา สษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 ในภาคฤดูรอนชั้นปที่ 2ภาคเรียนที่ 1สส.201 วัฒนธรรมศึกษา 3 หนวยกิตสส.202 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตร 3 หนวยกิตสส.203 เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3 หนวยกิตสส.204 รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3 หนวยกิตสส.211 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร หรือ 3 หนวยกิตจน.171 ภาษาจีน 1 3 หนวยกิตสษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 (วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2) 3 หนวยกิตรวม18 หนวยกิตภาคเรียนที่ 2สส.205 การบริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3 หนวยกิตสส.206 สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา 3 หนวยกิตสส.207 หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื้องตน 3 หนวยกิตสส.208 ปรัชญาและวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร 3 หนวยกิตสส.212 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารหรือ 3 หนวยกิตจน.172 ภาษาจีน 2 3 หนวยกิตรวม15 หนวยกิตภาคฤดูรอนสส.501 กระบวนการทํางานในชุมชน 3 หนวยกิตรวม3 หนวยกิต23


24ชั้นปที่ 3ภาคเรียนที่ 1สส.209 การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร 3 หนวยกิต- วิชาเอกรวมสาขาวิชาเอกจีนศึกษาและสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาสส.321 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ 3 หนวยกิตสส.322 เอเชียในบริบทโลก 3 หนวยกิต- วิชาเอกรวมสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมและสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.324 แนวคิดวาดวยการพัฒนา 3 หนวยกิตสส.325 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกจีนศึกษาสส.331 หลักไวยากรณจีน 3 หนวยกิตสส.333 ประวัติศาสตรและอารยธรรมจีน 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาสส.341 การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่องอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 หนวยกิตสส.342 บริหารธุรกิจนานาชาติ 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมสส.351 คติชนและวิถีชีวิตพื้นบาน 3 หนวยกิตสส.352 กลุม องคกร และเครือขายทางสังคม 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.361 อุตสาหกรรมการทองเที่ยว 3 หนวยกิตสส.362 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว 3 หนวยกิตสส.xxx วิชาเลือก (1) 3 หนวยกิตรวม18 หนวยกิต


25ภาคเรียนที่ 2- วิชาเอกรวมสาขาวิชาเอกจีนศึกษาและสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาสส.323 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ 3 หนวยกิต- วิชาเอกรวมสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมและสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.326 การบริหารงานองคกร 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกจีนศึกษาสส.332 ทักษะการอานและเขียนภาษาจีน 3 หนวยกิตสส.334 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน 3 หนวยกิตสส.335 สังคมและวัฒนธรรมจีนรวมสมัย 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาสส.343 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 หนวยกิตสส.344 ภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐกิจสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 หนวยกิตสส.345 วัฒนธรรมและสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมสส.353 ลานนาศึกษา 3 หนวยกิตสส.354 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3 หนวยกิตสส.355 การสื่อสารเพื่อการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.363 ทรัพยากรการทองเที่ยว 3 หนวยกิตสส.364 ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว 3 หนวยกิตสส.365 สังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยว 3 หนวยกิตสส.xxx วิชาเลือก (2) 3 หนวยกิตxxx วิชาเลือกเสรี (1) 3 หนวยกิตรวม18 หนวยกิต


ภาคฤดูรอนสส.502 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3 หนวยกิตรวม3 หนวยกิตชั้นปที่ 4ภาคเรียนที่ 1- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกจีนศึกษาสส.431 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีน 3 หนวยกิตสส.432 การเมืองและนโยบายตางประเทศของจีน 3 หนวยกิตสส.433 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในจีน 3 หนวยกิตสส.435 สัมมนาประเด็นจีนศึกษา 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาสส.441 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 หนวยกิตสส.442 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 หนวยกิตสส.443 จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3 หนวยกิตสส.445 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมสส.451 ประวัติศาสตรและโบราณคดีชุมชน 3 หนวยกิตสส.452 ชาติพันธุ รัฐ และโลกาภิวัตน 3 หนวยกิตสส.453 อุตสาหกรรมวัฒนธรรม 3 หนวยกิตสส.455 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.461 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3 หนวยกิตสส.462 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อการทองเที่ยว 3 หนวยกิตสส.463 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3 หนวยกิตสส.465 สัมมนาประเด็นการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3 หนวยกิตสส.xxx วิชาเลือก (3) 3 หนวยกิตxxx วิชาเลือกเสรี (2) 3 หนวยกิตรวม18 หนวยกิต26


27สส.500ภาคนิพนธภาคเรียนที่ 24 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกจีนศึกษาสส.434 การคาและการลงทุนจีน 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาสส.444 การพัฒนาและการจัดการโลจิสติกส 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับในสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมสส.454 พิพิธภัณฑศึกษา 3 หนวยกิต- วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.464 นโยบายและแผนการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3 หนวยกิตสส.xxx วิชาเลือก (4) 3 หนวยกิตรวม10 หนวยกิต


283.1.5 คําอธิบายรายวิชา3.1.5.1 คําอธิบายรายวิชาภาษาไทยมธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม 3 (3-0-6)TU 100 Civic Educationการเรียนรูหลักการพื้นฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและการปกครองโดยกฎหมาย (The Rule of Law) เขาใจความหมายของ "พลเมือง" ในระบอบประชาธิปไตยฝกฝนใหนักศึกษาไดพัฒนาตนเองใหเปน "พลเมือง"ในระบอบประชาธิปไตยและใหมีความรับผิดชอบตอสังคมโดยใชวิธีการเรียนรูโดยลงมือปฏิบัติ (Learning by doing)มธ.110 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร 2(2-0-4)TU 110 Integrated Humanitiesประวัติความเปนมาของมนุษยในยุคตางๆ ที่ไดสะทอนความเชื่อ ความคิดการพัฒนา ทางสติปญญาสรางสรรคของมนุษย ตลอดจนใหรูจักมีวิธีการคิด วิเคราะหและมองปญหาตาง ๆ ที่มนุษยชาติกําลังเผชิญอยู อาทิ ผลกระทบของการพัฒนาทางเทคโนโลยี ปญหาความรุนแรง สงครามและวิกฤตตาง ๆ ของโลกเพื่อที่เราจะสามารถดําเนินชีวิตตอไปอยางมีประสิทธิภาพ ทามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกนี้มธ.111 ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม 3 (3-0-6)TU 111 Thailand in Historical Social and Cultural Perspectiveภูมิหลังของสังคม วัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย ตั้งแตอดีต สยามประเทศ จึงถึงประเทศไทย มุงเนนประเด็นการสรางเอกลักษณไทย และทิศทางการพัฒนาของสังคมและวัฒนธรรมไทยในบริบทแหงโลกาภิวัตนมธ.116 มนุษยกับศิลปะ: ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง 3 (3-0-6)TU 116 Man and Arts : Visual Art, Music and Performing Artsลักษณะและความสําคัญของศิลปกรรมที่มีตอมนุษย โดยมุงสรางรสนิยม ความชื่นชมและความสํานึกในคุณคาของงานสรางสรรคศิลปะ ความสัมพันธของศิลปกรรมที่มีตอพัฒนาการของมนุษยสังคมและสิ่งแวดลอม บทบาทของศิลปกรรมในวัฒนธรรมและพุทธิปญญาของมนุษยชาติทั้งตะวันออกและตะวันตก โดยเฉพาะอยางยิ่งการแสดงออกการไดประจักษในคุณคาของศิลปะดวยประสบการณของตน การไดตรึกและซาบซึ้งในสุนทรียรสจากศิลปกรรมแขนงตางๆ ทั้งนี้ใหเห็นอิทธิพลของศิลปกรรมที่มีตอคานิยมและการดํารงชีวิตของคนไทย


มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม 3 (3-0-6)TU 117 Development of Modern Worldพัฒนาการของสังคมโลก ตั้งแต ค.ศ.1500 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน โดยเนนความสัมพันธทางดานเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันเปนพื้นฐานแหงการเปลี่ยนแปลงของโลกเขาสูสมัยใหมมธ.120 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร 2(2-0-4)TU 120 Integrated Social Sciencesการกําเนิดของสังคมศาสตรกับโลกยุคสมัยใหม การแยกตัวของสังคมศาสตรออกจากวิทยาศาสตร การรับเอา Paradigm ของวิทยาศาสตรมาใชกับการอธิบายปรากฏการณทางสังคมศาสตรศึกษาถึงศาสตร (discipline) มโนทัศน (concept) และทฤษฎีตาง ๆ ที่สําคัญ ๆ ทางสังคมศาสตร โดยชี้ใหเห็นถึงจุดแข็งและจุดออนของสังคมศาสตรและของการศึกษาปญหาทางดานสังคมศาสตร ศึกษาวิเคราะหปญหาสังคมแบบตาง ๆ ที่เปน Current issue โดยใชความรูและมุมมองทางสังคมศาสตรเปนหลักเพื่อใหเขาใจและมองเปนปญหานั้น ๆ ทั้งในระดับปจเจกบุคคลระดับกลุม ระดับมหภาคทางสังคมระดับสังคม ที่เปนรัฐชาติและระดับสังคมที่รวมเปนระบบโลกมธ.121 มนุษยกับสังคม 3 (3-0-6)TU 121 Man and Societyลักษณะทั่วไปของสังคมมนุษย องคประกอบโครงสรางและกระบวนการทางสังคม การเปลี่ยนแปลง และวิวัฒนาการของสังคมอันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี และปจจัยสําคัญอื่น ๆ วิเคราะหสังคมแบบตาง ๆ เพื่อใหเห็นความสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆภายในสังคม และความสัมพันธระหวางสังคมกับสิ่งแวดลอม พิจารณาปญหาสําคัญตาง ๆ ของสังคมโดยทั่วไปและปญหาของสังคมไทยมธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3 (3-0-6)TU 122 Life and Lawลักษณะทั่วไปของกฎหมาย ในฐานะที่เปนแบบแผนความประพฤติของมนุษยในสังคมหลักการพื้นฐานของนิติรัฐ (rules of law) คุณคาของกฎหมายในฐานะที่เชื่อมโยงกับหลักคุณธรรมของประชาชน ความรูพื้นฐานในเรื่องกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชนที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยควรตองรูทั้งในดานของสิทธิ และในดานของหนาที่ การระงับขอพิพาทและกระบวนการยุติธรรมของไทยหลักการใชสิทธิ หลักการใชและการตีความกฎหมาย โดยเนนการศึกษาจากกรณีตัวอยางที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจําวัน29


มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ 3 (3-0-6)TU 124 Society and Economyแนวทางการศึกษาและการวิเคราะหสังคม และเศรษฐกิจในฐานะที่วิชานี้เปนการศึกษาทางดานสังคมศาสตร แลวนําสูการวิเคราะหวิวัฒนาการของสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในภาพกวางของโลกและของประเทศไทย โดยเนนใหเห็นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมและสถาบันที่มีตอระบบสังคมเศรษฐกิจมธ.130 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2(2-0-4)TU 130 Integrated Sciences and Technologyแนวคิด ทฤษฎีปรัชญาพื้นฐาน และกฎเกณฑทางวิทยาศาสตร วิวัฒนาการของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีความสําคัญและมีสวนเกี่ยวของตอการดําเนินชีวิตในปจจุบัน ผลกระทบระหวางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม และศึกษาประเด็นการถกเถียงที่สําคัญที่เกี่ยวของกับสถานการณในปจจุบัน รวมถึงจริยธรรม คุณธรรมของความเปนมนุษยมธ.143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3 (3-0-6)TU 143 Man and Environmentความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมในธรรมชาติ โดยคํานึงถึงความสัมพันธและการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดสมดุลแหงธรรมชาติ รูจักใชประโยชน และจัดการสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืนตลอดไป โดยชี้ใหเห็นถึงผลกระทบของความเจริญทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีตอสิ่งแวดลอม สังคม เศรษฐกิจ รวมทั้งใหความสําคัญของสิ่งแวดลอมที่มีตอมนุษยในปจจุบันและอนาคตมธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong> 3 (3-0-6)TU 151 General College Mathematics(ไมนับหนวยกิตใหกับนักศึกษาที่มีรหัสคณะ 02, 04 และตั้งแต 09 ถึง 14,16)เซต ระบบจํานวนจริง ความสัมพันธ ฟงกชันและการประยุกต แนวคิดและตัวอยางเบื้องตนของกําหนดการเชิงเสน ตรรกวิทยา การพิสูจนโดยทฤษฎี ดอกเบี้ย เงินผอนและภาษีเงินได ความนาจะเปนเบื้องตนแบบไมมีเงื่อนไข และมีเงื่อนไข เหตุการณที่เปนอิสระตอกัน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสถิติเชิงพรรณนา เลขดัชนี การประมาณคาและการทดสอบสมมุติฐาน เกี่ยวกับคาเฉลี่ยของประชากรกลุมเดียว การอานผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ30


มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 3 (3-0-6)TU 153 General Concept of Computerประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร องคประกอบตางๆ ของเครื่องคอมพิวเตอรทั้งดานฮารดแวรและซอฟแวรอุปกรณตอเนื่องตางๆ ที่ใชในระบบคอมพิวเตอร การประมวลขอมูลดวยคอมพิวเตอรในลักษณะตางๆ เนนการประยุกตใชคอมพิวเตอรในกิจกรรมตาง ๆ การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการทํางานตาง ๆ วางพื้นฐานความเขาใจในเรื่องการเขียนโปรแกรมการสื่อสารขอมูลและอินเตอรเน็ทมธ.155 สถิติพื้นฐาน 3 (3-0-6)TU 155 Fundamental Statisticsลักษณะปญหาทางสถิติ ทบทวนสถิติเชิงพรรณา ความนาจะเปน ตัวแปรสุมและการแจกแจงของตัวแปรสุมแบบทวินาม ปวซง และปกติ เทคนิคการชักตัวอยางและการแจกแจงของตัวสถิติ การประมาณคาและการทดสอบสมมุติฐาน เกี่ยวกับคาเฉลี่ยประชากรกลุมเดียวและสองกลุม การวิเคราะหความแปรปรวนจําแนกทางเดียว การวิเคราะหการถดถอยและ<strong>สห</strong>สัมพันธเชิงเสนเชิงเดียว การวิเคราะหไคกําลังสองมธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน 3 (3-0-6)TU 156 Introduction to Computers and Programmingองคประกอบของระบบคอมพิวเตอร การประมวลผลขอมูล ลําดับขั้นตอน ผังงาน รหัสแทนขอมูล โปรแกรมระบบ และการประยุกตบนคอมพิวเตอรสวนบุคคล พื้นฐานการเขียนโปรแกรม การสื่อสารขอมูลและอินเตอรเน็ท ตัวอยางโปรแกรมประยุกต และการประยุกตใชกิจการตางๆอซ.125 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน 3 (3-0-6)AS 125 Introduction to ASEANประวัติของการกอตั้ง และเปาหมายของอาเซียนตลอดจนภาพรวมดานสังคม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ความคิดและความเชื่อเบื้องตนของประเทศตางๆที่เปนสมาชิกอาเซียนท.161 การใชภาษาไทย 3 (3-0-6)TH 161 Thai Usageหลักและฝกทักษะการใชภาษาไทย ดานการฟง การอาน การเขียนและการพูด โดยเนนจับใจความสําคัญ การถายทอดความรู ความคิดและการเขียน เรียบเรียงไดอยางเหมาะสม31


ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ 3 (3-0-6)TH 162 Academic Report Writingหลักการเขียนรายงานวิชาการ สามารถคนควาขอมูลและอางอิงไดอยางเปนระบบตลอดจนฝกทักษะการเขียนรายงานวิชาการสษ.070 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1EL 070 English Course 1วิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาเปนวิชาเสริมที่มิไดคิดหนวยกิต (Non-Credit) เพื่อชวยนักศึกษาที่มีพื้นฐานความรูภาษาอังกฤษยังไมสูงพอที่จะเขาศึกษาในระดับพื้นฐานได (รายงานผลการศึกษาระบุเพียงใชได (S) หรือใชไมได (U) และจะไมนําไปคิดรวมกับจํานวนหนวยกิตทั้งหมดหรือคํานวณคาระดับเฉลี่ย)หลักสูตรเบื้องตนเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับนักศึกษา ฝกทักษะภาษาอังกฤษที่ใชในชีวิตจริงทั้ง 4 ทักษะ คือ ฟง พูด อาน เขียนสษ.171 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 3 (3-0-6)EL 171 English Course 2วิชาบังคับกอน : สษ070หรือ กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาหลักสูตรระดับกลางเพื่อสงเสริมทักษะฟง พูด อาน เขียน แบบบูรณาการ รวมทั้งเตรียมความพรอมนักศึกษาสําหรับการเรียนภาษาอังกฤษในระดับที่สูงขึ้นสษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 3 (3-0-6)EL 172 English Course 3วิชาบังคับกอน : สษ 171หรือ กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาหลักสูตรระดับกลางสูง เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาใชทักษะภาษาอังกฤษอยางบูรณาการในระดับที่ซับซอนกวาในวิชาภาษาอังกฤษระดับกลาง โดยเนนทักษะการพูดและการเขียนสษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 3 (3-0-6)EL 295 295 Academic English 1วิชาบังคับกอน: สอบได สษ. 172ฝกการใชภาษาอังกฤษทางวิชาการในสี่ทักษะ (ฟง พูด อานและเขียน) การพัฒนาคําศัพทและสํานวนในเชิงวิชาการ โดยเนนการอานและการเขียนระดับยอหนา ฝกเขียนบทความวิจัยและบทความวิชาการการฟงและจดบันทึกยอจากการบรรยายและการนําเสนอโครงงานจน.171 ภาษาจีน 1 3 (3-0-6)CH 171 Chinese 132


ศึกษาโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญของภาษาจีนทั้งทางดานการออกเสียงและทางดานไวยากรณ เรียนรูวิธีการเขียนตัวอักษรจีน ประมาณ 250 ตัว ตลอดจนวงศัพทที่เกิดจากตัวอักษรจีนเหลานั้นจน.172 ภาษาจีน 2 3 (3-0-6)CH 172 Chinese 2วิชาบังคับกอน : สอบได จน.171 หรือผานการทดสอบ หรือไดรับอนุมัติจากผูบรรยายศึกษาตอจาก จน.171 เรียนรูประโยคที่ซับซอนขึ้น และเรียนรูตัวอักษรจีนเพิ่มขึ้นประมาณ 300 ตัวสส.201 วัฒนธรรมศึกษา 3 (3-0-6)SI 201 Cultural Studyพัฒนาการของแนวคิดทฤษฎีของสํานักคิดตางๆ ซึ่งเปนพื้นฐานในการศึกษาวัฒนธรรมรวมถึงการศึกษาเรียนรูปรากฏการณทางสังคมทั้งในประเทศและตางประเทศที่เปนประเด็นทางวัฒนธรรม เชน การแพรกระจายของวัฒนธรรมรวมสมัย การไหลเวียนเคลื่อนยายวัฒนธรรมขามพรมแดน ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และวัฒนธรรมยอย เปนตนสส.202 แนวคิดทฤษฎีทางสังคมศาสตร 3 (3-0-6)SI 202 Social Theoryพัฒนาการ สาระสําคัญ จุดเดน และขอวิจารณของแนวคิด ทฤษฎีทางสังคมวิทยาครอบคลุมตั้งแตแนวคิดทฤษฎีในยุคคลาสสิกจนถึงยุคปจจุบัน ตลอดจนคายทฤษฎีแนวหลังสมัยใหม(Postmodernism)33สส.203 เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3 (3-0-6)SI 203 Economics for Integrated Studiesหลักทั่วไปของเศรษฐศาสตรจุลภาคและมหภาค โดยครอบคลุมหัวขอตางๆ ไดแกพฤติกรรมผูบริโภค การผลิต และตนทุน พฤติกรรมของหนวยผลิต โครงสรางและพฤติกรรมการแขงขันในตลาดตางๆ แนวคิดความลมเหลวของตลาด บทบาทของภาครัฐในการแทรกแซงตลาดรายไดประชาชาติ ระบบการเงินและการธนาคาร นโยบายการเงินและการคลัง ความสําคัญของการคาและการเงินระหวางประเทศ และขอโตแยงระหวางการคาเสรีกับการปกปองตลาด นอกจากนั้นจะศึกษาความสัมพันธระหวางเศรษฐกิจและปจจัยอื่นๆ เชน การเมือง กฎหมาย สังคม วัฒนธรรม และประเพณีเพื่อใหเขาใจปญหาเศรษฐกิจอยางมีบูรณาการระหวางมิติตางๆ มากขึ้นสส.204 รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3 (3-0-6)


SI 204 Political Science for Integrated Studiesแนวคิดดานรัฐศาสตรโดยครอบคลุมในเรื่องปรัชญาการเมือง ระบบการเมืองการปกครอง การระหวางประเทศ นอกจากนั้นจะศึกษาความสัมพันธระหวางการเมืองการปกครองกับปจจัยอื่นๆ เชน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เปนตน ซึ่งสงผลตอการเปลี่ยนแปลงในสังคมสส.205 การบริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3 (3-0-6)SI 205 Business Administration for Integrated Studiesความหมาย ลักษณะ รูปแบบ ของธุรกิจ รวมทั้งหลักการพื้นฐานทางการบริหารธุรกิจซึ่งประกอบดวย การจัดการ การตลาด การเงิน และการบัญชี นอกจากนั้นจะศึกษาปจจัยทางดานเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สังคม วัฒนธรรม เปนตน ซึ่งสงผลตอการประกอบธุรกิจ ทั้งนี้เพื่อใชเปนแนวทางในการศึกษาวิชาอื่นๆ ตอไปสส.206 สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา 3 (3-0-6)SI 206 Environment and Developmentความสัมพันธของการพัฒนาและคุณภาพของสิ่งแวดลอม โดยเนนการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมโลก การเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี พรอมทั้งวิเคราะหสาเหตุ ผลกระทบและแนวทางแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในปจจุบัน ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลกสส.207SI 207หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื ้องตน 3 (3-0-6)Introduction to Law and Rule by Lawทฤษฎี เหตุผล และแนวคิดที่ทําใหเกิดความจําเปนตองมีกติกาในสังคม ที่มาของกฎหมายขอแตกแตงระหวางการปกครองดวยกฎหมายและการปกครองดวยนิติธรรม รวมทั้งศึกษากฎหมายเบื้องตนที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันสส.208 ปรัชญาและวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร 3 (3-0-6)SI 208 Philosophy of Social Scienceปรัชญาและหลักการสําคัญของการสรางองคความรูทางสังคมศาสตร ตลอดจนจุดมุงหมายของการวิจัยทางสังคมศาสตร รวมทั้งศึกษาถึงระเบียบวิธีวิจัยตามแนวทางของการวิจัยเชิงคุณภาพ34สส.209 การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร 3 (3-0-6)


SI 209 Quantitative Researchปรัชญาหลักการ และกระบวนการขั้นตอนของการวิจัยเชิงปริมาณ ตั้งแตการกําหนดคําถามการวิจัย การตั้งสมมติฐาน รวมทั้งสามารถสรางและทดสอบเครื่องมือวัดเพื่อนําไปใชในการฝกปฏิบัติการวิจัยเชิงปริมาณ การประมวลผลขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป ตลอดจนการวิเคราะห ตีความขอมูล การนําเสนอผลการศึกษา และการเขียนรายงานการวิจัยสส.211 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 3 (3-0-6)SI 211 English for Social Sciencesวิชาบังคับกอน : สอบไดสษ. 172ทักษะการอานประเภทตางๆ ที่มีเนื้อหาดานสังคมศาสตรและทักษะการเขียนความเรียงประเภทตางๆสส. 212 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 (3-0-6)SI 212 English for Communicationวิชาบังคับกอน : สอบไดสษ. 172ทักษะการ พูด อาน ฟง และเขียนภาษาอังกฤษ รวมทั้งคําศัพท วลี สํานวน และรูปประโยคตางๆ ในระดับกลางและระดับสูงที่จําเปนในการฟงและการพูดเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวันในสถานการณตางๆสส.321 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ 3 (3-0-6)SI 321 Introduction to International Lawที่มาและแนวคิดของกฎหมายระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางกฎหมายระหวางประเทศกับกฎหมายภายในประเทศ บุคคลในกฎหมายระหวางประเทศ เขตอํานาจของรัฐ และกฎหมายระหวางประเทศเฉพาะดาน เชน เศรษฐกิจระหวางประเทศ สิทธิมนุษยชน สิ่งแวดลอมระหวางประเทศเปนตนสส.322 เอเชียในบริบทโลก 3 (3-0-6)SI 322 Asia in Global Contextความสําคัญของเอเชีย บทบาทและนโยบายตางประเทศ ทั้งทางดานการเมืองและเศรษฐกิจ ความรวมมือในระดับโลกและระดับภูมิภาค ทั้งในกรอบพหุภาคีและทวิภาคี เชน องคการ<strong>สห</strong>ประชาชาติ (UN) องคการการคาโลก (WTO) ความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก(APEC) อาเซียน+3 (อาเซียน+ จีน เกาหลี และญี่ปุน) และกลุมอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS)สส.323 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ 3 (3-0-6)35


SI 323 International Economic Integrationการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศรูปแบบตางๆ ทฤษฎี แนวคิด และผลกระทบของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศทั้งในดานการคา การเงิน และ การลงทุน รวมถึงประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นจากการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศรูปแบบตางๆ ของประเทศกําลังพัฒนาและของประเทศไทยสส.324 แนวคิดวาดวยการพัฒนา 3 (3-0-6)SI 324 Concepts and Theories on Developmentความหมาย หลักการ ปรัชญา แนวคิด ทฤษฎี อุดมการณ และทางเลือกของการพัฒนาจากสํานักคิดทางสังคมศาสตรตางๆ มุงพิจารณาถึงความสัมพันธเกี่ยวของระหวางปจจัยทางกายภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองที่มีผลตอการพัฒนายุทธศาสตรการพัฒนาและผลกระทบจากการพัฒนาสส.325 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม 3 (3-0-6)SI 325 Social And Cultural Capitalความหมาย แนวคิด มโนทัศน และองคประกอบที่เกี่ยวกับทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมโดยชี้ใหเห็นความแตกตางของทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมกับทุนทางเศรษฐกิจ ตลอดจนชี้ใหเห็นบทบาทของทุนทางสังคมและวัฒนธรรมสําหรับนํามาประยุกตใชในการพัฒนาสังคมทั้งในระดับทองถิ่นและระดับประเทศสส.326 การบริหารงานองคกร 3 (3-0-6)SI 326 Organizational Managementหลักการ แนวคิด ทฤษฏี การบริหารงานองคกร พฤติกรรมองคกร โครงสรางองคกรวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการบริหารจัดการและการพัฒนาองคกร การออกแบบองคกร การประเมินผลรวมถึงแนวทางการพัฒนาองคกรอยางเปนระบบเพื่อเพิ่มความสามารถและประสิทธิภาพขององคกรสส.331 หลักไวยากรณจีน 3 (3-0-6)SI 331 Chinese Grammarวิชาบังคับกอน : สอบไดจน.172โครงสรางไวยากรณจีนตั้งแตระดับพื้นฐานจนถึงระดับสูง โดยเนนการวิเคราะหชนิดและหนาที่ของคําวลี และประโยค36สส.332 ทักษะการอานและเขียนภาษาจีน 3 (3-0-6)


SI 332Chinese Reading and Writing Skillsวิชาบังคับกอน : สอบได จน.172หลักการเขียนและฝกทักษะการเขียน พรอมทั้งฝกทักษะการอานจับใจความและสรุปความจากบทความที่เกี่ยวของกับสังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจของจีนสส.333 ประวัติศาสตรและอารยธรรมจีน 3 (3-0-6)SI 333 History and Civilization of Chinaประวัติศาสตรและอารยธรรมยุคตางๆของจีน ตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร จนถึงสมัยปจจุบันพัฒนาการของอารยธรรมจีนโบราณ พัฒนาการทางสังคม การเมืองการปกครองของจีนในยุคราชวงศทั้งความรุงเรืองและความเสื่อมในประวัติศาสตรจีนจนกระทั่งถึงสมัยการปลดแอกสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน ค.ศ.1949สส.334 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน 3 (3-0-6)SI 334 Economy and Politics of Chinaการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจจีน ตั้งแตการปฏิวัติสังคม ค.ศ.1949 การปดประเทศถึงนโยบายการปฏิรูป การเปดประเทศ สูระบบเศรษฐกิจตลาดแบบสังคมนิยมใน ค.ศ.1978 จนถึงปจจุบันสส.335 สังคมและวัฒนธรรมจีนรวมสมัย 3 (3-0-6)SI 335 Contemporary Chinese Society and Cultureสถาบันและองคกรตางๆ ในทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของจีนการสรางความเปนหนึ่งเดียวในสภาพแวดลอมที่เปนพหุสังคมของประเทศจีน ตลอดจนปญหาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของจีนในปจจุบันสส.341 การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่องอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 (3-0-6)SI 341 Selected Reading in the Mekong Sub-regionsวิชาบังคับกอน : สอบไดวิชา สษ.172เรียนรูคําศัพท วลี สํานวนและรูปประโยคเพื่อใชในการอานบทความภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับอาณาบริเวณศึกษา โดยเนนไปที่อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง37สส.342 บริหารธุรกิจนานาชาติ 3 (3-0-6)


SI 342 International Business Managementทฤษฎีการคาระหวางประเทศ รูปแบบนโยบายธุรกิจ และกลยุทธในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ทั้งนี้รวมถึงการบริหารการตลาด การเงินและการจัดการทรัพยากรบุคคลสําหรับธุรกิจระหวางประเทศ ตลอดจนสภาพแวดลอมดานตางๆ ในการประกอบธุรกิจสส.343 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 (3-0-6)SI 343 History of the Mekong Sub-regionsประวัติศาสตรในประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ตั้งแตสมัยรัฐจารีต สมัยอาณานิคม และการกอตัวของรัฐชาติสส.344 ภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐกิจสังคมของกลุมประเทศในอนุ3 (3-0-6)ภูมิภาคลุมแมน้ําโขงSI 344 Political Geography and Socio-economic Context ofthe Mekong Sub-regionsปจจัยทางภูมิศาสตร และความเชื่อมโยงกับการพัฒนาทางการเมืองและความสัมพันธระหวางประเทศในกลุมอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ศึกษาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ตลอดจนผลกระทบทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศเหลานี้สส.345 วัฒนธรรมและสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุม3 (3-0-6)แมน้ําโขงSI 345 Culture and Societyof the Mekong Sub-regionsสถาบันและองคกรตางๆ ในทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประเทศลุมแมน้ําโขง ตลอดจนประเด็นปญหาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประเทศลุมน้ําโขงในปจจุบันสส.351 คติชนและวิถีชีวิตพื้นบาน 3 (3-0-6)SI 351 Folkloreand Folklifeความหมาย พัฒนาการ ขอบขาย ประเภท และลักษณะของคติชนและวิถีชีวิตพื้นบานทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะ วัฒนธรรมวัตถุ การละเลนและศิลปะการแสดงพื้นบาน รวมไปถึงความเชื่อและประเพณีพิธีกรรมพื้นบาน อีกทั้งการบูรณาการคติชนและวิถีชีวิตพื้นบานกับศาสตรและศิลปแขนงอื่นๆตลอดจนการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม38สส.352 กลุม องคกร และเครือขายทางสังคม 3 (3-0-6)


SI 352 Group, Organization and Social Networksแนวคิด ความหมาย องคประกอบของกลุม เครือขายทางสังคม และองคกรภาคประชาชนความสําคัญและความจําเปนของกลุม กระบวนการพัฒนากลุมและเครือขายสูการสรางองคกรภาคประชาชน การเสริมพลัง การหนุนเสริมทางสังคม การสรางและพัฒนาเครือขาย ภาคีความรวมมือรวมถึงการเสริมพลังขององคกรตาง ๆ อันจะนําไปสู กระบวนการขับเคลื่อนทางสังคมเศรษฐกิจ การเมืองที่สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและการจัดการสส.353 ลานนาศึกษา 3 (3-0-6)SI 353 Lanna Studiesการกอตัวและพัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรม ศิลป<strong>วิทยาการ</strong> ภูมิปญญาระบบเศรษฐกิจการเมืองการปกครองของชุมชนในเขตภาคเหนือของประเทศไทยและประเทศใกลเคียงที่มีความสัมพันธกัน ความรุงเรืองของรัฐอาณาจักรจนกระทั่งถึงยุคสิ้นสุดอํานาจของเจาผูครองนครตาง ๆ ในลานนาการผนวกรวมกับรัฐสวนกลาง การเปลี่ยนแปลงและการลมสลายของลานนา รวมทั้งการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อฟนฟูศิลปวัฒนธรรมและเกียรติภูมิลานนาเพื่อการพัฒนาที่เหมาะสมสอดคลองกับทองถิ่นสส.354 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3 (3-0-6)SI 354 Socio – Cultural Resource Managementพัฒนาการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ รวมถึงบทบาทของภาครัฐ องคกร หนวยงาน และภาคสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และผลกระทบจากการพัฒนาและการจัดการในรูปแบบตางๆสส.355 การสื่อสารเพื่อจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 3 (3-0-6)SI 355 Communication for Socio-Cultural ResourcesManagementหลัก แนวคิด ทฤษฎีในการสื่อสารขั้นตน กิจกรรมการสื่อสาร สถานการณการสื่อสารบริบทการสื่อสาร องคประกอบการสื่อสาร เครื่องมือการสื่อสาร กลยุทธการจัดการการสื่อสาร การตลาดและการประชาสัมพันธ เพื่อการพัฒนาทักษะดานการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน39สส.361 อุตสาหกรรมการทองเที่ยว 3 (3-0-6)


SI 361 Tourism Industryวิวัฒนาการการทองเที่ยวของประเทศไทยและนานาชาติในแตละยุค องคประกอบและรูปแบบของการทองเที่ยวและบริการ องคกรที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวทั้งในประเทศและระหวางประเทศ มาตรฐานการทองเที่ยว รวมทั้งการตลาดการทองเที่ยวระดับตน โดยเนนเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานสส.362 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว 3 (3-0-6)SI 362 Tourism Business Managementแนวคิดการจัดการธุรกิจทองเที่ยว การดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของธุรกิจทองเที่ยว ความสัมพันธของโครงสรางของธุรกิจทองเที่ยว ตลอดจนธุรกิจนําเที่ยวและธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของสส.363 ทรัพยากรการทองเที่ยว 3 (3-0-6)SI 363 Tourism Resourceความหมายความสําคัญประเภทลักษณะของทรัพยากรการทองเที่ยวของไทยและของโลกเอกลักษณและคุณคาของแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรศิลปะโบราณสถานศาสนสถานและแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติปจจัยทางภูมิศาสตรสิ่งแวดลอมและอุปสงคของการทองเที่ยวที่มีผลกระทบตอทรัพยากรการทองเที่ยวการประเมินศักยภาพทรัพยากรการทองเที่ยวเพื่อการพัฒนา การอนุรักษและการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวที่สําคัญสส.364 ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว 3 (3-0-6)SI 364 Geography and Tourism Relationความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยวในเชิงนโยบาย แนวคิด ปจจัยทางภูมิศาสตรที่ชวยสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยว รูปแบบในการจัดการการทองเที่ยวแตละพื้นที่ทางภูมิศาสตรที่สอดคลองกับที่ตั้ง การเขาถึงและสภาพแวดลอม ผลกระทบจากการทองเที่ยวทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม การอนุรักษและการพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยวตลอดจนการแกไขปญหาที่เกิดจากการทองเที่ยว40สส.365 สังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยว 3 (3-0-6)SI 365 Sociology of Tourismความหมาย หลักการ และความสําคัญของสังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยว ตลอดจนการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวของกับการทําความเขาใจ วิพากษ ตรวจสอบกระบวนการคิดในการจัดการทองเที่ยว การศึกษาพฤติกรรมของนักทองเที่ยวพรอมทั้งอภิปรายใหเห็นประเด็นทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวของการจัดการทองเที่ยวสส.371 ศิลปะและวรรณกรรมจีน 3 (3-0-6)


SI 371 Chinese Arts and Literatureประเภท บทบาท ที่มา แนวคิดในการสรางสรรคงานศิลปะและวรรณกรรมจีน วิเคราะหปจจัยที่มีอิทธิพลตอศิลปะและวรรณกรรมจีน รวมทั้งแงมุมทางสังคมและวัฒนธรรมจีนในชวงตาง ๆ ที่สําคัญ ซึ่งสะทอนใหเห็นไดจากศิลปะและวรรณกรรมจีนสส.372 การทองเที่ยวในจีน 3 (3-0-6)SI 372 Tourism in Chinaแหลงทองเที่ยวและทรัพยากรการทองเที่ยวที่สําคัญ อภิปรายประเด็นปญหาและอุปสรรคของการจัดการธุรกิจทองเที่ยวการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของธุรกิจทองเที่ยวที่มีบทบาทตอสถานการณการทองเที่ยวจีนสส.373 บูรณาการอาเซียน 3 (3-0-6)SI 373 ASEAN Integrationแนวคิดทฤษฏีและพัฒนาการความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตั้งแตภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบัน รวมทั้งศึกษาบทบาทของสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตในอดีต ปจจุบัน และการรวมตัวในรูปแบบประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)โดยศึกษาวิเคราะหโครงสรางหนาที่ บทบาท ปญหาและอุปสรรคของสมาคมอาเซียนในระบบโลกสส.374SI 374การทองเที ่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3 (3-0-6)Tourism in Southeast Asiaแหลงทองเที่ยวและทรัพยากรการทองเที่ยวที่สําคัญ อภิปรายประเด็นปญหาและอุปสรรคของการจัดการธุรกิจทองเที่ยวการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของธุรกิจทองเที่ยวที่มีบทบาทตอสถานการณการทองเที่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใตสส.375 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น 3 (3-0-6)SI 375 Civil Society and Local Democratic Governanceเปรียบเทียบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยมที่ใชอํานาจผานตัวแทน(representative democracy) กับประชาธิปไตยแบบประชาชนปกครองตนเอง (self - governeddemocracy) วิวัฒนาการของรัฐและประชาสังคม ความคิดเรื่องการแบงอํานาจหนาที่ที่มีตอสังคมระหวางรัฐกับประชาสังคม การสรางสํานึกแหงความเปนพลเมือง ความสัมพันธระหวางประชาสังคมกับการพัฒนาประชาธิปไตยในสังคมไทย41สส.376 ศิลปะหัตถอุตสาหกรรมและการจัดการ 3 (3-0-6)


SI 376 Industrial Crafts and Managementทรัพยากร สภาพแวดลอม รวมทั้งสังคมและวัฒนธรรมที่เปนปจจัยกอใหเกิดแรงบันดาลใจเอกลักษณ และภูมิปญญาในการผลิตศิลปะหัตถอุตสาหกรรมรูปแบบตาง ๆ ตลอดจนการพัฒนาและการจัดการที่เกี่ยวของสส.377 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการการทองเที่ยว 3 (3-0-6)SI 377 English for Tourism Managementโครงสรางคําศัพทสํานวนภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการทองเที่ยว และพัฒนาทักษะในการใหขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวตางๆ ไดสส.378 หลักนันทนาการเพื่อการทองเที่ยว 3 (3-0-6)SI 378 Principles of Recreation for Tourismแนวคิดและหลักนันทนาการ ไดแก ความหมาย พัฒนาการ ประเภท และการจัดกิจกรรมนันทนาการในรูปแบบตาง ๆ เพื่อนําไปปรับใชในการจัดการการทองเที่ยวสส.381 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ 3 (3-0-6)SI 381 English for Careersโครงสราง ศัพท สํานวนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสํานักงานและการติดตอธุรกิจสส.382 การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตร 3 (3-0-6)SI 382 Skill Development in Presenting Information ofSocialSciencesหลักการและวิธีปฏิบัติในการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตรในรูปแบบของการเขียนและการพูด ไดแก การเขียนสารคดีประเภทตางๆ การเขียนบทโทรทัศน การเขียนเชิงสรางสรรค การพูดรายงาน การสัมมนา และการอภิปรายสส.383 ภูมิทัศนวัฒนธรรม 3 (3-0-6)SI383 Cultural landscapeความสัมพันธของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติกับมนุษย การพัฒนาเพื่อสรางความเจริญงอกงามทางคุณคาและความสําคัญตามกระบวนการจัดการภูมิทัศนวัฒนธรรม42สส.384 องคกรกับความรับผิดชอบตอสังคม 3 (3-0-6)


SI384 Organization and Social Responsibilityแนวคิด ทฤษฏี กระบวนการ และความสําคัญเกี่ยวกับความรับผิดชอบขององคกรที่มีตอสังคมในดานตางๆ ตลอดจนแนวคิดองคกรธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ในยุคปจจุบัน รวมทั้งปญหาและผลกระทบอันเกิดจากการดําเนินงานที่ขาดจริยธรรม เพื่อกระตุนจิตสํานึกในการรับผิดชอบรวมกันบนพื้นฐานของการพัฒนาและเกิดประโยชนรวมกันอยางยั่งยืนและเปนสุขสส.385 ประเด็นปจจุบันดานความสัมพันธระหวางประเทศ 3 (3-0-6)SI 385 Current Issues in International Relationsความหมายและความสัมพันธของการเมืองเศรษฐกิจ สังคมพัฒนาการการเมืองระดับสากล การเมืองและการปรับตัวของประเทศพัฒนาและกําลังพัฒนาระบบเศรษฐกิจโลก ผลกระทบของโลกาภิวัตนทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธของระบบโลกในปจจุบันสส.386 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3 (3-0-6)SI 386 Human Resource DevelopmentinSoutheast Asiaพัฒนาการของแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย นโยบายและปจจัยที่มีผลตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตตลอดจนแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศไทยเมื่อเขาสูความเปนประชาคมอาเซียนสส.431 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีน 3 (3-0-6)SI 431 Law and Culture of Business Transactions in Chinaแนวคิดปรัชญาและวัฒนธรรมจีนที่มีผลกระทบโดยตรงตอทัศนคติในการดําเนินธุรกิจของผูคาชาวจีน พรอมทั้งวัฒนธรรมและการสรางความสัมพันธในการดําเนินธุรกิจระหวางผูคาชาวจีนกับชาวตางชาติ นอกจากนี้ยังรวมถึงการนําแนวคิดระบบสังคมนิยมแบบจีน (Socialism with Chinesecharacteristics) มาปรับใชในการดําเนินธุรกิจ พรอมทั้งเรียนรูกฎหมาย กฎระเบียบและขอบังคับที่เกี่ยวของกับการคาและการลงทุนในจีนทั้งในระดับองคกรธุรกิจและปฏิสัมพันธระหวางองคกรธุรกิจสส.432 การเมืองและนโยบายตางประเทศของจีน 3 (3-0-6)SI 432 Politics and Foreign Policy of Chinaการเมืองและการตางประเทศของจีน การดําเนินนโยบายความสัมพันธระหวางจีนกับประเทศมหาอํานาจโลกทางการเมืองและเศรษฐกิจ ประเทศกําลังพัฒนา และประชาคมอาเซียน43สส.433 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในจีน 3 (3-0-6)


SI 433 Ecology and Environment Problem in Chinaปญหาดานนิเวศวิทยา และสิ่งแวดลอมของประเทศจีน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชที่ดิน การตั้งถิ่นฐานของมนุษย และมลภาวะตลอดจนศึกษาผลกระทบของการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติประเภทตางๆ ในจีนสส.434 การคาและการลงทุนจีน 3 (3-0-6)SI 434 Trade and Investment of Chinaสถานการณการคาและการลงทุนในจีน นโยบายและกฎหมายทางการคาและการลงทุนของจีน ตลอดจนความสัมพันธทางธุรกิจของจีนกับตางประเทศสส.435 สัมมนาประเด็นจีนศึกษา 3 (3-0-6)SI 435 Seminar on Chinese Studiesประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาหรือความเปลี่ยนแปลงของประเทศจีน ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และความสัมพันธของกลุมประเทศจีนกับสังคมโลกสส.441 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุม3 (3-0-6)แมน้ําโขงSI 441 Trade and Investment in the Mekong Sub-regionsสถานการณการคาและการลงทุนในกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ความสัมพันธทางธุรกิจกับประเทศตางๆ ในอนุภูมิภาค รวมทั้งโอกาสและลูทางการคา และการลงทุนของไทยในกลุมประเทศเหลานี้ รวมถึงความสัมพันธทางการคาและความสัมพันธทางการเมืองระหวางประเทศในกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงสส.442 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 (3-0-6)SI 442 Ecology and Environmental Problem in the MekongSub-regionsปญหาดานนิเวศวิทยา และสิ่งแวดลอมของประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชที่ดิน การตั้งถิ่นฐานของมนุษย ตลอดจนศึกษาผลกระทบของการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติประเภทตางๆ ในประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง44สส.443 จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3 (3-0-6)


SI 443 Overseas Chinese in Southeast Asiaพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ วัฒนธรรมของชุมชนชาวจีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใตสส.444 การพัฒนาและการจัดการโลจิสติกส 3 (3-0-6)SI 444 Logistics Management and Developmentความหมาย โครงสราง ลักษณะ ตลอดจนความสําคัญและการจัดการระบบโลจิสติกสทั้งนี้เพื่อการบริหารจัดการในดานการเคลื่อนยาย ไหลเวียน และความเชื่อมโยงของสินคาและบริการตลอดจนขอมูลขาวสารตางๆ ระหวางสถานที่เพื่อใหมีประสิทธิภาพดานตนทุนและเวลา ในการตอบสนองตอความตองการและพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันสส.445 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 3 (3-0-6)SI 445 Seminar on the Mekong Sub-regions Studies Issuesประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาหรือความเปลี่ยนแปลงของกลุมประเทศลุมแมน้ําโขง ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และความสัมพันธของกลุมประเทศลุมแมน้ําโขงกับสังคมโลกสส.451 ประวัติศาสตรและโบราณคดีชุมชน 3 (3-0-6)SI 451 Historical and Community Archaeologyแนวคิด คุณคาและความสําคัญของประวัติศาสตรและทรัพยากรทางโบราณคดีการบูรณาการประวัติศาสตรเพื่อการจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีการมีสวนรวมของชุมชนที่มีตอการจัดการประวัติศาสตรและทรัพยากรทางโบราณคดีอยางยั่งยืนสส.452 ชาติพันธุ รัฐ และโลกาภิวัตน 3 (3-0-6)SI 452 Ethnicity State and Globalizationการกอเกิดพัฒนาการและการแพรกระจายของกลุมชาติพันธุสําคัญในเอเชียรวมถึงแนวคิดทฤษฎีทางชาติพันธุศึกษาตลอดจนศึกษาถึงการกอกําเนิดของรัฐชาติพัฒนาการของโลกาภิวัตนความสัมพันธระหวางโลกาภิวัตนกับทองถิ่นตลอดจนผลที่ตามมาของการปะทะประสานกันระหวางกลุมชาติพันธุรัฐและโลกาภิวัตน45สส.453 อุตสาหกรรมวัฒนธรรม 3 (3-0-6)


SI 453 Cultural Industryพัฒนาการของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมในสังคมตะวันตกและสังคมตะวันออก วัฒนธรรมในฐานะปริมณฑลใหมแหงความรวมมือระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ บทบาทขององคการระหวางประเทศในการสรางความหลากหลายทางวัฒนธรรม การสรางรายไดจากวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมวัฒนธรรม รวมทั้งการสรางพื้นที่ใหแกสินคาทางวัฒนธรรมสส.454 พิพิธภัณฑศึกษา 3 (3-0-6)SI 454 Museologyประวัติความเปนมาแนวคิด บทบาทจุดมุงหมายของการจัดตั้งพิพิธภัณฑประเภทตาง ๆวิธีการจัดแสดงการเก็บรักษาและการจัดกิจกรรมของพิพิธภัณฑจรรยาบรรณของพิพิธภัณฑและบุคลากรพิพิธภัณฑกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของกับงานดานพิพิธภัณฑสส.455 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและ3 (3-0-6)วัฒนธรรมSI 455 Seminar on Socio - Cultural Resources Managementประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม โดยการใชแนวคิดทฤษฏีมาเปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหปรากฏการณ จนนําไปสูการนําเสนอประเด็นปญหาในรูปแบบเวทีสัมมนา รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการถกประเด็นปญหาตางๆสส.461 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ 3 (3-0-6)SI 461 Ecotourismความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศการจัดการและควบคุมผลกระทบของการทองเที่ยวในระบบนิเวศกระบวนการสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับพื้นที่โดยเนนใหเกิดการใชประโยชนอยางยั่งยืนสส.462 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อการทองเที่ยว 3 (3-0-6)SI 462 Human Resource Developmentfor Tourismแนวคิดหลักการและการวางแผนเชิงกลยุทธในการจัดการทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวปญหาของการจัดการทรัพยากรมนุษยบทบาทของภาครัฐและธุรกิจการทองเที่ยวในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย กระบวนการในการบริหารกลยุทธกระบวนการวางแผนการตัดสินใจเชิงกลยุทธการนํากลยุทธไปปฏิบัติการควบคุมเชิงกลยุทธสําหรับการทองเที่ยวสส.463 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3 (3-0-6)46


SI 463 Sustainable Tourism Developmentแนวคิด ทฤษฎี และจุดมุงหมายการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ผลกระทบของการทองเที่ยวภายใตเงื่อนไขของการพัฒนากระแ<strong>สห</strong>ลักตอบริบทแวดลอมตางๆ การสรางสมดุลระหวางเจาบานและผูมาเยือนการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวใหสมดุลกับความสามารถในการรองรับของพื้นที่จริยธรรมการทองเที่ยว ตลอดจนความสําคัญ บทบาท และความรวมมือเชิงพหุภาคี ความสอดคลองของนโยบายของรัฐรวมทั้งการวางแผนและการสรางนโยบายการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนโดยเนนใหเห็นกลไกทางความคิดที่เปนระบบ ขั้นตอนการวางแผนการกําหนดนโยบายพัฒนาการทองเที่ยวทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติไปจนถึงระดับนานาชาติสส.464 นโยบายและแผนการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3 (3-0-6)SI 464 Policyand Plan forSustainable TourismManagementความหมายแนวคิดหลักการการวิเคราะหสภาพแวดลอมนโยบายภาครัฐและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ และปจจัยที่สงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวแบบยั่งยืนตลอดจนศึกษาระเบียบวิธีปฏิบัตินานาชาติและการประยุกตใชหลักการกับการดําเนินการจริงสส.465 สัมมนาประเด็นการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3 (3-0-6)SI 465 Seminar on Sustainable Tourismประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนโดยการใชแนวคิดทฤษฏีมาเปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหปรากฏการณทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค จนนําไปสูการนําเสนอประเด็นปญหาในรูปแบบเวทีสัมมนา รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการถกประเด็นปญหาตางๆสส.471 ทักษะการฟงและการพูดภาษาจีน 3 (3-0-6)SI 471 Chinese Listening and Speaking Skillsวิชาบังคับกอน : สอบได จน. 172ทักษะการฟงและการพูดซึ่งเปนเนื้อหาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันโดยการฟงจับใจความรวมไปกับการดูวีดิทัศน มุงเนนการเลาเรื่อง การสนทนาโตตอบไดอยางเปนธรรมชาติและถูกตองตามหลักไวยากรณ47สส.472 ภาษาจีนสําหรับการประกอบอาชีพ 3 (3-0-6)


SI 472 Chinese for Careersวิชาบังคับกอน : สอบได จน. 172คําศัพทและบทสนทนาภาษาจีนซึ่งใชในการประกอบอาชีพโดยทั่วไป พรอมทั้งเรียนรูการเขียนจดหมายธุรกิจเบื้องตน และการเขียนประวัติสวนตัวและใบสมัครเพื่อประกอบการสมัครงานโดยมุงเนนการเตรียมความพรอมใหผูเรียนสามารถนําความรูไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพไดจริงสส.473 การเคลื่อนยายและการขามแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3 (3-0-6)SI 473 Mobility and Cross-Border Movement in Southeast Asiaพัฒนาการและปจจัยของการเคลื่อนยายและการขามแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใตกรอบกติกาความตกลงในระดับภูมิภาคที่เกี่ยวของกับการยายถิ่นขามประเทศ ตลอดจนสภาพปญหาแนวโนม และผลกระทบที่เกิดขึ้นสส.474 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุมประเทศอนุภูมิภาค3 (3-0-6)ลุมแมน้ําโขงSI 474 Urban and Rural in the Mekong Sub-regionsแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน พัฒนาการของเมืองและชนบทในประเทศลุมน้ําโขง ตั้งแตปจจัยที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง นโยบายรัฐ และปจจัยอื่นๆ รวมทั้งโครงสรางทางสังคมที่เอื้อใหเมืองมีการเติบโตอยางรวดเร็ว ตลอดจนวิเคราะหสภาพปญหาและที่มาของความเหลื่อมล้ํา ชองวางระหวางเมืองกับชนบท อันกอใหเกิดปญหาอื่นๆ ตามมา และแนวทางการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําจากการพัฒนาดังกลาวสส.475 มนุษย สังคม และวัฒนธรรมในวรรณกรรมและภาพยนตร 3 (3-0-6)SI 475 Man, Society and Culture in Literature and Filmลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมตาง ๆ ซึ่งปรากฏเปนภาพแทนในวรรณกรรมและภาพยนตรโดยเนนศึกษาชีวิตมนุษยที่สัมพันธกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมรวมทั้งวรรณกรรมและภาพยนตรในฐานะศิลปะและสื่อมวลชน ตลอดจนการนําเสนอทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมผานงานวรรณกรรมและภาพยนตรสส.476 หลักการสื่อสารตางวัฒนธรรม 3 (3-0-6)SI 476 Principles of Intercultural Communicationหลัก แนวคิด ทฤษฎี ความหมาย องคประกอบ หลักจิตวิทยาวัฒนธรรม บริบทแวดลอมและความแตกตางทางสังคมวัฒนธรรมในบุคลิกภาพการสื่อสาร ดานวัจนภาษา และอวัจนภาษาตลอดจนกระบวนการเขาสูและปรับตัวในวัฒนธรรมธรรมใหมรวมถึงการฝกอบรมทางวัฒนธรรมสส.477 การสื่อสารเพื่อการจัดการการทองเที่ยว 3 (3-0-6)48


SI 477 Communication for Tourism Managementแนวคิดทฤษฎีการสื่อสารความสําคัญกระบวนการเทคนิคและเครื่องมือในการสื่อสารที่ใชเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในทุกระดับตั้งแตการสื่อสารระหวางบุคคลไปจนถึงการสื่อสารมวลชนประโยชนและความสําคัญของการสื่อสารที่มีผลตออุตสาหกรรมการทองเที่ยวสส.478 การทองเที่ยวกับชุมชนทองถิ่น 3 (3-0-6)SI 478 Tourismand Local Communityหลักการในการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวและทรัพยากรวัฒนธรรม เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืนวิเคราะหบทบาทของชุมชนในการจัดการการทองเที่ยว เนนการศึกษาการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการทรัพยากร ตลอดจนการสรางศักยภาพและเครือขายการทองเที่ยวของชุมชนบนพื้นฐานของการมีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่นสส.500 ภาคนิพนธ 4หนวยกิตSI500 Directed Researchคนควาในประเด็นตางๆ ที่นักศึกษาสนใจ โดยอยูภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาเพื่อคนควา วิเคราะห และสังเคราะหขอมูลตามระเบียบวิธีวิจัย มีการนําเสนอผลการศึกษาในรูปแบบของภาคนิพนธ(คนควาและนําเสนอผลการศึกษา)สส.501 กระบวนการทํางานในชุมชน 3 หนวยกิตSI 501 Community Participatory Field Workชุมชนเมืองและชนบทในประเด็นตาง ๆ ทั้งฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม สุขอนามัย ตลอดจนวัฒนธรรมและภูมิปญญา รวมถึงแนวทางการเขามามีสวนรวมในการทํางานกับชุมชนในลักษณะตาง ๆ โดยนักศึกษาจะตองเขาไปใชชีวิตในชุมชนและเสนอรายงาน(ฝกภาคสนามประมาณ 180 ชั่วโมง)สส.502 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 3หนวยกิตSI 502 Practicum in Interdisciplinary Studiesการฝกประสบการณการทํางานภาคปฏิบัติ โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาเขาไปรวมทํางานในองคกรของรัฐและเอกชน สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย บริษัท องคกรทางธุรกิจ หรือองคกรพัฒนาเอกชน (NGO) โดยเลือกศึกษาในประเด็นที่นักศึกษาสนใจและเกี่ยวของกับสาขาวิชาเอก โดยมีการเขียนรายงานประกอบการฝกงาน(ฝกภาคสนามประมาณ 135 ชั่วโมง)3.1.5.2 คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ49


TU 100 Civic Education 3 (3-0-6)Study of principles of democracy and government by rule of law. Students willgain understanding of the concept of “citizenship” in a democratic rule and will have opportunityfor self-development to become a citizen in a democratic society and to take responsibility inaddressing issues in their society through real-life practices.TU 110 Integrated Humanities 2(2-0-4)To study the history of human beings in different periods, reflecting their beliefs,ideas, intellectual and creative development. To instill analytical thinking, with an awareness ofthe problems that humanities are confronting, such as the impacts of: technologicaldevelopment, violence, wars, and various world crises so that we can live well in a changingworld.TU 111 Thailand in Historical, Social and Cultural Perspective 3 (3-0-6)To explore Thai social, cultural and intellectual backgrounds from the old days(known as the Kingdom of Siam) until today. To emphasize the formation of the Thai identity aswell as directions towards the development of Thai culture and society in the globalizationcontext.(Field trips are obligatory)TU 116 Man and Arts: Visual Art, Music and Performing Arts 3 (3-0-6)This course is a study of art in relation to its function and the development ofpeople, society and environment by focusing on various creative works, such as visual arts,music and performing arts, depicting the culture and perception of mankind. The course alsoaims to instill learners with real awareness of art values through personal experience, and alsothe appreciation of the aesthetic values of creative works. An emphasis is placed upon theinfluence of art on Thai values and the Thai way of life.TU 117 Development of the Modern World 3 (3-0-6)To study the development of world societies from 1500 A.D. to the present. Anemphasis is placed upon the relationship of economy, political system, administration, society,culture, science and technology, leading to modern world changes.50TU 120 Integrated Social Sciences 2(2-0-4)This interdisciplinary course focuses on the fact that social sciences play an important role for


society. The course explains the origins of the social sciences and the modern world, theseparation of social sciences from pure sciences, and the acceptance of the scientific paradigmfor the explanation of social phenomenon. It also involves the analysis of important disciplines,concepts, and major theories of social sciences by pointing outstrengths and weaknesses ofeach one. Included is the analysis of contemporary social problems, using knowledge andvarious perspectives—-individual, group, macro-social, national and world perspectives-- to viewthose problems.TU 121 Man and Society 3 (3-0-6)To study general characteristics of human societies, elements of social structures andprocedures, social changes and evolution resulting from such factors as environment, andtechnology, etc. To analyze various kinds of societies to find out the relationship amongelements within each society, and the relationship between society and environment. Tostrengthen ethics and awareness on social responsibilities both in national and internationallevels.TU 122 Law in Everyday Life 3 (3-0-6)To study general aspects of law as correct patterns of human conduct in society. To equiplearners with basic principles of public law (rules of law), and its values which are associatedwith citizens’ moral core. To provide basic knowledge in public law and private law, involving theissues of rights and duties, dispute settlement, Thai Justice procedures, the usage andinterpretation of law principles, with an emphasis on case studies in our daily lives.TU 124 Society and Economy 3 (3-0-6)To provide guidelines for the study and analysis of society and economy. To analyze social andeconomic evolution in Thailand and worldwide. To emphasize the influence of culture andinstitutions on the social and economic system.51TU 130 Integrated Sciences and Technology 2(2-0-4)To study basic concepts in science, scientific theory and philosophies. Standard methods for


scientific investigations. Important evolutions of science and technology influencing human livesas well as the impacts of science and technology on economies, societies and environments.Current issues involving the impacts of science and technology on moral, ethics and humanvalues.TU 143 Man and Environment 3 (3-0-6)To study the relationship between people and the environment by focusing on thecoexistence of living things in a way that it creates balance, enhances optimal use, and helpsto promote effective and long-lasting environmental management. To discuss the impacts ofscientific and technological development on the environment, society, and economy as well asthe importance of the environment in the present and future are for Mankind.TU 151 General College Mathematics 3 (3-0-6)(A non-credit subject to the students’ faculty code of 02, 04 and from 09 to 14,16,17)To review Set; real number system; relations; functions and applications; introduction tolinear programming; logic; measurement of interest; installment payment and income tax; descriptivestatistics; index number; introduction to probability ; basic concept of inferential statistics; statisticalpackages.TU 153 General Knowledge about Computers 3 (3-0-6)To study the essential components of computer systems including hardware,software, data and its processing; basic data communication, network and the Internet,principles of problem solving using computers and software packages, security, ethics and lawsrelated to computer usage and information systems.TU 155 Elementary Statistics 3 (3-0-6)To identify the Nature of statistical problems; review of descriptive statistics;probability; random variables and some probability distributions (binomial, poison and normal) ;elementary sampling and sampling distributions; estimation and hypotheses testing for one andtwo populations; one-way analysis of variance; simple linear regression and correlation; chisquaretest.52TU 156 Introduction to Computers and Programming 3 (3-0-6)Basic concepts of computer systems, electronic data processing concepts, system


and application software, algorithms, flowcharts, data representation, program design anddevelopment methodology, problem solving using high-level language programming.AS 125 Introduction toASEAN 3 (3-0-6)An Introduction the history and the aims of the establishment of ASEANcommunity.It includes the overview of ASEAN countries in social,political,economic,cultural andideological aspects.TH 161 Thai Usage 3 (3-0-6)Thai language usage skills: listening, reading, writing and speaking, withemphases on drawing the main idea, communicating knowledge, thoughts and composingproperly.TH 162 Report Writing 3 (3-0-6)The methodology of report writing, enabling students to search for information tomake systematic references and to practice report writing skills.EL 070 English Course 1Prerequisite : Language Institute placementA non-credit course designed for those students with low English command andunable to enroll directly into English Foundation Course (The assessment criteria are ‘S’ forSatisfactory or ‘U’ for Unsatisfactory and will not be counted towards the students’ total creditsand GPA).A preparatory course designed to enable students to cope up with real English useof four basic integrated skills of listening, speaking, reading and writing.EL 171 English Course 2 3 (3-0-6)Prerequisite : EL 070 or Language Institute placementAn intermediate English course designed to promote four integrated skills todevelop students’ English proficiency at a higher level.53EL 172 English Course 3 3 (3-0-6)Prerequisite : EL 171 or Language Institute placement


An upper-intermediate English course to enable students to use integrated skills ata more sophisticated level than the prior course especially in speaking and writing.EL 295 295 Academic English 1 3 (3-0-6)Prerequisite: have earned credits of EL 172Practicing academic English in the four language skills (listening, speaking reading andwriting), emphasizing vocabulary development skills including academic expressions, readingand writing academic paragraphs, listening to and taking notes from lectures, and conductingproject presentations.CH 171 Chinese 1 3 (3-0-6)To study the basic structure of Chinese including the phonetics and grammar andto learn to write 250 Chinese characters and to study vocabulary using these characters.CH 1172 Chinese 2 3 (3-0-6)Prerequisite: students should pass CH 171, pass the test, or approval from the lecturer.Further the studies done in CH 171 by studying more complex sentences, and bylearning 300 more Chinese characters.SI 201 Cultural Study 3 (3-0-6)Development of the theories of various schools of thought on the basics in culturalstudies, including the study of national and international social phenomenon that are culturalissues such as, the convergence of modern cultures, the flow of movement across culturalborders, cultural diversity and sub-cultures, etc.SI 202 Social Theory 3 (3-0-6)The development, special issues and theories of sociology, including conceptsfrom classic period to contemporary period will be examined.54SI 203 Economics for Integrated Studies 3 (3-0-6)The general macro and micro economic principles, and covers the topics of


consumer behavior; production and capital; the manufacturer behavior; structure and behavior ofcompetition in the market places; the concept of market failure; the role of market interventionby the government; national income; banking and financial systems; monetary and fiscal policy;the importance of trade and international finance; the argument between free trade and marketprotection. Other than these topics the course aims to study the relationship between economicsand other factors such as, political, legal, social, cultural, and traditional factors in order tounderstand fully the issues of economic integration between these various dimensions.SI 204 Political Science for Integrated Studies 3 (3-0-6)Political philosophy, theinternationalpoliticalsystem. The course aims to studytherelationship betweenpoliticsandother factorsaffectingchangesin society such aseconomic,social,cultural factors,etc.SI 205 Business Administration for Integrated Studies 3 (3-0-6)The meaning, characteristics and structure of business including the basicprinciples of administration which is made up of management, marketing, finance and accounts.Aside from these topics the course focuses on a study of the economic, political, social, culturalfactors, etc. which affect businesses so it can be applied to further study in other subjects.SI 206 Environment and Development 3 (3-0-6)Environment-development relationships: global environmental change, populationgrowth, economic growth and technological progress. Analyze of causes, consequences, andpossible solutions to specific environmental problems at local, national, regional and globallevels.SI 207 Introduction to Law and Rule by Law 3 (3-0-6)Theory, reasoning and concepts that make it necessary to have rules in society;The origins of law; The differences between governing by law and governing by rules of law;including a study of basic laws related to daily life.SI 208 Philosophy of Social Science 3 (3-0-6)The philosophy of Social Sciences and qualitative research methodology in SocialSciences will be examined.SI 209 Quantitative Research 3 (3-0-6)The concept of Quantitative research methodology is core element of this course.55


56SI 211 English for Social Sciences 3 (3-0-6)Prerequisite : Students must have passed EL. 172 subjectVarious types of reading skill used for reading articler in Social Sciences andcompointion writing skill.SI 212 English for Communication 3 (3-0-6)Prerequisite : Students must have passed EL. 172 subjectPractice listening, speaking, reading and English writing skills in English, includingvocabulary, phrases, accent, and various sentence structures, at intermediate and advancedlevel where necessary in listening and speaking for communication in various daily lifesituations.SI 321 Introduction to International Law 3 (3-0-6)Concepts of international law. The relationship between international and domesticlaw. People in the international law as well as authoritative states and international law such asinternational economy, human rights, and international environment.SI 322 Asia in Global Context 3 (3-0-6)The importance of Asia. Roles and foreign policies in political and economy. Thecooperation of countries in Asia under multilateral and bilateral cooperations such as UnitedNation, World Trade Organization, Asia-Pacific Economic Cooperation, ASEAN plus three(ASEAN+China, Korea, and Japan) and the Greater Mekong Sub-regions.SI 323 International Economic Integration 3 (3-0-6)Concepts and theoriesof integration andcooperationbetweenvariouscountries.Theimpact onthe economy, politics, society and culturein theAsia-Pacific.SI 324 Concepts and Theories on Development 3 (3-0-6)The meaning, principles, philosophy, ideology and choices of development fromthe various schools of thought in social studies. The course considerstherelationshipbetweeneconomic, social,cultural, political,physical factorsthataffectdevelopment;Development strategies and the impacts ofdevelopment.SI 325 Social And Cultural Capital 3 (3-0-6)


Definitions, the differences between social and culture capital and economic orbusiness capital including social and culture capital support. Students will also learn the role ofsocial and cultural capital in developing today’s society.SI 326 Organizational Management 3 (3-0-6)The ideas, theories and concepts of Organizational Management. The main areaof the course is an interdisciplinary study on the variousenvironmentalaspectsof the organizationthat can also affectindividuals andgroups andcancauseshifts inorganizational behavior.Thecourse aims to apply this studyto a more effective enterprise management andimproveefficiencyand satisfactionin the organization.SI 331 Chinese Grammar 3 (3-0-6)Prerequisite : Students must have passed CH 172 subjectStructures in Chinese Grammar. Focusing on analysis types and functions ofwords, phrases, sentences. The basic to more difficult sentence structures are given.SI 332 Chinese Reading and Writing Skills 3 (3-0-6)Prerequisite : Students must have passed CH 172 subjectPracticing reading and writing skills: Principle of reading and practicing the correctwriting skills and the reading skills that focus on daily life, culture, government and economicsarticle. Emphasizing reading comprehensive and conclusion.SI 333 History and Civilization of China 3 (3-0-6)History and civilization of China. Since prehistoric times. To the present.Development of ancient Chinese civilization. Social development. Politics of the Chinesemonarchy. The glory and the decline in Chinese history. Until the founding of the People'sRepublic of China 1949 release.SI 334 Economy and Politics of China 3 (3-0-6)Chinese politics and economy. The social revolution of the 1949 national policyreform. The opening to a socialist market economy in 1978 to the present.57SI 335 Contemporary Chinese Society and Culture 3 (3-0-6)The institutions and various organizations in Chinese society, politics, economy


andculture. The course studies the creation of the unique environment that makes up thepluralist Chinese society as well as China’s present day economic, social and cultural changes.SI 341 Selected Reading in the Mekong Sub-regions 3 (3-0-6)Prerequisite : Students must have passed EL 172 subjectReading article relate to Countriesinthe MekongSub-regions.SI 342 International Business Management 3 (3-0-6)International investment theory, structure, business policy, and internationalbusiness strategy, including management, marketing, finance and human resources forinternational businesses.SI 343 History of the Mekong Sub-regions 3 (3-0-6)History of the Mekong Sub-regions countries started from traditional state, colonialera, and nation-states.SI 344 Political Geography and Socio-economic Context of3 (3-0-6)the Mekong Sub-regionsGeographical influences relevant to a political evolution and international relationsamong the Mekong subregional countries. The course also examines an economic developmentplan and the social impact of capitalism on the countries.SI 345 Culture and Societyof the Mekong Sub-regions 3 (3-0-6)The institutes and organizations in the Mekong Basin countries, as well as currentissues concerning social changes.SI 351 Folkloreand Folklife 3 (3-0-6)The meaning, development, scope, type and characteristics of folklore and folklifefrom literature to Verbal Folklore, Material Folklore, Performing Folklore, and CustomaryFolklore. As well as the integration of folklore and folklife disciplines and other disciplines andsocial and cultural resource management.58SI 352 Group, Organization and Social Networks 3 (3-0-6)The role of organizations and social networks for both national and international


communities. The subject includes a study of the creation and development of networks,cooperation between political Parties to strengthen the power of corporations which leads tomore social, economical and political processes that affect change and management.SI 353 Lanna Studies 3 (3-0-6)The emergence and development of cultures and societies, arts and sciences,local wisdoms, and economics of Northern communities in Thailand and neighboring countries;the kingdoms’ prosperity, the decline of Lanna dynasties, the consolidated as a tributary state,as well as the socio-cultural management for restoring Lanna’s glory ,and arts and cultures.SI 354 Socio – Cultural Resource Management 3 (3-0-6)The development and concepts of Socio-Cultural Resource Management at bothnational and international level. The course focuses on the role of government agencies,organizations and other sectors related to Socio-Cultural Resource Management; the impact ofthe development and management in various ways.SI 355 Communication for Socio-Cultural Resources3 (3-0-6)ManagementThe principles, concepts and theories essential to the study of basiccommunication. Students will also explore communication strategies, marketing, and publicrelation concepts essential to the development of socio-cultural resources management.SI 361 Tourism Industry 3 (3-0-6)The evolution of Thai and International tourism. The course focuses on the basicelements and structure of tourism and hospitality industries; Tourism-related organizations, bothdomestically and internationally; Standards of the travel tourism market as well as the origin ofthe tourism industry, especially comparing Thailandtoits neighboring countries.SI 362 Tourism Business Management 3 (3-0-6)Business management concepts in tourism. The course focuses on various workpractices within the industry; the changes and adaptation of tourism business; the relationship ofthe tourism business structure and other types of businesses related to the effective functioningof the tourism business.SI 363 Tourism Resource 3 (3-0-6)Meaning and importanceofthetourism resourcesof Thailand and the world.59


Theuniqueartisticandhistoricvalue ofancientreligious sitesandnatural tourist sites.Environmentalandgeographicalfactorsthat affectto tourism resources, conservationand tourismresourcesmanagement.SI 364 Geography and Tourism Relation 3 (3-0-6)The connection between geography and tourism in accordance with policy,concepts, and tourism management in different areas; the study of tourist behaviors; theimpacts on economics, culture, society, and environment; conservation and tourism resourcesdevelopment; as well as tourism problem solutions.SI 365 Sociology of Tourism 3 (3-0-6)The definition, principles and significance of sociology of tourism. Sociologicaltheories and concepts to understand, examine and criticize the tourism management.Discussion on tourism management in the sociological aspects.SI 371 Chinese Arts and Literature 3 (3-0-6)Category, role, sources and concept of creating Chinese arts and literature.Analysis the factors that impact on Chinese arts and literature. Including the main aspects ofChinese social and culture which are reflected by Chinese arts and literature.SI 372 Tourism in China 3 (3-0-6)The main of travel and tourism resources. Discuss about the barriers andobstacles of the business administration, operation , change, adaptation of the Chinesetourism which effect on the situation of tourism in China.SI 373 ASEAN Integration 3 (3-0-6)The concept and theory of regional integration focusing on regional cooperation inSoutheast Asia after World War II. This course aims to examine the role of the Association ofSoutheast Asian Nations (ASEAN) and the integration of ASEAN into ASEAN Community (AC)by analyzing the structures, functions, roles including studying the obstacles and problems ofASEAN.60SI 374 Tourism in Southeast Asia 3 (3-0-6)The main of travel and tourism resources. Discuss about the barriers and


obstacles of the business administration, operation , change, adaptation of the tourism whicheffect on the situation of tourism in Southeast Asia.SI 375 Civil Society and Local Democratic Governance 3 (3-0-6)Compare the system of governments between a representative democracy and aself-governed democracy. The topics of focus in the course include the evolution of State andCivil Societies; the concept of the division of powers and duties in society between State andCivil Societies; creating a sense of citizenship and the relationship between Civil society anddemocratic development in society.SI 376 Industrial Crafts and Management 3 (3-0-6)Resources, environment, society and culture, belief and religion as a factoressential to make an inspiration in creating various forms of industrial crafts.SI 377 English for Tourism Management 3 (3-0-6)The structure, vocabulary and language functions relate to tourism management ;and develops skill for giving information about tourist attractions.SI 378 Principles of Recreation for Tourism 3 (3-0-6)Conceptions and principles of recreation: definition, development, classification,and organization of recreational activities.SI 381 English for Careers 3 (3-0-6)The structure, vocabulary and language functions used for communication in officeand business transactions.SI 382 Skill Development in Presenting Information of3 (3-0-6)SocialSciencesLearning and practicing how to present information in a variety of Social Sciences.The course examines writing and speaking such as writing various categories of non-fiction;writing for television; creative writing; reported speech, presentation comprising media, speaking atseminars and discussion, etc.SI 383 Cultural landscape 3 (3-0-6)Relationship of the natural and human. Development the value and significance by61


62managements process of Cultural landscape.SI 384 Organization and Social Responsibility 3 (3-0-6)The concept, theory, process and importance of social responsibility in variousways including current Social Enterprise concept. Besides, it involves in considering problemscome from running Organization in immoral ways. This aims to raise awareness of commonresponsibility to develop and create society in sustainable and happiness environment.SI 385 Current Issues in International Relations 3 (3-0-6)Meaning and relations among politics, economy, and society. International politicaldevelopment, politics and adjustment of developed countries and developing countries. Globaleconomic system, impacts of globalization on economy, and relations between the world systemin current.SI 386 Human Resource DevelopmentinSoutheast Asia 3 (3-0-6)Development of concepts and theories about the development of humanresources.Human resource development policies of countries in Southeast Asia.Factors affectingthe development of human resources in Southeast Asia.The development of human resourceswhen they enter the ASEAN Community.SI 431 Law and Culture of Business Transactions in China 3 (3-0-6)Chinese notion, philosophy and culture that directly impact on attitudes aboutdoing business of Chinese merchants. Cultures and building relationships in doing businessbetween Chinese and foreign merchants.Applying Socialism with Chinese characteristics fordoing business in China. Learning laws, rules and regulations about doing business andinvestment in China that involved in organization.SI 432 Politics and Foreign Policy of China 3 (3-0-6)Politics and foreign affairs of China. Policy relations between China and the worldpolitical and economic powers, developing countries and ASEAN.SI 433 Ecology and Environment Problem in China 3 (3-0-6)Ecological and environmental problems of China. Impact of change and


development and the natural environment, land use, human settlement and pollution as well asthe effect of using different types of natural resources in China.SI 434 Trade and Investment of China 3 (3-0-6)The trade and investment in China. Trade and investment policies and laws ofChina. The business relations of China with foreign countries.SI 435 Seminar on Chinese Studies 3 (3-0-6)The problems and challenges associated with the development of the Chinacountries regarding politics, economics, society, culture, environment and the relationshipbetween China and the world.SI 441 Trade and Investment in the Mekong Sub-regions 3 (3-0-6)Thetrade andinvestment inthe MekongSub-regions. Business relationswiththecountries in theMekongBasin, as well as commercial opportunities. Thailand'sinvestmentinthesecountries. Theeconomicand politicalrelationsbetweencountriesinthe Mekong Sub-regions.SI 442 Ecology and Environmental Problem in the Mekong3 (3-0-6)Sub-regionsEcological and environmental problems of the Mekong Sub-regions countries.Impact of change and development and the natural environment, land use, human settlementand pollution as well as the effect of using different types of natural resources in the countries.SI 443 Overseas Chinese in Southeast Asia 3 (3-0-6)The development and changes of political economy and socio-cultural of overseaschinese communities in Southeast Asia.63SI 444 Logistics Management and Development 3 (3-0-6)The meaning, structure, characteristics of logistics, as well as the importance andmanagement of logistics, for managing the circulation and transfer of goods and service.Including various information between institutes that provides time and cost efficiency inresponse to the competitive advantage.SI 445 Seminar on the Mekong Sub-regions Studies Issues 3 (3-0-6)The problems and challenges associated with the development of the MekongBasin countries regarding politics, economics, society, culture, environment and the relationship


64among the Mekong Basin countries and the world.SI 451 Historical and Community Archaeology 3 (3-0-6)Concepts, values and principles of historical and archaeological resources. Theintegration of historical in archaeological resources management. Participation of the communitytowards the historical and archaeological resources sustainable.SI 452 Ethnicity State and Globalization 3 (3-0-6)The origin, development and diffusion of the important ethic groups in Asia.Theories and concepts of ethnic studies. The roots and development of the nation-state,globalization, relationship between globalization and localization. Effects of the articulationbetween ethnic groups, state and globalization.SI 453 Cultural Industry 3 (3-0-6)The development of Western and Eastern cultural industries; culture as newboundary of national, regional, and international co-operation; international organizations’ rolesin fostering diversity; profit and advantages earning from cultural industries; as well as culturalproducts launching opportunity.SI 454 Museology 3 (3-0-6)The history, concepts, roles, establishment, presentation, preservation andactivities of museum, ethics of curators and museum personnel, laws and regulationsconcerning museum work.SI 455 Seminar on Socio - Cultural Resources Management 3 (3-0-6)The critical issues or issues of interest relating to Socio-cultural ResourceManagement. The course focuses on the concepts and theories as a means to the study andresearch phenomena, the main issues are then presented by the students in a Seminar. Thecourse also includes the brainstorming and discussion of various issues.SI 462 Human Resource Developmentfor Tourism 3 (3-0-6)Strategic concept and principle for human resources management in Tourism industry.The problem ofhuman resource management. The role ofgovernmentand business of tourism in


human resource development. Strategic concepts and administration process, planning processand strategic decision making, strategic implementation and control for Tourism.SI 463 Sustainable Tourism Development 3 (3-0-6)Concepts, theories and purposes of sustainable tourism are presented, includingthe creation of a balance between host and guest, and managing natural resources in relation tothe tourism capacity of the area. The role and importance of multilateral cooperation andalignment of government policies are stressed. Planning and application of policies to achievesustainable tourism are considered, along with systematic means of developing and planningpolicies to develop sustainable tourism at the local, national and international level.SI 464 Policyand Plan forSustainable TourismManagement 3 (3-0-6)Meaningful concepts and principles of environmental analysis. Plan and policy of government.Factors to promote and develop sustainable tourism industry. Study regulations andinternational practices and application of principles to real application.SI 465 Seminar on Sustainable Tourism 3 (3-0-6)The critical issues or issues of interest relating to Sustainable Tourism. The coursefocuses on the concepts and theories as a means to the study and research phenomena, themain issues are then presented by the students in a Seminar.The course also includes thebrainstorming and discussion of various issues.SI 471 Chinese Listening and Speaking Skills 3 (3-0-6)Prerequisite : Students must have passed CH 172 subjectListening and speaking skills, which is the content relevant to daily life. Focusingon improve listening comprehension through the video lesson. Concentrating on interactiveactivities aimed at improving naturally and grammatically oral expression.SI 472 Chinese for Careers 3 (3-0-6)Prerequisite : Students must have passed CH 172 subjectThe important vocabularies and conversations that can apply for careers, thewriting of basic business letters, resume, job application. Emphasizing and preparing thelearners who can apply knowledge to use in careers.SI 473 Mobility and Cross-Border Movement in Southeast Asia 3 (3-0-6)Developmentand factors of migration and border on the Southeast Asia.Framework of regional agreements related to international migration.Problems and their impact65


66on the movement of capital and population in Southeast Asia.SI 474 Urban and Rural in the Mekong Sub-regions 3 (3-0-6)Sustainable development of urban and rural areas in China and the Mekong Basincountries concerning the factors on changes of state policy and other supportive elements of therapid progress; analyzing the causes of inequality between urban and rural areas and thesolutions.SI 475 Man, Society and Culture in Literature and Film 3 (3-0-6)Socio-cultural aspects represented in literature and film focusing oninterreationship between man and his context. Presentation of socio-cultural resources throughfilm and literature as art and media.SI 476 Principles of Intercultural Communication 3 (3-0-6)Concepts, theories, definitions, elements, related psychology, contexts, anddifferences on cultures and society concerning verbal and non-verbal communication; theprocess of adjustment into new culture; as well as other cultural practices.SI 477 Communication for Tourism Management 3 (3-0-6)Concepts, communicationtheories, techniques and toolsof communicationusedto promotethetourism industry. Personal communicationtomass communication. Usefulness andimportance ofcommunication for tourism industry.SI 478 Tourismand Local Community 3 (3-0-6)Principles of Tourism and cultural resources management for sustainable tourism withfocus on community participation in the resource management on the basis of attitudes towardsthe environmental conservation and local traditions.SI 500 Directed Research 4CreditsResearch the main areas of student interest while following the suggested studentadvisor’s guidelines for following the research method for the purpose of research analysis andsynthesis of information. The course culminates in a presentation of a term paper showing the


67results of the study research.SI 501 Community Participatory Field Work 3CreditsDiscuss and learn about natural resources, environment, politics, economics,social factors, culture, and wisdom crucial to the study of urban and rural community. Thestudent is assigned to study and work in the community.(Field work experience of 180 hours)SI 502 Practicum in Interdisciplinary Studies 3CreditsThe opportunity for the students to gain work experience in a government orprivate organization, educational institution, research institute, company, business organization,Non-Government Organization (NGO). The study is selected from a topic of interest to thestudent and an issue related to the student’s Major. The course culminates in a report on thework experience.(Field work experience of 135 hours)3.2 ชื่อ สกุล เลขประจําตัวประชาชน ตําแหนงทางวิชาการและคุณวุฒิของอาจารย3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร3.2.1.1 อาจารยประจําสาขาวิชาเอกจีนศึกษา


68เลขประจําตัวประชาชน3-9201-00918-78-23-5299-00283-35-01-7099-00204-33-8ตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาอาจารย 1. พิทยาสุวคันธ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2550)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2540)- วิทยาศาสตรบัณฑิต (สัตวศาสตร)สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก(2536)อาจารย 2. วราพร แซจึง - Master of Education Curriculumand Teaching MethodologyBeijing Language and CultureUniversity(2554)- บัญชีมหาบัณฑิตจุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong>(2546)- บัญชีบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2มหา<strong>วิทยาลัย</strong>หอการคาไทย (2539)อาจารย 3. ชิตวร วราศิริพงศ - Master of EconomicsYunnan Universityสาธารณรัฐประชาชนจีน (2554)- อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาจีน)(เกียรตินิยมอันดับ 2)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2551)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(รัฐศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>รามคําแหง(2550)หมายเหตุ : ลําดับที่ 1 เปนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร3.2.1.2อาจารยประจําสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาเลขประจําตัวประชาชนตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษา


69เลขประจําตัวประชาชน3-5201-00161-98-73-1206-00334-61-23-7098-00137-65-1ตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาผูชวย-ศาสตราจารยผูชวย-ศาสตราจารย1. กนกวรรณ อูทองทรัพย -Ph.D. Graduate School ofAsia-Pacific Studies WasedaUniversity (2555)- Master of BusinessAdministrationCampbell Universityประเทศ<strong>สห</strong>รัฐอเมริกา(2542)- สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ 2มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2538)2.ธีรภัท ชัยพิพัฒน - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภูมิภาคศึกษา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม (2545)- รัฐศาสตรบัณฑิต(ความสัมพันธระหวางประเทศและระบบการเมืองเปรียบเทียบ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>สุโขทัยธรรมาธิราช(2551)- ศึกษาศาสตรบัณฑิต(การสงเสริมสุขภาพและสุขศึกษา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2541)อาจารย 3.ศิวริน เลิศภูษิต - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภูมิภาคศึกษา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2549)- รัฐศาสตรบัณฑิต(การระหวางประเทศ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2542)3.2.1.3 อาจารยประจําสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม


70เลขประจําตัวประชาชน3-5212-00463-93-53-5506-00222-01-23-8601-00314-41-1ตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาอาจารย 1. รุงนภา เทพภาพ - สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2549)- สังคมสงเคราะหศาสตรบัณฑิต(เกียรตินิยมอันดับ 1)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2545)อาจารย 2. ชัยวุฒิ บุญเอนก - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ประวัติศาสตรศิลปะ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2549)- คุรุศาสตรบัณฑิต (ศิลปศึกษา)(เกียรตินิยมอันดับ 2)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ราชภัฏเชียงใหม(2540)อาจารย 3.โอฬาร รัตนภักดี - อักษรศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาไทย)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2548)- อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)(เกียรตินิยมอันดับ 1 )มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร (2543)3.2.1.4 อาจารยประจําสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน


71เลขประจําตัวประชาชน3-8008-00029-74-43-5099-01302-75-73-9305-00367-17-1ตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษารอง-ศาสตราจารย1. สายฝนสุเอียนทรเมธี - สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2540)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศึกษาศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>สงขลานครินทร(2536)อาจารย 2. โขมสี แสนจิตต - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2553)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาและวรรณกรรมลานนา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2539)- ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2533)อาจารย 3. ชัยยุทธ ถาวรานุรักษ - นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต(วาทวิทยา)จุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong> (2552)- นิติศาสตรบัณฑิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2547)หมายเหตุ : ลําดับที่ 1 - 2 เปนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร3.2.2 อาจารยประจําที่รวมสอนในหลักสูตร


72เลขประจําตัวประชาชน3-1022-01915-91-53-8399-00454-37-23-1014-01355-73-43-2699-00002-28-13-1909-00215-06-6ตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาผูชวย-ศาสตราจารยผูชวย-ศาสตราจารย1. เพ็ญศิริ พันพา - พัฒนาชุมชนมหาบัณฑิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2545)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(การพัฒนาชุมชน)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ขอนแกน(2536)2. ถิรวัฒน ตันทนิส - ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การสอนภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ)จุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong> (2545)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(ภาษาศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2541)อาจารย 3. วิไลลักษณ อยูสําราญ - สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2546)- วิทยาศาสตรบัณฑิต(สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)(เกียรตินิยมอันดับ 2)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม (2542)อาจารย 4. ยิ่งลักษณกาญจนฤกษ - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เกษตรศาสตร(2545)- วิทยาศาสตรบัณฑิต(วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม)(เกียรตินิยมอันดับ 2)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2542)อาจารย 5. วาสนา ละอองปลิว - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การพัฒนาสังคม)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2546)- รัฐศาสตรบัณฑิต(การเมืองการปกครอง)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2542)


73เลขประจําตัวประชาชน3-1005-00730-87-73-5099-01119-29-43-201-00565-26-3ตําแหนง ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาอาจารย 6. ถิรวรรณ นิพิฏฐกุล - ปริญญาดุษฎีบัณฑิต(วิทยาศาสตรเคมี) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>มูส(2543)- ปริญญาการศึกษาชั้นสูง(วิทยาศาสตรเคมี )มหา<strong>วิทยาลัย</strong> เดอ โอ อัลซาสประเทศฝรั่งเศส(2543)- วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต( วิทยาศาสตรโพลิเมอร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>มหิดล(2537)- วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)(เกียรตินิยมอันดับ 2)จุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong> (2534)อาจารย 7. ทัชชกรบัวลอม - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>พายัพ(2550)- บริหารธุรกิจบัณฑิต( เกียรตินิยมอันดับ 1 )มหา<strong>วิทยาลัย</strong>พายัพ(2547)อาจารย 8. สุมิตา สุภากรณ - ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาอังกฤษ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2546)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(ภาษาอังกฤษ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม (2538)3.2.3 อาจารยพิเศษ


ชื่อ-สกุล/ตําแหนงทางวิชาการ1. ผศ.ดร.จุฬาพร เอื้อรักสกุล(อาจารยประจําภาควิชาประวัติศาสตรคณะศิลปศาสตรมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร)คุณวุฒิ ตําแหนงอื่นๆ /ประสบการณ-PhD. (International Relations) Australian คณบดี<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>National University(ทุนรัฐบาลออสเตรเลีย) พ.ศ. 2538- รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ความสัมพันธระหวางประเทศ)จุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong>พ.ศ. 2529- MA. (International Relations,International University of Japan )M.A.in Asia Studies ,International United ofJapan (ทุนรัฐบาลญี่ปุน) พ.ศ.2531- รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธระหวางประเทศ)จุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong>พ.ศ.2524ผูอํานวยการโครงการจัดตั้งสถาบันศึกษาและสืบสานวัฒนธรรมสถาปตยกรรม(ไต)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>นเรศวรวิทยาเขตสารสนเทศพะเยา2. อ.วิถี พานิชพันธ - Master of Artsสาขา EnvironmentalDesignUniversity of California - LosAngeles (UCLA) พ.ศ.2513- Bachelor of ArtsUniversityof Californi -Los Angeles (UCLA)พ.ศ.2511743. อ.ดร.ชาติชาย เชษฐสุมน(อาจารยประจําคณะนิติศาสตรมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรศูนยลําปาง)-นิติศาสตรดุษฏีบัณฑิต (กฎหมายระหวางประเทศ)มหาวิทยาแหงรัฐซารลันดประเทศ<strong>สห</strong>พันธสาธารณรัฐเยอรมัน พ.ศ.2546- นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายระหวางประเทศ )มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรพ.ศ.2537- นิติศาสตรบัณฑิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร พ.ศ. 2532อาจารย ประจํ าคณะนิติศาสตรมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรศูนยลําปาง4. อ.วัลลภ ทองออน(อาจารยประจําคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร- วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ภูมิศาสตร) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหมพ.ศ. 2537ประธานโปรแกรมวิชาอัญมณีฯหัวหนาศูนยสารสนเทศ


75ชื่อ-สกุล/ตําแหนงทางวิชาการมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ราชภัฎกําแพงเพชร)คุณวุฒิ ตําแหนงอื่นๆ /ประสบการณ- การศึกษาบัณฑิต (สังคมศึกษา) ภูมิศาสตรมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศรีนครินทรวิโรฒพ.ศ. 25274. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนามการฝกประสบการณภาคสนามใน<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตร มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มพูนความรูและประสบการณแกนักศึกษา โดยเปนการฝกปฏิบัติงานในชุมชน และหนวยงานหรือองคกร ซึ่งจัดอยูในรายวิชาเฉพาะ4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม(1) นักศึกษาสามารถนําความรูทางทฤษฎีไปประยุกตใชในภาคปฏิบัติไดอยางเหมาะสม(2) นักศึกษาไดรับประสบการณดานวิชาชีพ (Professional Experience) และเรียนรูจากการปฏิบัติงานจริงอยางเปนระบบ(3) นักศึกษาไดเรียนรูในการทํางานรวมกับผูอื่น เขาใจชีวิตการทํางานในชุมชนและวัฒนธรรมองคกร(4) พัฒนาบัณฑิตใหมีคุณภาพสูงและตรงตามความตองการของตลาดงานมากยิ่งขึ้น(5) ชุมชนและหนวยงาน/องคกรภายนอกมีสวนรวมกับสถานศึกษา ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ(6) นักศึกษาเรียนรูการปฏิบัติงานอยางมีคุณธรรม จริยธรรม(7) นักศึกษาสามารถนําเสนอผลการศึกษาทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนําเสนอปากเปลา4.2ชวงเวลา(1) การฝกภาคปฏิบัติภาคฤดูรอนชั้นปที่ 2 (ฝกในชุมชน)(2) การฝกภาคปฏิบัติ ภาคฤดูรอน ชั้นปที่ 3 (ฝกในหนวยงานหรือองคกร)4.3 การจัดเวลาและตารางสอนจัดเต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย


ขอกําหนดในการทําภาคนิพนธตองเปนหัวขอที่สอดคลองกับสาขาวิชาเอกที่นักศึกษาศึกษาอยูโดยนักศึกษาศึกษาเปนรายบุคคล และมีรายงานที่ตองนําสงตามรูปแบบและระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนดอยางเครงครัด5.1 คําอธิบายโดยยอคนควาในประเด็นตางๆ ที่นักศึกษาสนใจ โดยอยู ภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาเพื่อคนควา วิเคราะห และสังเคราะหขอมูลตามระเบียบวิธีวิจัย มีการนําเสนอผลการศึกษาในรูปแบบของภาคนิพนธ5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู(1) นักศึกษามีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาการ(2) นักศึกษาสามารถเลือกและกําหนดประเด็นในการศึกษาไดอยางเหมาะสม(3) นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะหและเรียบเรียงขอมูลอยางเปนระบบ(4) นักศึกษามีความรับผิดชอบในการศึกษาคนควาประเด็นที่สนใจตามระยะเวลาที่กําหนด(5) นักศึกษามีความสามารถในการสืบคนและเก็บรวบรวมขอมูล ตามระเบียบวิธีวิจัย(6) นักศึกษาสามารถนําเสนอผลการศึกษาทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนําเสนอปากเปลา5.3 ชวงเวลาภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นปที่ 45.4 จํานวนหนวยกิต4 หนวยกิต5.5 การเตรียมการมีการกําหนดอาจารยที่ปรึกษาใหสอดคลองกับประเด็นที่นักศึกษาสนใจ และกําหนดชั่วโมงใหคําปรึกษาตลอดภาคเรียน5.6 กระบวนการประเมินผล(1) ประเมินผลจากรายงานและการนําเสนอปากเปลา(2) ประเมินผลจากพัฒนาการในการศึกษาคนควาโดยอาจารยที่ปรึกษา76หมวดที่ 4 ผลการเรียนรูกลยุทธการสอน และการประเมินผล


771. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษาคุณลักษณะพิเศษนักศึกษามีความสามารถคิดวิเคราะหและบูรณาการความรูเชิง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตรนักศึกษามีภาวะความเปนผูนํามีทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลนักศึกษามีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมกลยุทธหรือกิจกรรมของนิสิต- กําหนดใหมีรายวิชาที่นักศึกษาตองคนควา วิจัยตามประเด็นที่สนใจ โดยบูรณาการความรูทั้งเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ- กําหนดใหมีรายวิชาซึ่งนักศึกษาตองทํางานเปนกลุมตลอดจนกําหนดใหทุกคนมีสวนรวมในการนําเสนอ เพื่อเปนการฝกใหนักศึกษาไดสรางภาวะผูนําและการทํางานรวมกัน- มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรใหนักศึกษาไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันและแสดงออกถึงภาวะความเปนผูนํา- มีการสอดแทรกประเด็นปญหาทางสังคมในการเรียนการสอนและกิจกรรมตางๆ เพื่อเปนขอขบคิดในการดํารงตนเปนนักศึกษาที่มีสวนรวมและความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม- กําหนดใหนักศึกษาทํากิจกรรมรวมกับชุมชน หนวยงานและองคกรทั้งภายในและภายนอกมหา<strong>วิทยาลัย</strong>- มีการกําหนดกติกาในการเรียนเพื่อสรางวินัยในตนเองใหแกนักศึกษา เชน การเขาเรียนตรงเวลา การแตงกายใหสุภาพการสงงานที่ไดรับมอบหมายใหตรงตามเวลาที่กําหนด และความรับผิดชอบตอการใชทรัพยสินสวนรวม เปนตน2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน2.1 การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดานของวิชาศึกษาทั่วไป2.1.1 คุณธรรม จริยธรรม2.1.1.1 ผลการเรียนรู ดานคุณธรรม จริยธรรม(1) มีความซื่อสัตยสุจริต(2) มีความเปนธรรม(3) มีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม(4) มีวินัย(5) มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ(6) มีจิตอาสา2.1.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม


78คุณธรรม จริยธรรมจริยธรรมเรียนจากสังคม(1) เรียนจากบทบาทสมมติ และกรณีตัวอยางที่ครอบคลุมประเด็นปญหาดาน(2)บรรยายและอภิปราย โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในรายวิชา(3) มอบหมายงานการศึกษาคนควาดวยตนเองเปนรายบุคคล(4) มอบหมายงานการศึกษาคนควาเปนกลุม(5)กรณีศึกษาและการมีสวนรวมในการวิเคราะหและใหความเห็นดานคุณธรรม(6) การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชาดานคุณธรรม จริยธรรม(7) จัดกิจกรรมเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม(8) การเรียนรูจากสถานการณจริง(9) จัดโครงการพัฒนาแนวคิดดานความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม(10) จัดกิจกรรมสงเสริมในเรื่องความรับผิดชอบทั้งในชั้นเรียน และนอกชั้น(11) แฟมสะสมงาน(12) กรณีศึกษาการเปนแบบอยางที่ดีของวิชาชีพตางๆ(13) จัดโครงการพัฒนาแนวคิดดานจิตอาสา(14) กําหนดชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาจิตอาสา2.1.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม(1) การประเมินแบงออกเปน 3ระยะโดยนักศึกษาประเมินตนเอง เพื่อนอาจารย-กอนเรียน-ระหวางเรียน-หลังการเรียน/กิจกรรม(2) ประเมินโดยการสะทอนความคิดเห็นของตนเองและผูอื่น(3) ประเมินโดยใชแบบประเมิน(4) นักศึกษาทําบันทึกประสบการณจากการเรียนในชั้นเรียน แลประสบการณ(5) การมีสวนรวมและการพัฒนาตนเองกอนเรียน ระหวางเรียน(6) ประเมินจากภาระงานที่ไดรับมอบหมาย(7) ประเมินจากระยะเวลาในสงงานตามกําหนด(8) การตรงตอเวลาในการเขาชั้นเรียนและการสงงานตามกําหนดระยะเวลา(9)ประเมินโดยใชการสังเกต(10) ประเมินการมีสวนรวมและการพัฒนาตนเอง2.12ความรู2.1.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู


(1) มีความรูอยางกวางขวางในหลักการและทฤษฎีองคความรูที่เกี่ยวของ(2) สามารถวิเคราะหอยางเปนระบบ(3) สามารถนําความรู หลักการ ทฤษฎีไปประยุกตใชไดอยางเเหมาะสม(4) สามารถบูรณาการความรูและศาสตรตางๆไดอยางเหมาะสม2.1.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู(1) การบรรยาย/อภิปรายในการใหความรูในทฤษฎีความรู(2) การสอนแบบบูรณาการความรูของศาสตรตางๆที่เกี่ยวของสัมพันธกัน(3) การสอนโดยใชเทคโนโลยีการศึกษา(4) การทําแผนที่ความคิด(5) ใหมีการคิดวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา/คิดวิธีแกปญหา(6) เนนการสอน การเรียนโดยใชปญหาเปนหลัก(7) การทํารายงาน/โครงงาน(8) การระดมสมองเพื่อการเรียนรู ตลอดจนการนําไปประยุกตใช(9) การศึกษาดวยตนเองเกี่ยวกับความสัมพันธของศาสตรตางๆ2.1.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู(1) การทํารายงานและการนําเสนองาน(2) การประเมินผลสัมฤทธิ์โดยการสอบ(3) การทํารายงาน/การคนควา(4) การสงงานและการนําเสนองาน(5) การนําเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา(6) แบบฝกหัด(7) การประเมินผลสัมฤทธิ์ โดยการสอบ การทํารายงาน(8) ประเมินโดยการสอบ /แนวความคิด และความเขาใจ(9) การทํารายงานและการนําเสนองาน(10) ประเมินโดยการสอบ /แนวความคิด และความเขาใจ(11)การทํารายงานและการนําเสนองาน2.1.3 ทักษะทางปญญา2.1.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา(1) สามารถคนควาขอมูลไดอยางเปนระบบ(2) สามารถวิเคราะหปญหา ประเมินทางเลือก และเสนอแนะวิธีการแกไขปญหาและผลการตัดสินใจไดอยางเหมาะสม(3) มีความคิดริเริ่มอยางสรางสรรค และมีความคิดในเชิงบวก(4) มีความใฝรู ติดตามการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง2.1.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา79


80อาจารย(1)การสอนที่เนนผูเรียน โดยใชปญหาเปนหลัก(2)กระตุนใหผูเรียนสรุปความรูจากความคิดที่ไดเรียน(3) การระดมสมอง(4)การแสดงบทบาทสมมติ(5)จัดกิจกรรรมการเรียนการสอนใหนักศึกษาไดฝกวิเคราะห(6)ปญหา และเสนอแนวทางในการแกปญหาอยางนอย 1กิจกรรม/วิชา(7)การจัดการเรียนการสอนโดยใชปญหาเปนหลัก(8) กระบวนการเรียนการสอนแบบใหสัมผัสปญหา (problem- based learning)(9)ลงมือปฏิบัติในการแกปญหาดวยการใหทําโครงงาน (project-basedlearning)(10) จัดกิจกรรมสงเสริมใหมีความคิดสรางสรรค(11) บรรยาย/อภิปราย(12) การแลกเปลี่ยนเรียนรูในทัศนะความคิดเชิงบวกในมุมมองของผูเรียน และสังคม(13) การเปดโอกาสใหมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น(14) การมอบหมายงาน(15)การศึกษาคนควาดวยตนเอง2.1.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา(1) การประเมินการคิดวิเคราะห แกไขปญหา(2) การจัดระบบความคิด(3) การนําเสนอรายงาน(4) การวิเคราะหกรณีศึกษา(5) โครงงาน/ผลงาน(6)การทดสอบ/การสอบเกี่ยวกับระบบความคิด ความเชื่อมโยง และเหตุผล(7)การมีสวนรวมในการวิเคราะหปญหาและการเสนอแนวทาง(8) การประเมินแบงออกเปน 3 ระยะ โดยนักศึกษาประเมินตนเอง เพื่อน-กอนเรียน-ระหวางเรียน-หลังการเรียน/กิจกรรม(9)การประเมินจากรายงาน(10)การประเมินจากการนําเสนอรายงาน/โครงงาน2.1.4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ2.1.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ


รับผิดชอบ(1) รับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและยอมรับความแตกตาง(2) มีความเปนผูนําและกลาทํา กลาแสดงออกในสิ่งที่ถูกตอง(3) มีความรับผิดชอบในงาน ในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย(4)มีวุฒิภาวะทางอารมณ มีความสามารถในการปรับตัว การควบคุมอารมณและความอดทน(5) ใชสิทธิเสรีภาพโดยไมกระทบผูอื่น และมีความเปนพลเมืองดี2.1.4.2กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ(1) การมอบหมายงานใหทํางาน/โครงงานกลุม(2) การจัดประสบการณการเรียนรูปญหาตางๆ(3) การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรในเรื่องภาวะผูนํา(4) การสอนแบบกลุมรวมมือ(5)ใหความรูเกี่ยวกับการพึ่งตนเอง(6)การสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ(7)การเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น(8)การบรรยาย/การอภิปรายยกตัวอยางผลกระทบในเรื่องสิทธิเสรีภาพ(9)การจัดประสบการณการเรียนรูปญหาของชุมชนของผูเรียน(10)สอนและฝกปฎิบัติเกี ่ยวกับการเคารพสิทธิของผูอื่น ความแตกตางของบุคคล เคารพหลักความเสมอภาค การเคารพกติกา2.1.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ(1)ประเมินจากการสังเกต พฤติกรรม(2)ประเมินความสามารถในการแสดงออกในบทบาทภาวะผูนํา และผูตามในในบทบาทภาวะผูนํา และผูตามในสถานการณตางๆ(3)นักศึกษาประเมินตนเอง(4) ประเมินตามใสภาพจริงจากผลงาน(5)ประเมินจากการมีสวนรวม การยอมรับการแสดงออกในเรื่องการใชสิทธิเสรีภาพ(6)ประเมินจากผลงาน/รายงาน/ที่ไดรับมอบหมาย81สารสนเทศ2.1.5 ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี


2.1.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1) มีความรูทักษะในการใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศ(2) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถประยุกตใชในการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ(3) มีทักษะในการคิดคํานวณ(4) มีทักษะในการคิดวิเคราะหเชิงคณิตศาสตรและสถิติ เก็บรวบรวมขอมูลและนําเสนอขอมูล2.1.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1) บรรยาย /อภิปราย(2) การจัดประสบการณการเรียนรูจากสถานการณจริง(3) การศึกษาคนควาดวยตนเอง(4) การนําเสนอ/รายงานหนาชั้น เรียน(5) การนําเสนองานโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่หลากหลาย(6) การฝกฝนเทคนิค และทักษะดานการคิดคํานวณ จากการยกตัวอยาง(7) การกําหนดสถานการณจําลองในการทําโครงการ(8) การใชกรณีศึกษาเชิงคณิตศาสตร สถิติ เก็บรวบรวมขอมูล และการนําเสนอขอมูล(9) การทําวิจัย2.1.5.3กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1) การประเมินผลงาน/โครงการที่ไดรับมอบหมาย(2) การประเมินทักษะการสื่อสาร การฟง การพูด การอาน และการเขียน(3) การนําเสนองาน /ทักษะความเขาใจ(4) การประเมินผลสัมฤทธิ์ในการสอบ(5) การทํารายงาน/โครงงาน822.2 การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดานของวิชาเฉพาะ2.2.1 ดานคุณธรรมและจริยธรรม


2.2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม(1)มีวินัย มีความตรงตอเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับขององคกรและสังคม(2) มีความซื่อสัตยสุจริต และคํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมมากกวาผลประโยชนสวนตน(3) มีความรับผิดชอบในหนาที่ เปนสมาชิกที่ดีของสังคม และมีสวนรวมในกิจกรรมสาธารณะ(4)มีความเคารพในสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น2.2.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม(1) กําหนดกติกาในการเรียนการสอนเพื่อสรางความมีวินัยแกนักศึกษา เชน การเขาเรียนตรงเวลา การแตงกายใหสุภาพ การสงงานที่ไดรับมอบหมายใหตรงตามเวลาที่กําหนด เปนตน(2) จัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรกคานิยมความซื่อสัตยสุจริต และการคํานึงถึงผลประโยชนสวนรวม เชน การเนนย้ําจริยธรรมทางวิชาการ การยกตัวอยางบุคคลที่เปนแบบอยาง และยกยองชมเชยนักศึกษาที่มีคุณธรรมจริยธรรมในดานนี้ เปนตน(3) กําหนดใหนักศึกษามีการทํางานเปนกลุม โดยมีการแบงงานกันทํา เพื่อใหนักศึกษารูจักรับผิดชอบในหนาที่ของตนเองและเปนสมาชิกที่ดีของกลุม นอกจากนี้มีการสงเสริมใหนักศึกษาทํากิจกรรมที่เปนสาธารณประโยชนนอกหองเรียน(4) เปดโอกาสใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็น รูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและแลกเปลี่ยนเรียนรูทั้งในและนอกชั้นเรียน2.2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม(1)ประเมินความมีวินัยของนักศึกษาจากการตรงตอเวลาในการเขาหองเรียนการสงงานตามระยะเวลาที่มอบหมาย และการเขารวมกิจกรรม(2)ประเมินความซื่อสัตยสุจริตจากการไมทุจริตในการสอบ และจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย เชน การอางอิงในรายงานวิชาการ และการไมคัดลอกผลงานของผูอื่น(3)ประเมินความรับผิดชอบในหนาที่และการมีสวนรวมในการทํางานจากงานที่ไดรับมอบหมาย และความพรอมเพรียงในการเขารวมกิจกรรม(4)ประเมินการเคารพสิทธิและการรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาทั้งในและนอกชั้นเรียน2.2.2 ดานความรู2.2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู(1)มีความรูในเชิง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ(2)มีความรูเกี่ยวกับกระบวนการวิจัยในการสรางองคความรูและแกไขปญหา2.2.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู(1)การบรรยายภายในชั้นเรียนและการถามตอบ83


(2)มอบหัวขอเรื่องใหคนควาและทํารายงานทั้งเดี่ยวและกลุม(3) ทํารายงานเปรียบเทียบความรูจากหองเรียนกับการทํางานจริง ภาคปฏิบัติ(4) ใหนักศึกษาศึกษาคนควาวิจัยโดยอิสระในประเด็นที่สนใจ(5) อภิปรายเปนกลุมโดยใหผูสอนตั้งคําถามตามระบบการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง(6)การศึกษานอกสถานที่และทํารายงาน(7)สอนโดยการสาธิตและฝกปฏิบัติ(8)สอนโดยการติว (Tutorial group)2.2.2.3วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูดานความรู(1)ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติโดยการสอบยอยและใหคะแนน(2)ทดสอบโดยการสอบขอเขียนกลางภาคและปลายภาค(3)ประเมินผลจากการทํางานที่ไดรับมอบหมาย(4)ประเมินจากรายงานที่คนควาและการนําเสนอปากเปลา(5) ประเมินจากกิจกรรมทั้งในและนอกชั้นเรียน2.2.3 ดานทักษะทางปญญา2.2.3.1ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา(1)สามารถสืบคน ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใชในการทําความเขาใจปรากฏการณหรือแกไขปญหาอยางสรางสรรค(2) สามารถคิดวิเคราะหเชื่อมโยงและบูรณาการศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางเปนระบบ(3) สามารถประยุกตความรูและทักษะเพื่อใชในการทํางานและการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม2.2.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา(1)การศึกษาเฉพาะกรณีที่เกี่ยวกับปรากฏการณทางสังคม(2)การอภิปรายกลุม(3)การทํางานที่ไดรับมอบหมายใหคนควา(4)การบรรยายโดยผูเชี่ยวชาญหรือผูประกอบการที่มีความสําเร็จในอาชีพ(5)ใหนักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง2.3.3กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา(1)ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายใหทํา(2)การสอบขอเขียนหรือการสอบปากเปลา(3)การเขียนรายงาน(4) ประเมินจากกิจกรรมทั้งในและนอกชั้นเรียน2.2.4ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ84


2.2.4.1ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ(1) สามารถใหความชวยเหลือและอํานวยความสะดวกแกการแกปญหาสถานการณตาง ๆในกลุมทั้งในบทบาทของผูนําหรือผูตาม(2) มีความรับผิดชอบในการกระทําทั้งตอตนเองและตอสวนรวม(3) สามารถเปนผูริเริ่มนําเสนอประเด็นในการแกไขสถานการณทั้งสวนตัวและสวนรวม พรอมทั้งแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม(4) มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอยางตอเนื่อง(5) สามารถปรับตัวเขากับสถานการณและวัฒนธรรมองคกรที่ไปปฏิบัติงานไดเปนอยางดีและมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูรวมงานในองคกรและกับบุคคลทั่วไป2.2.4.2กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ(1) มอบหมายใหทํางานเปนกลุมและมีการแบงงานกันทําอยางชัดเจน(2) จัดการเรียนการสอนโดยใหนักศึกษามีการทํางานที่ตองประสานกับผูอื่นหรือตองคนควาหาขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลอื่นหรือผูมีประสบการณ(3) จัดการเรียนการสอนโดยใหมีการฝกประสบการณภาคปฏิบัติในหนวยงาน/องคกร หรือชุมชน(4) จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรใหนักศึกษามีทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ2.2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ(1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการทํางานรวมกับผูอื่น(2) ประเมินจากการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการไดรับการยอมรับจากเพื่อนรวมงานหรือผูเกี่ยวของทั้งในและนอกหองเรียน2.2.5ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ2.2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1)สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอสื่อสาร การศึกษาคนควา และการนําเสนอขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ(2) สามารถใชเทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตรและสถิติในการประมวลผล การแปลความหมาย และการวิเคราะหขอมูล(3) สามารถใชภาษาตางประเทศในการฟง การพูด การอานและการเขียนอยางมีประสิทธิภาพ85


2.2.5.2กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1) มอบหมายงานใหมีการศึกษาคนควาและการนําเสนอ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือ(2)จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมหลักสูตรโดยฝกทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรและสถิติ(3) จัดการเรียนการสอนโดยเนนการฝกทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียนภาษาตางประเทศ2.2.5.3กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1) ประเมินจากเทคนิคการนําเสนอ การเลือกใชเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาคนควา(2) ประเมินจากผลการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวของกับคณิตศาสตรและสถิติ(3) ประเมินจากความสามารถในการสื่อสารภาษาตางประเทศ โดยใชทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียน3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา(Curriculum Mapping)ผลการเรียนรูในตารางมีดังนี้3.1 ผลการเรียนรูวิชาศึกษาทั่วไป3.1.1 ดานคุณธรรม จริยธรรม(1) มีความซื่อสัตยสุจริต(2) มีความเปนธรรม(3) มีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม(4) มีวินัย(5) มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ(6) มีจิตอาสา3.1.2 ดานความรู(1) มีความรูอยางกวางขวางในหลักการและทฤษฎีองคความรูที่เกี่ยวของ(2) สามารถวิเคราะหอยางเปนระบบ(3) สามารถนําความรู หลักการ ทฤษฎีไปประยุกตใชไดอยางเเหมาะสม(4) สามารถบูรณาการความรูและศาสตรตางๆไดอยางเหมาะสม3. 1.3 ดานทักษะทางปญญา(1) สามารถคนควาขอมูลไดอยางเปนระบบ86


(2) สามารถวิเคราะหปญหา ประเมินทางเลือก และเสนอแนะวิธีการแกไขปญหาและผลการตัดสินใจไดอยางเหมาะสม(3) มีความคิดริเริ่มอยางสรางสรรค และมีความคิดในเชิงบวก(4) มีความใฝรู ติดตามการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง3.1.4 ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ(1) รับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและยอมรับความแตกตาง(2) มีความเปนผูนําและกลาทํา กลาแสดงออกในสิ่งที ่ถูกตอง(3) มีความรับผิดชอบในงาน ในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย(4) มีวุฒิภาวะทางอารมณ มีความสามารถในการปรับตัว การควบคุมอารมณและความอดทน(5) ใชสิทธิเสรีภาพโดยไมกระทบผูอื่น และมีความเปนพลเมืองดี3.1.5 ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1) มีความรูทักษะในการใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศ(2) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถประยุกตใชในการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ(3) มีทักษะในการคิดคํานวณ(4) มีทักษะในการคิดวิเคราะหเชิงคณิตศาสตรและสถิติ เก็บรวบรวมขอมูลและนําเสนอขอมูล3.2 ผลการเรียนรูวิชาเฉพาะ3.2.1ดานคุณธรรมจริยธรรม(1)มีวินัย มีความตรงตอเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับขององคกรและสังคม(2) มีความซื่อสัตยสุจริต และคํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมมากกวาผลประโยชนสวนตน(3) มีความรับผิดชอบในหนาที่ เปนสมาชิกที่ดีของสังคม และมีสวนรวมในกิจกรรมสาธารณะ(4)มีความเคารพในสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น3.2.2ดานความรู(1)มีความรูในเชิง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ(2)มีความรูเกี่ยวกับกระบวนการวิจัยในการสรางองคความรูและแกไขปญหา873.2.3 ดานทักษะทางปญญา(1)สามารถสืบคน ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใชในการทําความ


เขาใจปรากฏการณหรือแกไขปญหาอยางสรางสรรค(2) สามารถคิดวิเคราะหเชื่อมโยงและบูรณาการศาสตรตางๆ ที่เกี่ยวของอยางเปนระบบ(3) สามารถประยุกตความรูและทักษะเพื่อใชในการทํางานและการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม3.2.4ดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความรับผิดชอบ(1) สามารถใหความชวยเหลือและอํานวยความสะดวกแกการแกปญหาสถานการณตางๆในกลุม ทั้งในบทบาทของผูนําหรือผูตาม(2) มีความรับผิดชอบในการกระทําทั้งตอตนเองและตอสวนรวม(3) สามารถเปนผูริเริ่มนําเสนอประเด็นในการแกไขสถานการณทั ้งสวนตัวและสวนรวม พรอมทั้งแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม(4) มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอยางตอเนื่อง(5) สามารถปรับตัวเขากับสถานการณและวัฒนธรรมองคกรที่ไปปฏิบัติงานไดเปนอยางดีและมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูรวมงานในองคกรและกับบุคคลทั่วไป3.2.5ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ(1) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอสื่อสาร การศึกษาคนควาและการนําเสนอขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ(2) สามารถใชเทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตรและสถิติในการประมวลผล การแปลความหมาย และการวิเคราะหขอมูล(3) สามารถใชภาษาตางประเทศในการฟง การพูด การอานและการเขียนอยางมีประสิทธิภาพ88


89แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชาศึกษาทั่วไป (Curriculum Mapping)• ความรับผิดชอบหลัก ◦ ความรับผิดชอบรอง5. ทักษะการ4. ทักษะ วิเคราะหเชิง3. ทักษะทาง ความสัมพันธ ตัวเลขการ1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรูรายวิชาปญญา ระหวางบุคคลและ สื่อสารและความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 41) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป-หมวดมนุษยศาสตรมธ.110<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร • • • • • • • • • •มธ.111 ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตรสังคม และวัฒนธรรม• ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦◦มธ.116 มนุษยกับศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง• • • • • • • • • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ • • •มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม • ◦ • ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦-หมวดสังคมศาสตรมธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม • • • • • • ◦ • • • • • • • • • • • • ◦มธ.120 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร • ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦มธ.121 มนุษยกับสังคม ◦ ◦ • • • ◦ • • • • ◦ ◦ • • • ◦ • ◦ ◦ • •มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน • • • • ◦ ◦ • • • ◦ • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • • ◦มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • • • • • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦อซ.125 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน • ◦ • ◦ ◦ ◦ • • • • ◦ ◦ • • • ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦


5. ทักษะการ4. ทักษะ วิเคราะหเชิง3. ทักษะทาง ความสัมพันธ ตัวเลขการ1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรูรายวิชาปญญา ระหวางบุคคลและ สื่อสารและความรับผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4-หมวดวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวิทยาศาสตรมธ.130 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ◦ ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ •มธ. 143มนุษยกับสิ่งแวดลอม ◦ ◦ • • • ◦ • • • • • • ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦คณิตศาสตรหรือคอมพิวเตอรมธ.151คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong> ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • • •มธ. 153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ◦ ◦ ◦ • • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦มธ. 155 สถิติพื้นฐาน ◦ ◦ ◦ ◦ • • • ◦ • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • •มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรม◦◦ ◦ ◦ • • ◦ • • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ •เบื้องตนหมวดภาษาท.161 การใชภาษาไทย ◦ ◦ • ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • ◦ • ◦ •ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ ◦ • • ◦ • • • • ◦ ◦ ◦ • ◦ •หมวดภาษาตางประเทศ 1สษ. 070 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 ◦ ◦ • • ◦ • •◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦สษ.171 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • ◦90


91รายวิชา1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู3. ทักษะทางปญญา4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4สษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • ◦สษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1หมวดภาษาตางประเทศ 2• ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦จน.171 ภาษาจีน 1 ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ • ◦จน.172 ภาษาจีน 2 ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ • ◦


92แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชาเฉพาะ (Curriculum Mapping)•หมายถึง ความรับผิดชอบหลัก◦ หมายถึง ความรับผิดชอบรองรายวิชา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3สส.201วัฒนธรรมศึกษา • ◦ • ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦สส.202 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคม- • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ศาสตรสส.203 เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> ◦ • • ◦ • ◦ ◦ • • ◦ • ◦ • • ◦ • •สส.204 รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> • ◦ • • • ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦สส.205การบริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> ◦ • • ◦ • ◦ ◦ • • ◦ • ◦ • • ◦ • •สส.206 สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา • • • • • • • • • • • • ◦ ◦ • • ◦สส.207 หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื้องตน • • • • • • • • • • • • • • • ◦ ◦สส.208 ปรัชญาและวิธีการศึกษาทาง ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦สังคมศาสตรสส.209 การวิจัยเชิงปริมาณทาง • ◦ ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • • ◦สังคมศาสตรสส.211ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร • • ◦ • • ◦ • • • • • • • ◦ • ◦ •สส.212 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร • • ◦ • • ◦ ◦ • • • • • • ◦ • ◦ •สส.321 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ• ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦


รายวิชา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ93ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3สส.322 เอเชียในบริบทโลก ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦สส.323 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ระหวางประเทศสส.324 แนวคิดวาดวยการพัฒนา • • • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦สส.325 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม • • • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦สส.326 การบริหารงานองคกร • • • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦สส.331 หลักไวยากรกณจีน • ◦ ◦ ◦ • • • • • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ •สส.332 ทักษะการอานและเขียนภาษาจีน • ◦ ◦ ◦ • • • • • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ •สส.333 ประวัติศาสตรและอารยธรรมจีน ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦สส.334 เศรษฐกิจและการเมืองการ ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ปกครองจีนสส.335 สังคมและวัฒนธรรมจีนรวมสมัย ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦สส.341 การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่อง • • ◦ • • ◦ • • • • • • • ◦ • ◦ •อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.342 บริหารธุรกิจนานาชาติ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦สส.343 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.344 ภูมิศาสตรและเศรษฐกิจสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง• • ◦ ◦ • • • • ◦ • • • ◦ ◦ • • ◦


รายวิชา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ94ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3สส.345 วัฒนธรรมและสังคมของกลุม • • • ◦ • ◦ • • • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.351 คติชนและวิถีชีวิตพื้นบาน • • • ◦ • ◦ ◦ • ◦ • • ◦ • ◦ • ◦ ◦สส.352 กลุม องคกร และเครือขายทาง • • • • • ◦ • • • • • • • • • • ◦สังคมสส.353 ลานนาศึกษา • ◦ • ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦สส.354 การจัดการทรัพยากรทางสังคม • ◦ • ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦และวัฒนธรรมสส.355 การสื่อสารเพื่อจัดการทรัพยากร ◦ • • ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • • • ◦ ◦ทางสังคมและวัฒนธรรมสส.361 อุตสาหกรรมการทองเที่ยว • • • • • • • • • • • • • • ◦ ◦ ◦สส.362การจัดการธุรกิจทองเที่ยว • • • • • • • • • • • • • • • ◦ ◦สส.363ทรัพยากรการทองเที่ยว • ◦ • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦สส.364ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว• • • • • • • • • • • • • • • ◦ •สส.365 สังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยว • ◦ • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦สส.371 ศิลปะและวรรณกรรมจีน ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦สส.372 การทองเที่ยวในจีน • ◦ • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦สส.373 บูรณาการอาเซียน ◦ ◦ • ◦ • • • • • ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦


รายวิชา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ95ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3สส.374 การทองเที่ยวในเอเชียตะวันออก ◦ ◦ • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦เฉียงใตสส.375 ประชาสังคมและประชาธิปไตย • • • • • ◦ • • • • • • • • • ◦ ◦ทองถิ่นสส.376 ศิลปะหัตถอุตสาหกรรมและการ • • ◦ ◦ • • • • • • • • • ◦ • ◦ •จัดการสส.377 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการการ • • ◦ ◦ • ◦ • • • • • • ◦ • • ◦ ◦ทองเที่ยวสส.378 หลักนันทนาการเพื่อการทองเที่ยว • • • ◦ • ◦ ◦ ◦ • • • • ◦ • • ◦ ◦สส.381 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบ • • ◦ • • ◦ • • • • • • • ◦ • ◦ •อาชีพสส.382 การพัฒนาทักษะการนําเสนอ • • ◦ ◦ • ◦ • ◦ • ◦ • • • ◦ • ◦ ◦ขอมูลทางสังคมศาสตรสส.383 ภูมิทัศนวัฒนธรรม • • • • • • • • • • • • • • • ◦ •สส.384 องคกรกับความรับผิดชอบตอ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦สังคมสส.385 ประเด็นปจจุบันดานความสัมพันธ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ระหวางประเทศสส.386 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ • ◦ ◦


รายวิชา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ96ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3สส.431 กฎหมายและวัฒนธรรมการ • • • • • • • • • • • • • • • ◦ ◦ดําเนินธุรกิจในจีนสส.4 3 2 การเมื องและนโยบาย • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ตางประเทศของจีนสส.433 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอม • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ในจีนสส.434 การคาและการลงทุนจีน ◦ • ◦ ◦ • • • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦สส.435 สัมมนาประเด็นจีนศึกษา • ◦ ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦สส.441 การคาและการลงทุนของกลุม ◦ • ◦ ◦ • • • ◦ ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.442 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอม ◦ • ◦ ◦ • • • ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ • • ◦ ◦ในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.443 จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออก ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦เฉียงใตสส.444 การพัฒนาและการจัดการโลจิ ◦ • • ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ • ◦ ◦ • ◦สติกสสส.445 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุม • • • • • • • • • • • • ◦ ◦ • • ◦แมน้ําโขงสส.451 ประวัติศาสตรและโบราณคดีชุมชน• ◦ • ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦


รายวิชา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ97ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3สส.452 ชาติพันธุ รัฐ และโลกาภิวัตน • ◦ • • • ◦ • • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦สส.453 อุตสาหกรรมวัฒนธรรม • ◦ • ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦สส.454 พิพิธภัณฑศึกษา • ◦ • ◦ • ◦ • • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦สส.455 สัมมนาประเด็นการจัดการ • ◦ • • • • • • • ◦ ◦ ◦ • • • ◦ ◦ทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมสส.461 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ • ◦ • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦สส.462 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อ ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ • ◦ ◦การทองเที่ยวสส.463 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน • • • • • ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ •สส.464 นโยบายและแผนการจัดการการ • • • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ ◦ • ◦ ◦ทองเที่ยวอยางยั่งยืนสส.465 สัมมนาประเด็นการทองเที่ยว • • • • • • • • • ◦ ◦ • • • • • ◦อยางยั่งยืนสส.471 ทักษะการฟงและการพูดภาษาจีน • ◦ ◦ • • • • • • ◦ ◦ ◦ • • • ◦ •สส.472 ภาษาจีนสําหรับการประกอบอาชีพ • • ◦ • • ◦ • • • • • • • ◦ • ◦ •สส.473 การเคลื่อนยายและการขามแดน ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ • • ◦ • ◦ ◦ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตสส.474 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง• • • • • ◦ • • ◦ • • • ◦ ◦ • ◦ ◦


รายวิชา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ98ดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 4 5 1 2 3สส.475 มนุษย สังคม และวัฒนธรรมใน • • • ◦ • ◦ ◦ • ◦ • • ◦ • ◦ • ◦ ◦วรรณกรรมและภาพยนตรสส.476 หลักการสื่อสารตางวัฒนธรรม • • • ◦ • ◦ • • • • • ◦ ◦ ◦ • ◦ •สส.477 การสื่อสารเพื่อการจัดการการ • • • ◦ • ◦ • • • • • ◦ ◦ ◦ • ◦ •ทองเที่ยวสส.478 การทองเที่ยวกับชุมชนทองถิ่น • ◦ • • • ◦ ◦ • ◦ ◦ • ◦ ◦ ◦ • ◦ ◦สส.500 ภาคนิพนธ • • • • • • • • • • • • • • ◦ ◦ •สส.501 กระบวนการทํางานในชุมชน • • • • • • • • • • • • • • ◦ ◦ •สส.502 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>• • • • • • • • • • • • • • ◦ ◦ •


99หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา1.กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด)1.1เปนไปตามขอบังคับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร วาดวยการศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2540(แกไขเพิ่มเติมถึงปจจุบัน พ.ศ.2555)ขอ 11,12,13,14,15 และ 221.2 การวัดผลการศึกษาแบงเปน 8 ระดับ มีชื่อและคาระดับตอหนึ่งหนวยวิชาดังนี้ระดับ A B+ B C+ C D+ D Fคาระดับ 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 02.กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา(1) กําหนดระบบการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรูของนักศึกษาเปนสวนหนึ่งของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาที่จะตองทําความเขาใจตรงกันทั้งสถาบัน และนําไปดําเนินการจนบรรลุผลสัมฤทธิ์ ซึ่งผูประเมินภายนอกจะตองสามารถตรวจสอบได(2) การทวนสอบในระดับหลักสูตรสามารถทําไดโดยมีระบบประกันคุณภาพภายในสถาบันอุดมศึกษาดําเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูและรายงานผล(3) การทวนสอบในระดับรายวิชาใหนักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชามีคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมของขอสอบใหเปนไปตามแผนการสอน2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษาการกําหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา ควรเนนการสํารวจสัมฤทธิผลของการประกอบอาชีพของบัณฑิต ที่ทําอยางตอเนื่องและนําผลสํารวจที่ไดยอนกลับมาปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหนวยงานโดยองคกรภายนอก โดยการสํารวจอาจจะดําเนินการดังตัวอยางตอไปนี้(1) ภาวะการไดงานทําของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแตละรุนที่จบการศึกษา ในดานของระยะเวลาในการหางานทํา ความเห็นตอความรู ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการประกอบอาชีพ(2)การตรวจสอบจากผูประกอบการ โดยการขอเขาสัมภาษณ หรือ การสงแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาและเขาทํางานในสถานประกอบการนั้นๆ เปนตน(3) การประเมินจากสถานศึกษาอื่น โดยการสงแบบสอบถามหรือสอบถามเมื่อมีโอกาสในระดับความพึงพอใจในดานความรู ความพรอม และคุณสมบัติดานอื่นๆ ของบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาและเขาศึกษาเพื่อปริญญาที่สูงขึ้นในสถานศึกษานั้นๆ(4) การประเมินจากบัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพ ในแงของความพรอมและความรูจากสาขาวิชาที่เรียน รวมทั้งสาขาอื่นๆ ที่กําหนดในหลักสูตร ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพของบัณฑิตรวมทั้งเปดโอกาสใหเสนอขอคิดเห็นในการปรับหลักสูตรใหดียิ่งขึ้นดวย


(5) ความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มาประเมินหลักสูตร หรือ เปนอาจารยพิเศษตอความพรอมของนักศึกษาในการเรียนและสมบัติอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาองคความรูของนักศึกษา(6)ผลงานของบัณฑิตที่วัดเปนรูปธรรมได เชน จํานวนผลงานทางวิชาการที่ไดรับรางวัลจํานวนรางวัลทางสังคมและวิชาชีพจํานวนกิจกรรมการกุศลเพื่อสังคมและประเทศชาติและจํานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองคกรที่ทําประโยชนตอสังคม เปนตน3.เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร3.1 ไดศึกษารายวิชาตางๆครบตามโครงสรางองคประกอบและขอกําหนดของหลักสูตรโดยมีหนวยกิตสะสมไมต่ํากวา130หนวยกิต3.2 ไดคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา2.00(จากระบบ 4 คะแนน)3.3 ตองปฎิบัติตามเงื่อนไขอื่นๆ ที่<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>และมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรกําหนด100


101หมวดที่ 6การพัฒนาคณาจารย1.การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม1.1มีการปฐมนิเทศและใหคําแนะนําแกอาจารยใหม เพื่อใหมีความรูและเขาใจนโยบายของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>/<strong>วิทยาลัย</strong>ตลอดจนในหลักสูตรที่สอน รวมทั้งมีการประเมินประสิทธิภาพการสอนอยางสม่ําเสมอ1.2 ใหอาจารยใหมเขาใจการบริหารวิชาการของ<strong>วิทยาลัย</strong> และเรื่องของการประกันคุณภาพการศึกษาที่<strong>วิทยาลัย</strong>ตองดําเนินการ และภาระงานที่อาจารยทุกคนตองรับผิดชอบ2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย2.1การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอนการวัดและการประเมินผล(1) สงเสริมอาจารยใหเพิ่มพูนความรู และประสบการณเพื่อพัฒนาการสอนและการวิจัยอยางตอเนื่อง พรอมทั้งสนับสนุนการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกรตาง ๆการประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือตางประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ(2) เพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหทันสมัย2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอื่นๆ(1) สงเสริมการมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการสูสังคม(2) กระตุนอาจารยใหผลิตผลงานทางวิชาการ(3) สงเสริมการทําวิจัยเพื่อสรางองคความรูใหมและบูรณาการในการเรียนการสอน(4) สงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนและถายทอดองคความรูระหวางคณาจารยเพื่อสรางชุมชนทางวิชาการ(5) สรางความรวมมือทางวิชาการระหวางสถาบันการศึกษาและหนวยงานทั้งภายในและภายนอกมหา<strong>วิทยาลัย</strong>


หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร1. การบริหารหลักสูตรคณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรดําเนินการบริหารหลักสูตรดังนี้1.1 กํากับดูแลใหหลักสูตรดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร และตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา1.2 จัดใหมีระบบและขั้นตอนในการติดตามผลการดําเนินงานของหลักสูตร1.3 ประเมินผลการดําเนินงานของหลักสูตรตามตัวบงชี้และเกณฑที่กําหนดอยางนอยทุกปการศึกษา1.4 ดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรตามผลการประเมินเพื่อใหผลการดําเนินงานเปนไปตามมาตรฐานและตัวบงชี้ผานเกณฑการประเมินครบทุกตัวบงชี้เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล1.เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู 1. มีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหมและปรับปรุง <strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> ใชความสามารถในลักษณะ<strong>สห</strong> หลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการ ระบบและกลไก ดังนี้<strong>วิทยาการ</strong>ตลอดจนมีความรู อุดมศึกษาและดําเนินการตามระบบที่กําหนด1.ประกันคุณภาพการศึกษา<strong>วิทยาลัย</strong>ฯ มีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรศิลปความสามารถในการประยุกตองคประกอบที่ 2 การผลิตศาสตรบัณฑิต <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตรความรูไปใชในทางปฏิบัติหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 6ดังนี้บัณฑิต (ตามตัวบงชี้ระบบ2.เพื่ อผลิ ตบั ณฑิ ตที่ มี 1.1 มีการแตงตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบพิจารณา และกลการพัฒนาและบริหารคุ ณธรรม จริ ยธรรม หลักสูตรปรับปรุงและเชิญผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มี หลักสูตร)อุดมการณ และจิตสํานึกออกสู ความเชี่ยวชาญและประสบการณในสาขาวิชานั้นๆ 2. การรายงานผล กพร.สังคม1.2 ใชขั้นตอนการนําเสนอหลักสูตรของ (การปฏิบัติราชการตาม3.เพื่ อขยายโอกาสทางมหา<strong>วิทยาลัย</strong>เปนหลักในการดําเนินเปดและปดหลักสูตร ปงบประมาณ)การศึกษาระดับปริญญาตรีใน1.3 การถือปฏิบัติตามระเบียบวาดวยระบบและภาคเหนือกลไกการเปดและปดหลักสูตรของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร1.4 การถือปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 25482. มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการอุดมศึกษาและดําเนินการตามระบบที่กําหนด<strong>วิทยาลัย</strong>ฯ มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรดังนี้2.1 มีการแตงตั้งคณะกรรมการฝายวิชาการโครงการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบการพัฒนาหลักสูตรใหมีมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาสูงขึ้น2.2 การถือปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง แนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตร102


เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผลระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 25482.3 การถือปฏิบัติตามระเบียบวาดวยระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตรของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร3.หลักสูตรมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ<strong>วิทยาลัย</strong>ฯไดเปดสอน<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong><strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตร หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ. 2556ใหสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนดังนี้3.1 อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตามและทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร3.2 อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพอยางนอยปละหนึ่งครั้ง3.3 จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพไมนอยกวารอยละ 50 ตอป4.มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนทั้งขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตนตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสูตร<strong>วิทยาลัย</strong>ฯสรางกลไกกํากับดูแลใหหลักสูตรดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติดังนี้4.1 มีการแตงตั้งคณะกรรมการฝายวิชาการโครงการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบหลักสูตรใหมีการดําเนินงานเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดม ศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ4.2 มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้และเกณฑที่กําหนดเพื่อวัดคุณภาพการดําเนินงานของหลักสูตรใหเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา อาทิ การสํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรูทุกรายวิชา103


เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล4.3 มีการกําหนดระบบการรายงานผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้โดยจัดทําแบบฟอรมใหผูที่เกี่ยวของกรอกขอมูล เพื่อนําไปวิเคราะหและหาแนวทางปรับปรุงหรือพัฒนา เชน-ตารางสรุปการเขารวมฝกอบรม/ประชุม/สัมมนาของคณาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนโครงการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร- แบบกรอกรายการ “การนําผลการประเมินการเรียนการสอนมาปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียนการสอน”และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน2.1 การบริหารงบประมาณ<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร ไดรับจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการดําเนินงาน จาก 3 แหลง คือ งบประมาณแผนดิน งบประมาณรายจายจากรายไดหนวยงาน และเงินกองทุนคาธรรมเนียมการศึกษาเพื่อการพัฒนา โดยพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจายผานที่ประชุมคณาจารยและคณะกรรมการบริหาร<strong>วิทยาลัย</strong>2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยูเดิม2.2.1 สถานที่สถานที่ที่มีอยูเดิม ประกอบดวยหองตางๆ ดังตอไปนี้หองพักอาจารย จํานวน 2 หองหองศึกษาดวยตนเอง จํานวน 3 หองหองประชุม จํานวน 2 หองหองเรียนขนาด 50 ที่นั่ง จํานวน 10 หองหองเรียนขนาด 60 ที่นั่ง จํานวน 1 หองหองเรียนขนาด 100 ที่นั่ง จํานวน 14 หองหองเรียนขนาด 150 ที่นั่ง จํานวน 1 หองหองเรียนขนาด 200 ที่นั่ง จํานวน 6 หองหองเรียนขนาด 500 ที่นั่ง จํานวน 1 หอง2.2.2 อุปกรณและสื่อการสอนอุปกรณการสอนที่มีอยูเดิมประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอร จํานวน 158 เครื่องเครื่องเลนวีดิทัศน จํานวน 48 เครื่องกลองถายภาพดิจิทัล จํานวน 1 ตัว104


2.2.3 หองสมุดในการศึกษาตําราคนควา เอกสารและงานวิจัย นักศึกษาสามารถใชบริการไดที่หองสมุดบุญชูตรีทองซึ่งเปนหองสมุดที่ทุกคณะในมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปาง จะใชบริการรวมกัน มีจํานวนเอกสาร ตํารา วารสารและงานวิจัยตางๆดังตอไปนี้หนังสือและตําราภาษาไทย จํานวน 3,335 เลมภาษาอังกฤษ จํานวน 699 เลมโสตทัศนวัสดุวีดิทัศน จํานวน 1,210 รายการนอกจากนี้ยังมี CD-ROM และสื่ออื่นๆ ตามโครงการความรวมมือเครือขายหองสมุดทั้งในและนอกสถาบันและการคนควาโดยผาระบบอินเตอรเน็ต เพื่อสืบคนขอมูลใหมๆ จากทุกแหลงขอมูลทั้งในและตางประเทศ2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม2.3.1 มีการจัดสรรงบประมาณประจําปในการจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอน2.3.2 มีการใหผูสอนเสนอความตองการทรัพยากรเพื่อการจัดหา2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร2.4.1 สํารวจความตองการทรัพยากรการเรียนการสอนเปนประจําทุกปจากผูสอนและผูเรียน2.4.2 มีการการประเมินคุณภาพการใหบริการหองสมุดการใหบริการดานกายภาพ การใหบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนอื่นๆและการใหบริการสาธารณูปโภคและระบบรักษาความปลอดภัย105


เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล1.มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อใหนักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอรในอัตรา ไมสูงกวา 8 FTES ตอเครื่องมีการดําเนินงานในการรวบรวม1.มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อใหนักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอรในอัตรา ไมสูงกวา 8 FTES ตอเครื่อง2.มีบริการหองสมุดและแหลงเรียนรูอื่ นๆผ านระบบเครื อข ายคอมพิวเตอร และมีการฝกอบรมการใชงานแกนักศึกษาทุกปการศึกษา3.มีบริการดานกายภาพที่เหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอนและพัฒนานักศึกษาอยางนอยในดานหองเรียน หองปฏิบัติการ อุปกรณการศึ กษา และจุ ดเชื่ อมต ออินเตอรเน็ตในระบบไรสาย4. มีบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปนอื่นๆ อยางนอยในดานงานทะเบียนนักศึกษาผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาลการจัดการหรือจัดบริการดานอาหาร และสนามกีฬาขอมูลจํานวนวิชาที่เปดสอน จํานวนกลุมที่เปดสอน จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในแตละภาคเรียนเพื่อนํามาหาคา FTES จากนั้นนํามาคํานวณกับจํานวนคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการเรียนการสอน ซึ่งจะทราบถึงคา FTES ของคอมพิวเตอรตอจํานวนนักศึกษา2.มีบริการหองสมุดและแหลงเรียนรูอื่นๆผานระบบเครือขายคอมพิวเตอรและมีการฝกอบรมการใชงานแกนักศึกษาทุกปการศึกษา<strong>วิทยาลัย</strong>ฯใหนักศึกษาใชบริการหองสมุดหอง Self - Accessห องปฏิ บั ติ การคอมพิ วเตอรจากการบริ การของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปาง และเขารวมอบรมในโครงการอบรมตางๆที่จัดขึ้นโดยหองสมุด3.มีบริการดานกายภาพที่เหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอนและพัฒนานักศึกษาอยางนอยในดานหองเรียน หองปฏิบัติการ อุปกรณการศึ กษา และจุ ดเชื่ อมต ออินเตอรเน็ตในระบบ ไรสาย<strong>วิทยาลัย</strong>ฯ ใชบริการหองเรียนหองปฏิบัติการ อุปกรณการศึกษาและจุดเชื่อมตออินเตอรเน็ตในระบบไรสายของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรศูนยลําปางรวมกันกับคณะอื่นๆ4.มีบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่1061.ดําเนินการประเมินคุณภาพของบริการในขอ 2-5 ทุกตัวไมต่ํากวา3.51 จากคะแนนเต็ม 52.นําผลการประเมินคุณภาพ มาใชเปนฐานขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการดานกายภาพที่สนองความตองการของผูรับบริการ(การประเมินผลใชตัวบงชี้ของการประกันคุณภาพการศึกษา)


107เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผลจําเปนอื่นๆ อยางนอยในดานงานทะเบียนนักศึกษาผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร การบริการอนามัยและการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการดานอาหาร และสนามกีฬา5.มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจน <strong>วิทยาลัย</strong>ฯ ใชบริการดานงานทะเบียนบริเวณโดยรอบอยางนอยในเรื่องประปา ไฟฟา ระบบกําจัดของเสียผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร เชนการจดทะเบียนรายวิชา การเพิ่มการจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและ ถอนรายวิชา เปนตน และมีหองอุปกรณปองกันอัคคีภัย ในบริเวณพยาบาลเพื่อบริการดานสุขภาพและอาคารตางๆ โดยเปนไปตามอนามัยใหกับนักศึกษา ซึ่งศูนยกฎหมายที่เกี่ยวของลําปางไดจัดจางพยาบาลจากโรงพยาบาลหางฉัตรมาอยูประจําที่หองพยาบาลทุกวัน สวนการใชบริการดานโรงอาหารและสนามกีฬาตลอดจนโรงยิ มเนเซี ยมของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปางนั้น นักศึกษาโครงการปริญญาตรีใชบริการรวมกับคณะอื่นๆซึ่งมีความเพียงพอตอความตองการของนักศึกษา5.มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบอยางนอยในเรื่องประปา ไฟฟา ระบบกําจัดของเสียการจัดการขยะรวมทั้งมีระบบและอุปกรณปองกันอัคคีภัย ในบริเวณอาคารตางๆ โดยเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของวิ ทยาลั ยฯ มี การบริ การด านสาธารณูปโภคในเรื่องของน้ําประปาไฟฟาที่มีการติดตั้งเพื่ออํานวยความสะดวกตลอดเส นทางภายใน


108เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผลมหา<strong>วิทยาลัย</strong> และมีการจัดตั้งถังขยะตามจุดตางๆใหเพียงพอตอความตองการของนักศึกษาและมีเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยตั้งแตทางเขามหา<strong>วิทยาลัย</strong>จนกระทั่งภายในบริเวณอาคารเรียนของแตละอาคาร ซึ่งมีการจางเหมารักษาความปลอดภัยตามขอกําหนดและรายละเอียดของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปางโดยใหแตละบริษัทที่สนใจทําการยื่นซองเพื่อประมูลงานดังกลาวแลวดําเนินการทําสัญญาจางงานพรอมทั้งขอความรวมมือจากบุคลากรภายในและภายนอก3.การบริหารคณาจารย3.1 การรับอาจารยใหม(1)สํารวจความขาดแคลนและความจําเปนในการรับอาจารยใหม(2)กําหนดคุณสมบัติของอาจารยใหม โดยตองมีคุณสมบัติครบถวนตามความในมาตรา7 แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547(3) มีความเขาใจถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของหลักสูตรและมีความรูความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่สอนหรือมีประสบการณในการทําวิจัย/วิชาชีพ(4) มีการคัดเลือกและสัมภาษณโดยคณะกรรมการของ<strong>วิทยาลัย</strong>และคณะกรรมการบริหารของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตรคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูสอนจะตองประชุมรวมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน ประเมินผลและใหความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมไวสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทางที่จะทําใหบรรลุเปาหมายตามหลักสูตร และผลิตบัณฑิตที่เปนไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค3.3การแตงตั้งคณาจารยพิเศษ(1) มีนโยบายและการวางแผนในการเชิญผูทรงคุณวุฒิภายนอกมารวมสอนในบางรายวิชาและบางหัวขอที่ตองการความเชี่ยวชาญเฉพาะหรือประสบการณจริง(2) จัดระบบคัดกรองคณาจารยพิเศษโดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการวิชาการของโครงการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร <strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ซึ่งมีการกําหนด


หลักเกณฑเพื่อเปนแนวทางในการคัดเลือก เชนคุณวุฒิ ผลงานทางวิชาการความเชี่ยวชาญในวิชาชีพเปนตน(3) ขออนุมัติการเชิญตามระเบียบของ<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>(4) คณาจารยพิเศษตองมีแผนการสอนตามคําอธิบายรายวิชาที่<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>จัดทําไวประกอบการสอนโดยประสานงานกับอาจารยผูสอนหรืออาจารยผูประสานรายวิชา4.การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง(1) มีการกําหนดคุณสมบัติบุคลากรสายสนับสนุนใหตรงตามภาระหนาที่ที่ตองรับผิดชอบกอนเขารับทํางาน(2) ตองผานการสอบคัดเลือกที่ประกอบดวยการสอบขอเขียนและการสอบสัมภาษณโดยใหความสําคัญตอความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ตามตําแหนง โดยเฉพาะอยางยิ่งการมีทัศนคติที่ดีในการใหบริการตออาจารยและนักศึกษา4.2การเพิ่มทักษะความรูเพื่อการปฏิบัติงาน(1) จัดโครงการฝกอบรมเพิ่มพูนความรูในวิชาชีพของผูปฏิบัติงาน(2) จัดโครงการศึกษาดูงานเพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูการทํางานของหนวยงานอื่น(3) สนับสนุนงบประมาณใหบุคลากรไดพัฒนาตนเองในดานความรูที่เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ5.การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอื่นๆ แกนักศึกษาทาง<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มีการสนับสนุนการใหคําปรึกษาดานวิชาการและดานอื่นๆแกนักศึกษา โดยมีการจัดตั้งระบบอาจารยที่ปรึกษาใหมีความเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษา โดยคํานึงถึงสัดสวนของอาจารยที่ปรึกษาตอจํานวนนักศึกษา เพื่อใหอาจารยที่ปรึกษาสามารถดูแลนักศึกษาไดอยางทั่วถึง มีการจัดทําตาราง Office Hour เพื่อใหนักศึกษาสามารถเขาพบอาจารยที่ปรึกษาได นอกจากการใหคําปรึกษาทางดานวิชาการแลวทาง<strong>วิทยาลัย</strong>ยังใหคําปรึกษาทางดานการใชชีวิตสวนตัวของนักศึกษาหรือนักศึกษาที่ตองการความชวยเหลือ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการใหคําปรึกษาการจัดทํากิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา โดยมีฝายกิจการนักศึกษาของ<strong>วิทยาลัย</strong>อีกดวย5.2 การอุทธรณของนักศึกษาเปนไปตามขอบังคับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรวาดวยวินัยนักศึกษา พ.ศ.2547หมวดที่ 46.ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตโครงสรางฐานขอมูลเกี่ยวกับความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือ ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ทาง<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> สาขา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร มีการดําเนินการดังนี้109


6.1<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> สาขา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร ใชขอมูลจากผลการสํารวจความพึงพอใจของนายจางตอบัณฑิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรในแตละรุน โดยทางกองแผนไดสํารวจความพึงพอใจตอผูใชบัณฑิตของมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรทุกคณะ โดยจําแนกตามกลุมสาขาและคณะซึ่ง<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>อยูในกลุมสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร และเกณฑการประเมินมี 5 ประเด็นดังนี้ 1) ดานคุณธรรม จริยธรรม 2) ดานความรู 3) ดานทักษะทางปญญา 4) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และ 5) ดานการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี6.2 ทาง<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ไดจัดทําแบบสํารวจผลการปฏิบัติงานและคุณสมบัติของบัณฑิต<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ตามที่หนวยงานตองการ เพื่อประเมินการทํางานของบัณฑิต<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>เปนการเฉพาะ โดยมีการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตเมื่อครบรอบการปรับปรุงหลักสูตร และนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจมาใชในการปรับปรุงหลักสูตร เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบัณฑิตหรือตรงกับความตองการของตลาดแรงงานมากที่สุด110


7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)ดัชนีบงชี้ผลการดําเนินงาน ปที่ 1 ปที่ 2 ปที่ 3 ปที่ 4 ปที่ 5(1) อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ80มีสวนรวมใน X X X X Xการประชุมเพื่อวางแผนติดตามและทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร(2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบมคอ.2ที่สอดคลองกับ X X X X Xกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ(3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ X X X X Xภาคสนาม(ถามี)ตามแบบมคอ.3และมคอ.4อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา(4)จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชาและรายงานผล X X X X Xการดําเนินการของประสบการณภาคสนาม(ถามี)ตามแบบมคอ.5และ มคอ.6ภายใน30วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปดสอนใหครบทุกรายวิชา(5) จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบมคอ. X X X X X7ภายใน60วันหลังสิ้นสุดปการศึกษา6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผล X X X X Xการเรียนรูที่กําหนดใน มคอ.3 และมคอ.4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา(7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนกลยุทธการ X X X Xสอนหรือการประเมินผลการเรียนรูจากผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงานในมคอ.7ปที่แลว(8) อาจารยใหม(ถามี)ทุกคนไดรับการปฐมนิเทศหรือคําแนะนํา X X X X Xดานการจัดการเรียนการสอน(9) อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพอยางนอยปละหนึ่งครั้งX X X X X(10)จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี)ไดรับการพัฒนาวิชาการและหรือ/วิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 50 ตอป(11)ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมที่มีตอคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไมนอยกวา3.5จากคะแนน5.0(12)ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหมเฉลี่ยไมนอยกวา3.5จากคะแนนเต็ม5.0111X X X X XXXX


112หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน1.1 การประเมินกลยุทธการสอน1.1.1 การประชุมรวมกันของอาจารยในสาขาวิชาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอคําแนะนําขอเสนอแนะจากอาจารยที่มีความรูในการใชกลยุทธการสอนเพื่อนําไปวางแผนกลยุทธการสอนสําหรับรายวิชาที่ผูสอนแตละคนรับผิดชอบ1.1.2 การสอบถามจากนักศึกษาถึงประสิทธิผลของการเรียนรูจากวิธีการที่ใชโดยใชแบบสอบถามหรือการสนทนากับกลุมนักศึกษาระหวางภาคการศึกษาโดยอาจารยผูสอน1.1.3 การประเมินการเรียนรูของนักศึกษาจากพฤติกรรมการแสดงออกการทํากิจกรรมและผลการสอบ1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน1.2.1 การประเมินการสอนโดยนักศึกษาทุกปลายภาคการศึกษา1.2.2 การประเมินการสอนโดยผูสอนโดยวิเคราะหจุดแข็งจุดออนของกลยุทธผลการเรียนของนักศึกษาและเขียนไวในรายงานรายวิชา2.การประเมินหลักสูตรในภาพรวม2.1 ประเมินจากนักศึกษาปจจุบันและบัณฑิตที่จบตามหลักสูตรโดยใชแบบสอบถามนักศึกษาชั้นปที่ 4 ในโครงการปจฉิมนิเทศการสัมภาษณตัวแทนของนักศึกษา/บัณฑิตกับตัวแทนคณาจารย2.2 ประเมินจากผูทรงคุณวุฒิและ/หรือผูประเมินภายนอกโดยดูจากผลการประเมินตนเองของผูสอนและรายงานผลการดําเนินการหลักสูตร2.3 ประเมินจากผูใชบัณฑิตหรือผูมีสวนเกี่ยวของโดยประเมินความพึงพอใจตอคุณภาพของบัณฑิต การวิพากษหลักสูตรและการสํารวจอัตราการมีงานทําของบัณฑิต3.การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตรการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ ผลการดําเนินงานที่ระบุในหมวดที่ 7 ขอ 7โดยผูรับผิดชอบหลักสูตรและคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับภาควิชา มีคณะกรรมการอยางนอย 3 คน ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิภายในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันอยางนอย 1 คน4.การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง4.1อาจารยประจําวิชาทบทวนผลการประเมินประสิทธิผลของการสอนในวิชาที่รับผิดชอบในระหวางภาคการศึกษาและปรับปรุงทันทีเมื่อไดรับขอมูลในกรณีที่จําเปนและเมื่อสิ้นภาคการศึกษาจัดทํารายงานผลการดําเนินการรายวิชาเสนอผูอํานวยการโครงการปริญญาตรีผานอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร4.2อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ในหมวดที่ 7 ขอ 7 จากการประเมินคุณภาพภายในสาขาวิชา


4.3อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรสรุปผลการดําเนินงานหลักสูตรประจําปโดยรวบรวมขอมูลการประเมินประสิทธิผลของการสอนรายงานผลการดําเนินการของรายวิชารายงานผลการดําเนินการของการฝกประสบการณภาคสนามรายงานผลการประเมินการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวกรายงานผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษารายงานผลการประเมินหลักสูตรรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิจัดทํารายงานผลการดําเนินงานหลักสูตรประจําปเสนอผูอํานวยการโครงการปริญญาตรี4.4ประชุมอาจารยประจําหลักสูตรพิจารณาทบทวนสรุปผลการดําเนินงานหลักสูตรเพื่อวางแผนปรับปรุงการดําเนินงานเพื่อใชในปการศึกษาตอไปและจัดทํารายงานผลการดําเนินงานหลักสูตรเสนอตอคณบดี113


114ภาคผนวกภาคผนวก 1ผลงานทางวิชาการ (ยอนหลัง 5 ป) ของอาจารยประจําหลักสูตรอาจารยประจําสาขาวิชาเอกจีนศึกษาอาจารยประจําหลักสูตรผลงานทางวิชาการ1.อ.ดร.พิทยา สุวคันธ งานวิจัย1.วิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (เสนทางหมายเลข 9)(2553)แหลงเงินทุน :สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา(องคการมหาชน) (งานวิจัยรวม)แหลงเผยแพร :สัมมนาวิชาการ สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (องคการมหาชน) (งานวิจัยรวม) 25532.ศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ – ใตกรณีศึกษา อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ไทย และเมืองหวยทรายแขวงบอแกว สปป.ลาว(อยูระหวางการดําเนินการ)แหลงเงินทุน :กองทุนวิจัยมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร3.บรรษัทขามชาติจีนในลาวและเวียดนาม(2555)แหลงเงินทุน :สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (งานวิจัยเดี่ยว)แหลงเผยแพร :งานสัมมนาวิชาการเรื่อง “สังคมศาสตรและมนุษยศาสตรกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย” การนําเสนอผลงานวิจัยเนื่องในงานฉลองครบ 20ป ธรรมศาสตร ลําปาง วันที่ 7ธันวาคม 2555ณ มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ศูนยลําปางตํารา1.เศรษฐกิจและการเมืองในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (อยูระหวางการดําเนินการ)บทความทางวิชาการ1.ภูมิยุทธศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง : โอกา<strong>สห</strong>รือความหวัง2.การขยายอํานาจของจีนในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง3.”ไฮเออร (Haier)”4. “เลโนโว (Lenovo)”5. การลงทุนโดยตรงของจีนในกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง6."เกษตรพันธะสัญญา : การลงทุนของไทยในสปป.ลาว"


1152.อ.วราพร แซจึง3.อ.ชิตวร วราศิริพงศไมมีงานวิจัย1.วัฒนธรรมการคาจีน กรณีศึกษาที่มาของแนวคิดและวิธีปฏิบัติตนในการเจรจาธุรกิจกับชาวจีน2.โครงการ “การพัฒนาและการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม :กรณีอุตสาหกรรมเครื่องกระเบื้องจิ่งเตอเจิ้น (Jingdezhen)มณฑลเจียงซี”อาจารยประจําสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาอาจารยประจําหลักสูตรผลงานทางวิชาการ1.ผศ.ดร.กนกวรรณ อูทองทรัพย งานวิจัย1.การปรับตัวของผูประกอบการเฟอรนิเจอรขนาดกลางและขนาดยอม(SME) ในภาคเหนือ ภาคใต การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกรณีศึกษา จ.เชียงใหม และลําปาง2.ผศ.ธีรภัท ชัยพิพัฒน งานวิจัย1. “สุราพื้นบาน” ภาพสะทอนของกระบวนการเรียนรู การปรับตัวและความสัมพันธแบบใหมภายใต กระแสการเปลี่ยนแปลงจากนโยบายรัฐกรณีศึกษา : หมูบานหวยหมาย ตําบลหวยหมาย อําเภอสอง จังหวัดแพร2.โมง-ลั้ง-ลวง: อัตลักษณคนหาปลาบนแมน้ําโขงและการปรับตัวเพื่อความอยูรอดภายหลังการสรางเขื่อนของจีน ศึกษาบริเวณพรมแดนไทย-ลาว ตอนบนตํารา1.สังคมและวัฒนธรรมของกลุมประเทศของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงวัน/เดือน/ปตีพิมพ : วันที่ 1 ตุลาคม 2551 บริษัท มิตเตอรกอปป (ประเทศไทย) จํากัดบทความวิชาการ1.บทเรียนจากการดําเนินงานดานดานการเสริมสรางพลังผูบริโภคภาคเหนือศึกษากลุมเครือขายสิทธิผูปวยแมเมาะ อําเภอแมเมาะจังหวัดลําปาง2.สุราพื้นบาน กระบวนการเรียนรูและการปรับตัว ภายตกระแสเปลี่ยนแปลงจากนโยบายของรัฐศึกาชุมชนบานหวยหมาย ตําบลหวยหมาย อําเภอสอง จังหวัดแพร3.อ.ศิวริน เลิศภูษิต งานวิจัย1.กระบวนการขามรัฐจีนี่สงผลกระทบดานเศรษฐกิจสังคมตอชุมชนชาวลาวในบอเติน


116บทความวิชาการ1.The meaning of water and mountain for Tai Lue people inSipsongpanna2. Dual Society in Sipsong Panna: Tai Lue society and ways oflife under the China development policy since 1949อาจารยประจําสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมอาจารยประจําหลักสูตรผลงานทางวิชาการ1.อ.รุงนภา เทพภาพ งานวิจัย1.กระบวนการเขาสูการคามนุษย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการและสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ2.การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของเทศบาลตําบลลอมแรด อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง3.การประเมินตนเองและติดตามการดําเนินงานของเทศบาลนครลําปาง ปงบประมาณ 25514.การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดทุนทางสังคมและประชาสังคม ปที่ 1(2551-2552)5.การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของเทศบาลตําบลลอมแรด อําเภอลอมแรด จังหวัดลําปาง ปงบประมาณ 25516.การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกผูแทนราษฎร 2550 กรณีศึกษาจังหวัดแพร7.กลไกการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย กรณีศึกษาจังหวัดเชียงราย8.สถานภาพองคความรูการคามนุษยในสังคมไทย9.การประเมินความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการขององคการบริหารสวนจังหวัดลําปาง ปงบประมาณ 255210.โครงการติดตามผลการดําเนินงานความสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของเทศบาลนครลําปาง ปงบประมาณ255211.การสํารวจขอมูลและองคความรูเกี่ยวกับการแกไขปญหาคนชายขอบ กรณีคนจนเมืองในชุมชนแออัดเปรียบเทียบประเทศไทยและประเทศเกาหลี12.การประเมินแผนพัฒนาประจําป พ.ศ.2552 องคการบริหารสวนจังหวัดลําปาง


117อาจารยประจําหลักสูตร2.อ.ชัยวุฒิ บุญเอนก3.อ.โอฬาร รัตนภักดีผลงานทางวิชาการ13.การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดทุนทางสังคมและประชาสังคม ปที่ 2(2552-2553)14.การคาชายแดน ภาพสะทอนประวัติศาสตรสัมพันธไทย-พมา15.โครงการประเมินผลการดําเนินงานของสมาคมพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรและสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน ปงบประมาณ 255316.โครงการศึกษาวิจัยกระบวนการทางสังคม เพื่อกําหนดมาตรการสรางเสริมสุขภาวะประชาชนสูงวัย ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากแผนงานเสริมสรางการเรียนรูกับสถาบันอุดมศึกษาไทย เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (TUHPP)บทความวิชาการ1.เด็กเสี่ย วาดวยความสัมพันธระหวาง รางกาย ความสาว และเงินตรา2. "เพศสัมพันธกับภาพสะทอนอารมณทางเพศของหญิงสาววัยรุนพินิจผานกรณีนางฟาคืนเดียว(One night stand) และเด็กเสี่ย"แหลงเผยแพร :ประชุมวิชาการเพศวิถีศึกษา ครั้งที่ 3เรื่อง จุดเปลี่ยนเรื่องเพศประเทศไทย ในวันที่ 15-16ก.ย. 54ณ โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร กทม. (หนา 1-16)3. "ผูหญิงกับความมั่นคงทางอาหาร"งานวิจัย1.วิหารไทลื้อเมืองนาน : รูปแบบและคติความเชื่อบทความวิชาการ1.วัดภูมินทร วิหาร (อุโบสถ) : ขอสังเกตเทคนิค ภูมิปญาการออกแบบกอสราง2. Dual Society in Sipsong Panna: Tai Lue society and ways oflife under the China development policy since 1949งานวิจัย1. ภูมินามของหมูบานในจังหวัดลําพูน(2552)แหลงเงินทุน : ทุนอุดหนุนการวิจัยกองทุนวิจัยมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรประจําป 2550แหลงเผยแพร :บทความวิจัย โอฬาร รัตนภักดี และวิมลศิริ กลิ่นบุบผา. (มกราคม – มิถุนายน 2553). ภูมินามของหมูบานในจังหวัดลําพูน. วารสารมนุษยศาสตร (มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เกษตรศาสตร) ปที่ 17,ฉบับที่ 1 : น. 58 – 84.


118อาจารยประจําหลักสูตรผลงานทางวิชาการ2. ภูมินามของหมูบานในจังหวัดลําปาง(2552)แหลงเงินทุน : ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผนดินประจําปงบประมาณ 2551แหลงเผยแพร :บทความวิจัย โอฬาร รัตนภักดี และวิมลศิริ กลิ่นบุบผา. (2552).ภูมินามของหมูบานในจังหวัดลําปาง. วารสารอักษรศาสตร (มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร) ปที่ 31, ฉบับที่ 2 : น. 26 – 61.บทความวิชาการ1.ลักษณะของเพลงพื้นบานในเพลงรองเลนสมัยใหมแหลงเผยแพร :วิทยาสารเกษตรศาสตร (สาขาสังคมศาสตร)ปที่ 30, ฉบับที่ 1 : น. 10 – 25.2.วรรณกรรมบทฝกอาน : การศึกษาในฐานะแบบเรียนภาษาไทยแหลงเผยแพร :วารสารมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร ปที่ 9, ฉบับที่ 1 :น. 317 – 346.3.การศึกษานิทานภูมินามหมูบานในจังหวัดลําปางแหลงเผยแพร :โครงการสัมมนาเครือขายวิชาการ-การวิจัย สายมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรครั้งที่ 5ในวันที่ 28-29ก.ค. 54ณมหา<strong>วิทยาลัย</strong>นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก (หนา 236-252)4.วิถีชีวิตพื้นบานและประวัติศาสตรทองถิ่นจากนิทานภูมินามหมูบานในจังหวัดลําพูนแหลงเผยแพร :การประชุม วิชาการระดับชาติ มนุษยศาสตรในทศวรรษใหม: พลวัตแหงองคความรูกับพหุลักษณทางวัฒนธรรม ในวันที่ 18-19ส.ค. 545.เพลงรองเลนสมัยใหม : การศึกษาในฐานะเพลงพื้นบานไทยอาจารยประจําสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนอาจารยประจําหลักสูตร1.รศ.ฝน สุเอียนทรเมธีผลงานทางวิชาการงานวิจัย1.การคาขายแดน : ภาพสะทอนประวัติศาสตรความสัมพันธ ไทย-พมา2.การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดทุนทางสังคมและประชาสังคมปที่ 13.การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดทุนทางสังคมและประชาสังคมปที่ 24.กลไกในการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย จ.ลําปาง5.ความสัมพันธของอํานาจทองถิ่นและกลุมการเมืองทองถิ่นภายหลัง


119อาจารยประจําหลักสูตร2.อ.ดร.โขมสี แสนจิตตผลงานทางวิชาการการเลือกตั้งผูบริหารทองถิ่นโดยตรงในประเทศไทย จ.ลําปาง6. ติดตามประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลนครลําปางระยะ 3 ป และสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของเทศบาลนครลําปางป 517.แผนยุทธศาสตรการพัฒนาของเทศบาลนครลําปาง 5ป (พ.ศ.2553-2557) และแผนพัฒนา 3ป (พ.ศ.2553-2555)8.โครงการศึกษาพัฒนา Civil Society Index และ Socail CapitalIndex เพื่อการพัฒนา9.โครงการติดตามผลและประเมินผลแผนพัฒนาทองถิ่น ประจําป2552องคการบริหารสวนจังหวัดลําปาง10.การติดตามประเมินผลการดําเนินงานและสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอการพัฒนาของเทศบาลนครลําปาง ปงบประมาณ 255211.โครงการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการตอการใหบริการของอบจ.ลําปาง12.โครงการศึกษาวิจัยกระบวนการทางสังคมเพื่อกําหนดมาตรการสรางเสริมสุขภาวะประชากรสูงวัย13.โครงการวิจัยความเขมแข็งของเครือขายประชาชนและปจจัยสนับสนุนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด14.โครงการศึกษาพัฒนา Civil Society Index และ Social CapitalIndex เพื่อพัฒนาประชาธิปไตย ปที่ 3ตํารา1.ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น (ครั้งที่ 1)วัน/เดือน/ปตีพิมพ : วันที่ 1 มีนาคม 2552 บริษัทมิตเตอรกอปป(ประเทศไทย) จํากัดบทความวิชาการ1.การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดทุนทางสังคมละประชาสังคม ปที่ 12.การติดตามประเมินผลการดําเนินงานและสํารวจความพึงพอใจของประชาชนตอการพัฒนาของเทศบาลนครลําปาง ปงบประมาณ 25523.รายงานการสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการตอการใหบริการของ อบจ.ลําปาง ประจําป 25524.ขยะใตพรม : ภาพสะทอนปญหาการคามนุษยและแนวทางการสรางกลไกการทํางาน5.อัตลักษณ-คนเหนือ-อัตลักษณคนเหนืองานวิจัย1.ตราประจําจังหวัด : มุมมองจากสัญวิทยาสูอัตลักษณความเปนทองถิ่น


120อาจารยประจําหลักสูตรผลงานทางวิชาการ(2555)แหลงเงินทุน :ทุนอุดหนุนการวิจัย กองทุนวิจัยมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ประจําป 25542.การจัดการพื้นที่แหลงโบราณสถานในเขตอําเภอเมืองจังหวัดลําปาง(อยูระหวางการดําเนินการอนุมัติ)แหลงเงินทุน :โครงการสนับสนุนการวิจัยและผลงานวิชาการของคณาจารย<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ประจําป25553.โครงการวิจัยสถาบันเรื่อง “ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของนักศึกษา<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรศูนยลําปาง (2548)แหลงเงินทุน :มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร ประจําป 2547บทความวิชาการ1.การศึกษาประวัติศาสตรเมืองลําพูน ยุคหริภุญไชยแหลงเงินทุน :แหลงเผยแพร :2.คติเรื่องอดีตพระพุทธ 28พระองคในพุกามชวงเวลาที่เผยแพร: 2553แหลงเผยแพร :วารสารมุมมอง<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> ในหนึ่งทศวรรษ2542-2551 <strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> รวบรวมบทความในโอกาสครบรอบ10ปแหงการสถาปนา<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร หนา113-1323.รองรอยขาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยชวงเวลาที่เผยแพร: 2555แหลงเผยแพร :เอกสารรวมบทความหลังการประชุม (Proceedings)การประชุมวิชาการระดับชาติ “อุบลวัฒนธรรม ครั้งที่ 1 คน คา ขาว ในลุมน้ําโขง”. เชียงใหม: แมกซพริ้นติ้ง, 411-4294.ตราประจําจังหวัดเพชรบูรณชวงเวลาที่เผยแพร: 2553แหลงเผยแพร :วารสารเพชบุระสํานักศิลปะและวัฒนธรรมมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ราชภัฏเพชรบูรณปที่ 1ฉบับที่ 1 ตุลาคม-มีนาคม 2553,หนา 69-765. Kheun-Thao-Thang-Si Ritual: from Semiology to Buddhist’sbelief in Thailandชวงเวลาที่เผยแพร: 2554


121อาจารยประจําหลักสูตร3.อ.ชัยยุทธ ถาวรานุรักษผลงานทางวิชาการแหลงเผยแพร :ในการนําเสนอบทความที่ Institute of Language andCulture Studies (ILCS) Royal University of Bhutan ระหวางวันที่28 มิถุนายน 2554-6 กรกฎาคม 25546. Buddhism and the Beliefs of Local Spirits of Northern ThaiBuddhistsชวงเวลาที่เผยแพร: 2555แหลงเผยแพร :ในการนําเสนอบทความที่ Buddhasravaka BhiksuUniversity – Anuradhapura ประเทศ Sri Lanka ในงาน InternationalBuddhist Conference – 2012 ระหวางวันที่ 17-19กุมภาพันธ 25557.เมียงมานในละกอนชวงเวลาที่เผยแพร: 2545แหลงเผยแพร :รัฐศาสตรสาร ปที่ 23ฉบับที่ 2(2545) หนา 136-1708.การปรับตัวของสลาพื้นบานในบริบทของการทองเที่ยว : กรณีศึกษาชาวบานบานหลุก อําเภอแมทะจังหวัดลําปางชวงเวลาที่เผยแพร: 2548แหลงเผยแพร :เอกสารวิชาการลําดับที่ 41หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจําปทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 3เรื่องทบทวนภูมิปญญาทาทายความรู ของศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (2548) หนา 223-247.งานวิจัย1.ยุทธศาสตรการปรับตัวของหมูบานชาติพันธภายใตนโยบายการพัฒนาและการทองเที่ยวกรณีศึกษาอําเภอ กัลยานิวัฒนา จ.เชียงใหม(2554-2555)บทความวิชาการ1.เรรอนนอกกรอบ ชีวิตเยาวชนชายขอบในบริบทการทองเที่ยวเมืองเชียงใหม2.การทองเที่ยวประตสูความปรับเปลี่ยนสถานะของผูหญิงลีซอ


122ภาคผนวก 2 ภาระงานของอาจารยประจําหลักสูตรลําดับ รายนามอาจารย ภาระงานสอนกอนปรับปรุงหลักสูตร(ชั่วโมง:สัปดาห)ภาระงานสอนภายหลังการปรับปรุงหลักสูตร(ชั่วโมง:สัปดาห)ป. ตรี ป.โท ป.เอก รวม ป. ตรี ป.โท ป.เอก รวม1. นายพิทยา สุวคันธ 8.16 8.16 5.25 5.252. นางสาววราพร แซจึง 2.25 2.25 6 63. นายชิตวร วราศิริพงศ 1.50 1.50 7.50 7.504. นางสาวกนกวรรณ อูทองทรัพย - - 4.50 4.505. นายธีรภัท ชัยพิพัฒน 4.32 4.32 4.50 4.506. นางสาวศิวริน เลิศภูษิต 3.29 3.29 4.50 4.507.นางสาวรุงนภา เทพภาพ 6.19 6.19 6.75 6.758.นายชัยวุฒิ บุญอเนก 4.88 4.88 6.00 6.009.นายโอฬาร รัตนภักดี 9.00 9.00 20.25 20.2510. นางสายฝน สุเอียนทรเมธี 9.75 9.75 7.50 7.5011. นางสาวโขมสี แสนจิตต 4.79 4.79 6.00 6.0012. นายชัยยุทธ ถาวรานุรักษ 4.50 4.50 6.75 6.75


123ภาคผนวก 3 แบบฟอรมรายละเอียดในการเสนอขอปรับปรุงแกไขหลักสูตรการปรับปรุงแกไข<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตรฉบับป พ.ศ. 2552เพื่อใชในปการศึกษา 2556มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร1. หลักสูตรฉบับดังกลาวนี้ไดรับทราบ/รับรองการเปดสอนจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 25522. สภามหา<strong>วิทยาลัย</strong>/สถาบัน ไดอนุมัติการปรับปรุงแกไขครั ้งนี้แลว ในคราวประชุมครั้งที่12 /2555เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 25553. หลักสูตรปรับปรุงแกไขนี้เริ่มใชกับนักศึกษารุนปการศึกษา 2556 ตั้งแตภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา2556 เปนตนไป4. เหตุผลในการปรับปรุงแกไขเพื่อใหเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 ซึ่งกําหนดใหหลักสูตรที่มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เปดสอนอยูแลวตองดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับประกาศฯ ดังกลาวภายในปการศึกษา 25565. สาระในการปรับปรุงแกไข5.1 ปรับปรุงหลักสูตรโดยจัดทํารายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.25.2 ปรับเปลี่ยนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร และอาจารยประจําหลักสูตรเพื่อใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพการในปจจุบัน และเกณฑของสกอ. โดยเพิ่มอาจารยประจําหลักสูตร ของแตละวิชาเอก ดังนี้


124อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร1. รศ.สายฝนสุเอียนทรเมธี2. อ.ดร.พิทยา สุวคันธ3.อ.วิไลลักษณ อยูสําราญ4. ผศ.ธีรภัทชัยพิพัฒนหลักสูตรฉบับ พ.ศ.2552- สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2540)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศึกษาศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>สงขลานครินทร(2536)- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2550)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2540)- วิทยาศาสตรบัณฑิต (สัตวศาสตร)สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก (2536)- วิทยาศาสตรบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) เกียรตินิยมอันดับ 2มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2546)-สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2542)-สงเสริมสุขภาพ (สุขภาพ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2545)-ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภูมิภาคศึกษา) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2541)5. อ.ทัชชกร บัวลอม - บริหารธุรกิจบัณฑิต(เกียรตินิยมอันดับ 1)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>พายัพ(2550)- บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>พายัพ(2547)1.รศ.สายฝนสุเอียนทรเมธี2. อ.ดร. พิทยา สุวคันธ3.อ.ดร.โขมสี แสนจิตตหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556- สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2540)- ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศึกษาศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>สงขลานครินทร(2536)- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2550)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(การจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2540)- วิทยาศาสตรบัณฑิต (สัตวศาสตร)สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก (2536)- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2553)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาและวรรณกรรมลานนา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2539)- ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2533)


125อาจารยประจําหลักสูตรสาขาวิชาเอกจีนศึกษาหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.25561.อ.ดร.พิทยา สุวคันธ- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2550)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2540)- วิทยาศาสตรบัณฑิต (สัตวศาสตร) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก (2536)2. อ.วราพร แซจึง - Master of Education Curriculum and Teaching Methodology BeijingLanguage and Culture University (2554)- บัญชีมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong>(2546)- บัญชีบัณฑิต ( เกียรตินิยมอันดับ 2 )มหา<strong>วิทยาลัย</strong>หอการคาไทย (2539)3. อ.ชิตวร วราศิริพงศ - Master of Economics Yunnan University ประเทศจีน (2554)- อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาจีน) (เกียรตินิยมอันดับ 2)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2551)- ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>รามคําแหง(2550)อาจารยประจําหลักสูตรสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.25561. ผศ.ดร.กนกวรรณ อูทองทรัพย - Master of Business Administration Campbell Universityประเทศ<strong>สห</strong>รัฐอเมริกา(2542)- สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2 )มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2538)2. ผศ.ธีรภัท ชัยพิพัฒน - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ภูมิภาคศึกษา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม (2545)- รัฐศาสตรบัณฑิต (ความสัมพันธระหวางประเทศและระบบการเมืองเปรียบเทียบ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>สุโขทัยธรรมาธิราช (2551)- ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การสงเสริมสุขภาพและสุขศึกษา)3.อ.ศิวริน เลิศภูษิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม (2541)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภูมิภาคศึกษา) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2549)- รัฐศาสตรบัณฑิต (การระหวางประเทศ)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2542)


126อาจารยประจําหลักสูตรสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.25561. อ.รุงนภา เทพภาพ - สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2549)- สังคมสงเคราะหศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1 )มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2545)2. อ.ชัยวุฒิ บุญเอนก - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตรศิลปะ) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2549)- คุรุศาสตรบัณฑิต (ศิลปศึกษา)(เกียรตินิยมอันดับ 2)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ราชภัฏเชียงใหม(2540)3. อ.โอฬาร รัตนภักดี- อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2548)- อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) ( เกียรตินิยมอันดับ 1)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร (2543)อาจารยประจําหลักสูตรสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.25561. รศ.สายฝนสุเอียนทรเมธี - สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร (2540)- ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร) มหา<strong>วิทยาลัย</strong>สงขลานครินทร(2536)2. อ.ดร.โขมสี แสนจิตต - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ศิลปากร(2553)- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาและวรรณกรรมลานนา)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>เชียงใหม(2539)- ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)มหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2533)3. อ.ชัยยุทธ ถาวรานุรักษ - นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (วาทวิทยา)จุฬาลงกรณมหา<strong>วิทยาลัย</strong> (2552)- นิติศาสตรบัณฑิตมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตร(2547)5.3 ปรับปรุงรายวิชาศึกษาทั่วไป1) วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 11.1) ปรับวิชา มธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม เปนวิชาบังคับเพิ่มในวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 1 และปรับลดจํานวนหนวยกิตของวิชามธ.110 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร มธ.120<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร และมธ.130 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากวิชาละ 3 หนวยกิตเปนวิชาละ 2 หนวยกิต1.2) หมวดคณิตศาสตร เพิ่มวิชามธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอรพรอมทั้งปรับขอกําหนดของการศึกษาวิชาในหมวดดังกลาว จาก ใหเลือกศึกษาวิชา มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong> หรือ มธ. 155 สถิติพื้นฐาน เปน เลือกศึกษาวิชา มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>หรือ มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร หรือ มธ. 155 สถิติพื้นฐาน


1271.3) หมวดภาษา ปรับปรุงเนื้อหาวิชา3 วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ.2552หลักสูตรฉบับ พ.ศ.2556สษ.070ภาษาอังกฤษพื้นฐาน1 สษ.070ภาษาอังกฤษพื้นฐาน1วิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาเปนการศึกษาเสริมที่มิไดหนวยกิต (Non-Credit)เพื่อชวยนักศึกษาที่มีพื้นฐานความรูภาษาอังกฤษยังไมวิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาเปนวิชาเสริมที่มิไดคิดหนวยกิต (Non-Credit)เพื่อชวยนักศึกษาที่มีพื้นฐานความรูภาษาอังกฤษยังไมสูงพอที่จะเขาศึกษาในระดับพื้นฐานได (รายงานผล สูงพอที่จะเขาศึกษาในระดับพื้นฐานได (รายงานผลการศึกษาระบุเพียงใชได (S) หรือใชไมได (U) และจะไมนําไปคิดรวมกับจํานวนหนวยกิตทั้งหมดหรือคํานวณคาระดับเฉลี่ย)ทบทวนความรูภาษาอังกฤษพื้นฐาน โดยเนนการทบทวนความรูทางไวยกรณ การฟง การพูด ระดับตนและการอานบทความสั้นๆการศึกษาระบุเพียงใชได (S) หรือใชไมได (U) และจะไมนําไปคิดรวมกับจํานวนหนวยกิตทั้งหมดหรือคํานวณคาระดับเฉลี่ย)หลักสูตรเบื้องตนเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับนักศึกษา ฝกทักษะภาษาอังกฤษที่ใชในชีวิตจริงทั้ง 4ทักษะ คือ ฟง พูด อาน เขียนสษ.171ภาษาอังกฤษพื้นฐาน2 สษ.171ภาษาอังกฤษพื้นฐาน2วิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาหรือสอบ สษ.070 ไดระดับ Sศึกษาและฝกฝนภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ คือ ฟงพูด อาน และเขียนโดยการพูดระดับกลางและ การอานบทความที่มีความยาวขึ้นวิชาบังคับกอน : สษ.070หรือ กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาหลักสูตรระดับกลางเพื่อสงเสริมทักษะฟง พูด อานเขียน แบบบูรณาการ รวมทั้งเตรียมความพรอมนักศึกษาสําหรับการเรียนภาษาอังกฤษในระดับที่สูงขึ้นสษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน3 สษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน3วิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาหรือสอบ สษ.071 ไดไมต่ํากวาระดับ Dศึกษาและฝกฝนภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ โดยเนนการฝกฟงขาว บทสทนา และเนนการอานบทความที่ยากขึ้นและฝกการเขียนระดับยอหนาวิชาบังคับกอน : สษ. 171 หรือ กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาหลักสูตรระดับกลางสูง เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาใชทักษะภาษาอังกฤษอยางบูรณาการในระดับที่ซับซอนกวาในวิชาภาษาอังกฤษระดับกลาง โดยเนนทักษะการพูดและการเขียน2)วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 22.1) ปรับขอกําหนดการศึกษา จาก บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต และบังคับเลือก 2 วิชา 6หนวยกิต เปนบังคับ 2 วิชา 3 หนวยกิต และบังคับเลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต2.2) เพิ่มวิชา สษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 เปนวิชาบังคับ2.3) เพิ่มวิชาอซ.125ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน เปนวิชาบังคับเลือก


2.4) ปรับปรุงเนื้อหา 1 วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ.2552มธ.111 ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตรสังคม และวัฒนธรรมภูมิหลังของสังคม วัฒนธรรม และภูมิปญญาไทยตั้งแตอดีต สยามประเทศ จนถึงประเทศไทย มุงเนนประเด็นการสรางเอกลักษณไทย และทิศทางการพัฒนาของสังคมและวัฒนธรรมไทย ในบริบทแหงโลกาภิวัฒน128หลักสูตรฉบับ พ.ศ.2556มธ.111ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตรสังคม และวัฒนธรรมภูมิหลังของสังคม วัฒนธรรม และภูมิปญญาไทยตั้งแตอดีต สยามประเทศ จนถึงประเทศไทย มุงเนนประเด็นการสรางเอกลักษณไทย และทิศทางการพัฒนาของสังคมและวัฒนธรรมไทย ในบริบทแหงโลกาภิวัฒน“มีการศึกษานอกสถานที่"5.4 ปรับปรุงวิชาเฉพาะ5.4.1) ปรับจํานวนหนวยกิตของวิชาแกน (43หนวยกิต) ซึ่งประกอบดวยวิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> จาก 24หนวยกิต เปน27หนวยกิต วิชาภาษา จาก12หนวยกิต เปน 6 หนวยกิต และวิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติและภาคนิพนธ จาก 7 หนวยกิต เปน10 หนวยกิต โดยมีการเปลี่ยนแปลงรายวิชาดังนี้(1) วิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>- ปดวิชา 1 วิชา คือ สส.202 โลกาภิวัตนและวัฒนธรรมขามพรมแดน-ปรับปรุงวิชารวม 3 วิชา ดังนี้หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับชื่อวิชา 1 วิชา-สส.205 บริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> -สส.205 การบริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ปรับชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา 2วิชาสส.206 นิเวศวิทยาและสิ่งแวดลอม สส.206สิ่งแวดลอมกับการพัฒนาลักษณะ ความสัมพันธ ของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอมโครงสรางและหนาที่ของระบบนิเวศธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงสมดุลในระบบนิเวศ การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตตอการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม แรงกดดันของประชากรตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมผลกระทบของการพัฒนาที่มีตอคุณภาพสิ่งแวดลอมความสัมพันธของการพัฒนาและคุณภาพของสิ่งแวดลอมโดยเนนการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมโลก การเพิ่มขึ้นของประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี พรอมทั้งวิเคราะหสาเหตุ ผลกระทบและแนวทางแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในปจจุบัน ทั้งในระดับทองถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลกสส.208 การวิจัยเบื้องตน สส.208 ปรัชญาและวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตรปรัชญาและหลักการสําคัญของการสรางองคความรูทางสังคมศาสตร ตลอดจนจุดมุงหมายของการวิจัยทางสังคมรวมทั้งศึกษาถึงระเบียบวิธีวิจัยตามแนวทางของการวิจัยหลัก 2 แนวทาง คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ครอบคลุมตั้งแตการกําหนดปญหา การตั้งคําถามการวิจัย การออกแบบการวิจัย การวางแผนในการเก็บรวบรวมขอมูล และแนวทางในการวิเคราะหขอมูลปรัชญาและหลักการสําคัญของการสรางองคความรูทางสังคมศาสตร ตลอดจนจุดมุงหมายของการวิจัยทางสังคมศาสตร รวมทั้งศึกษาถึงระเบียบวิธีวิจัยตามแนวทางของการวิจัยเชิงคุณภาพ


- เปดวิชาเพิ่ม 2 วิชา โดยยายมาจากวิชาเลือก 1 วิชา คือ สส.209การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร (ชื่อเดิม - สส.393 คอมพิวเตอรเพื่อการวิจัยและการทํางานทางสังคมศาสตร) และเปดวิชาเพิ่ม 1 วิชา คือ สส.202แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตรสส.202 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตรพัฒนาการ สาระสําคัญ จุดเดน และขอวิจารณของแนวคิด ทฤษฎีทางสังคมวิทยา ครอบคลุมตั้งแตแนวคิดทฤษฎีในยุคคลาสสิกจนถึงยุคปจจุบัน ตลอดจนคายทฤษฎีแนวหลังสมัยใหม (Postmodernism)(2) วิชาภาษา- ปรับขอกําหนด จาก บังคับศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ2วิชา คือ สส.271ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 1และ สส.272 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 2และบังคับเลือก 2 วิชาจาก วิชาสส.371 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ สส.372 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ หรือ จน.171ภาษาจีน1และจน.172 ภาษาจีน2เปน เลือกศึกษาภาษาใดภาษาหนึ่ง 2 วิชา คือ สส.271 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 1และ สส.371 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร หรือ จน.171 ภาษาจีน1และจน.172 ภาษาจีน2- ปดวิชา สส.272 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 2- ปรับปรุงรายวิชารวม 2 วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา คําอธิบายวิชา และเปลี่ยนจากบังคับเลือกเปน เลือก 2 วิชา-สส.372 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ สส.381 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพวิชาบังคับกอน: สอบไดวิชา สษ.172เรียนรูคําศัพท วลี สํานวน และรูปประโยคเพื่อใชในการอาน และการเขียนจดหมายสมัครงาน การเขียนประวัติยอ และการเขียนที่จําเปนในการทํางานอื่นๆ เชน การเขียนบันทึก การประชุม เปนตน ตลอดจนฝกพูดในการสัมภาษณงานการสรุปงาน129โครงสราง ศัพท สํานวนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสํานักงานและการติดตอธุรกิจปรับรหัสวิชา 1 วิชาสส.371 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3) สส.212ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3)ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา คําอธิบายวิชา และเปลี่ยนจากบังคับ เปน บังคับเลือก 1 วิชาสส.271 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 1 (3) สส.211ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร (3)วิชาบังคับกอน: สอบไดวิชา สษ.172วิชาบังคับกอน : สอบไดสษ. 172ศึกษา และฝกฝน พัฒนาทักษะการอานประเภทตางๆ ที่ใชในการอานบทความดาน สังคมศาสตรทักษะการอานประเภทตางๆ ที่มีเนื้อหาดานสังคมศาสตรและทักษะการเขียนความเรียงประเภทตางๆ(3) วิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติและภาคนิพนธ- ปดวิชา 2 วิชา คือ สส.482 การเตรียมความพรอม<strong>สห</strong>กิจศึกษา และสส.483. <strong>สห</strong>กิจศึกษา ซึ่งเดิมกําหนดใหนักศึกษาวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การจัดการการทองเที่ยวและบริการสามารถเลือกศึกษาแทนวิชา ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>และภาคนิพนธได- ปรับปรุงรายวิชารวม 2 วิชา


หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา 1 วิชาสส.381ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การฝกประสบการณการทํางานภาคปฏิบัติ โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาเขาไปรวมทํางานในองคกรของรัฐและเอกชน สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย บริษัท องคกรทางธุรกิจ องคกรพัฒนาเอกชน (NGO) ชุมชน หรือการลงพื้นที่ทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยตองเลือกศึกษาในหัวขอหรือประเด็นที่นักศึกษาสนใจที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาเอกของนักศึกษา โดยมีการเขียนรายงานประกอบการฝกงาน(ฝกภาคสนามประมาณ 135 ชั่วโมง)ปรับรหัสวิชา 1 วิชาสส.481ภาคนิพนธสส.501 กระบวนการทํางานในชุมชนสส.502ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>130การฝกประสบการณการทํางานภาคปฏิบัติ โดยเปดโอกาสใหนักศึกษาเขาไปรวมทํางานในองคกรของรัฐและเอกชน สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย บริษัท องคกรทางธุรกิจ หรือองคกรพัฒนาเอกชน (NGO) โดยเลือกศึกษาในประเด็นที่นักศึกษาสนใจและเกี่ยวของกับสาขาวิชาเอกโดยมีการเขียนรายงานประกอบการฝกงาน(ฝกภาคสนามประมาณ 135 ชั่วโมง)สส.500ภาคนิพนธ- เปดวิชาเพิ่ม 1 วิชา คือ สส.501 กระบวนการทํางานในชุมชนชุมชนเมืองและชนบทในประเด็นตาง ๆ ทั้งฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม สุขอนามัย ตลอดจนวัฒนธรรมและภูมิปญญา รวมถึงแนวทางการเขามามีสวนรวมในการทํางานกับชุมชนในลักษณะตาง ๆ โดยนักศึกษาจะตองเขาไปใชชีวิตในชุมชนและเสนอรายงาน(ฝกภาคสนามประมาณ 180 ชั่วโมง)5.4.2) ปรับปรุงวิชาเอก จํานวน 4 สาขาวิชาเอก คือ <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>จีนศึกษา <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>อนุภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมและ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การจัดการทองเที่ยวและบริการ เปนดังนี้(1) ปรับชื่อวิชาเอกโดยตัดคําวา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>(2) ปรับชื่อวิชาเอกการจัดการทองเที่ยวและบริการ เปน การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน(3) ปรับปรุงรายวิชาของวิชาเอกรวมสาขาวิชาเอกจีนศึกษา และสาขาวิชาเอกอนุภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา 3 วิชา ดังนี้หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา 3 วิชาสส.311 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ สส.321 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศสส.312 เอเชียในบริบทโลกสส.322 เอเชียในบริบทโลกสส.313 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ สส.323การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ(4) ปรับรายวิชาของวิชาเอกรวมการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม และสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ดังนี้


- ปดวิชา สส.316 การจัดการการปฏิบัติการบริการ และยายวิชา สส.325ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม (วิชาเดิม - สส.342 ทุนทางสังคม วัฒนธรรมและภูมิปญญา) ซึ่งเดิมเปนวิชาบังคับเฉพาะเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม มาเปนวิชาเอกรวม- ปรับปรุงรายวิชา 2 วิชา ดังนี้หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา 2 วิชาสส.314 แนวคิดวาดวยการพัฒนาสส.315การบริหารงานองคกรสส.324 แนวคิดวาดวยการพัฒนาสส.326การบริหารงานองคกร(5) ปรับเพิ่มจํานวนหนวยกิต วิชาเอกบังคับจาก 21หนวยกิต เปน30 หนวยกิต โดยแตละสาขาวิชาเอกมีการปรับปรุงรายวิชา ดังนี้(5.1) วิชาเอกจีนศึกษา-ปรับปรุงวิชา 7 วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา 1 วิชาสส.322 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน สส.334 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีนปรับรหัสวิชา/ ชื่อวิชา และคําอธิบายวิชา 6 วิชาสส.321 ประวัติอารยธรรมจีนประวัติอารยธรรมยุคตางๆ ของจีน ตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร จนถึงสมัยปจจุบัน พัฒนาการของอารยธรรมจีนโบราณ พัฒนาการทางสังคม การเมืองการปกครองของจีนในยุคราชวงศ ตั้งแตสมัยจักรพรรดิองคสําคัญ ทั้งความรุงเรื่องและความเสื่อมในประวัติศาสตรจีนจนกระทั่งถึงสมัยการปลดแอกสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน ค.ศ.1949สส.373 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 1วิชาบังคับกอน: สอบไดวิชา จน.172ทบทวนระบบเสียงและสัทอักษรจีนพินอินเรียนรูคําศัพท สํานวน และรูปประโยคที่มีเนื้อหาและความรูเกี่ยวกับพื้นฐานการใชในชีวิตประจําวันของสังคมจีนในปจจุบันสส.374 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 2วิชาบังคับกอน : สอบได สส.373 หรือไดรับการอนุมัติจากผูบรรยายเรียนรูคําศัพทและสํานวน รวมทั้งสามารถใชรูปประโยคที่ซับซอนขึ้นได โดยมีสาระเนื้อหาเนนดานปรัชญา ศาสนาและวัฒนธรรมจีน131สส.333 ประวัติศาสตรและอารยธรรมจีนประวัติศาสตรและอารยธรรมยุคตางๆของจีน ตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร จนถึงสมัยปจจุบันพัฒนาการของอารยธรรมจีนโบราณ พัฒนาการทางสังคม การเมืองการปกครองของจีนในยุคราชวงศทั้งความรุงเรืองและความเสื่อมในประวัติศาสตรจีนจนกระทั่งถึงสมัยการปลดแอกสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน ค.ศ.1949สส.331หลักไวยากรณจีนวิชาบังคับกอน : สอบไดจน.172โครงสรางไวยากรณจีนตั้งแตระดับพื้นฐานจนถึงระดับสูงโดยเนนการวิเคราะหชนิดและหนาที่ของคําวลี และประโยคสส.332 ทักษะการอานและเขียนภาษาจีนวิชาบังคับกอน : สอบได จน.172หลักการเขียนและฝกทักษะการเขียน พรอมทั้งฝกทักษะการอานจับใจความและสรุปความจากบทความที่เกี่ยวของกับสังคม วัฒนธรรม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจของจีนหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556สส.421 จีนรวมสมัยสส.335 สังคมและวัฒนธรรมจีนรวมสมัยการเปลี่ยนแปลงของสถาบัน และองคกรตางๆในทาง สถาบันและองคกรตางๆ ในทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ


132สังคม การเมือง เศรษฐกิจ ศาสนาและวัฒนธรรมของจีนการสรางความเปนหนึ่งเดียวในสภาพแวดลอมที่เปนพหุสังคมของประเทศจีน ตลอดจนปญหาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของจีนในปจจุบันสส.422 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีนแนวคิด ปรัชญาจีน วัฒนธรรมจีน และทฤษฏีสังคมนิยมมาปรับใชในการบริการธุรกิจ กฎระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคาและการลงทุน ทั้งในระดับองคกรธุรกิจและปฏิสัมพันธระหวางองคกรธุรกิจ รวมทั้งการจัดตั้งองคกรและการดําเนินธุรกิจในจีนตลอดจนวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีนสส.423 สัมมนาประเด็นจีนศึกษาประเด็นปญหาที่เกี่ยวกับพัฒนาการ ความเปลี่ยนแปลงและความคิดสมัยใหมในจีน ทั้งทางดานการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และประเด็นใหมๆ ในสังคมจีน เพื่อเรียนรู ทําความเขาใจการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การถกประเด็นปญหาตางๆและวัฒนธรรมของจีนการสรางความเปนหนึ่งเดียวในสภาพแวดลอมที่เปนพหุสังคมของประเทศจีน ตลอดจนปญหาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของจีนในปจจุบันสส.431 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีนแนวคิดปรัชญาและวัฒนธรรมจีนที่มีผลกระทบโดยตรงตอทัศนคติในการดําเนินธุรกิจของผูคาชาวจีน พรอมทั้งวัฒนธรรมและการสรางความสัมพันธในการดําเนินธุรกิจระหวางผูคาชาวจีนกับชาวตางชาติ นอกจากนี้ยังรวมถึงการนําแนวคิดระบบสังคมนิยมแบบจีน (Socialism withChinese characteristics) มาปรับใชในการดําเนินธุรกิจพรอมทั้งเรียนรูกฎหมาย กฎระเบียบและขอบังคับที่เกี่ยวของกับการคาและการลงทุนในจีนทั้งในระดับองคกรธุรกิจและปฏิสัมพันธระหวางองคกรธุรกิจสส.435 สัมมนาประเด็นจีนศึกษาประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาหรือความเปลี่ยนแปลงของประเทศจีน ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และความสัมพันธของกลุมประเทศจีนกับสังคมโลก- เปดวิชาเพิ่ม 3 วิชา คือ สส.432 การเมืองและนโยบายตางประเทศของจีนสส.434 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในจีน และสส.434 การคาและการลงทุนจีนสส.432 การเมืองและนโยบายตางประเทศของจีนการเมืองและการตางประเทศของจีน การดําเนินนโยบายความสัมพันธระหวางจีนกับประเทศมหาอํานาจโลกทางการเมืองและเศรษฐกิจ ประเทศกําลังพัฒนา และประชาคมอาเซียนสส.433 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในจีนปญหาดานนิเวศวิทยา และสิ่งแวดลอมของประเทศจีน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชที่ดิน การตั้งถิ่นฐานของมนุษย และมลภาวะ ตลอดจนศึกษาผลกระทบของการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติประเภทตางๆ ในจีนสส.434 การคาและการลงทุนจีนสถานการณการคาและการลงทุนในจีน นโยบายและกฎหมายทางการคาและการลงทุนของจีนตลอดจนความสัมพันธทางธุรกิจของจีนกับตางประเทศ(5.2) วิชาเอกอนุภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา- ปรับวิชา สส.472 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุมประเทศในอนุภาคลุมแมน้ําโขง (รหัสเดิมตือ วส.432) ไปเปนวิชาเลือก


- ปรับปรุงรายวิชา 6วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา 1 วิชาสส.431 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศในอนุ สส.441 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงภูมิภาคลุมแมน้ําโขงปรับรหัสวิชา/ ชื่อวิชา และคําอธิบายวิชา 5 วิชาสส.331 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุม สส.343 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงแมน้ําโขงพื้นฐานทางประวัติศาสตรในดินแดนอนุภูมิภาคลุมแมน้ํา ประวัติศาสตรในประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ตั้งแตสมัยโขง ตั้งแตยุคสมัยแหงความเจริญรุงเรืองในอดีตของ รัฐจารีต สมัยอาณานิคม และการกอตัวของรัฐชาติบริเวณพื้นที่นี้ หรือยุคสมัยคลาสสิค สมัยรัฐจารีต การเขามาของลัทธิจักรวรรดินิยม กระทั่งเขาสูยุคสมัยอาณานิคมโดยมุงเนนไปที่ผลกระทบที่มีตอสังคมวงกวาง และผลกระทบที่มีตอกันของอาณาจักร/รัฐชาติ อันเกิดขึ้นจากเหตุการณในประวัติศาสตรที่สงผลตอความรูสึก ความไวใจและอคติที่เกิดขึ้นในยุคปจจุบัน ซึ่งเปนสวนสําคัญตอการสรางความเขาใจอันดีระหวางประเทศในกลุมอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงในอนาคตสส.332 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองสส.344 ภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐกิจสังคมของกลุมประเทศในอนุในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงภูมิภาคลุมแมน้ําโขงลักษณะและโครงสรางเศรษฐกิจ และการเมืองการ ปจจัยทางภูมิศาสตร และความเชื่อมโยงกับการพัฒนาทางปกครอง เพื่อสรางความ สัมพันธระหวางปจจัยทาง การเมืองและความสัมพันธระหวางประเทศในกลุมอนุเศรษฐกิจการเมืองการปกครอง ตลอดจนกระบวนการ ภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ศึกษาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ตลอดจนผลกระทบทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศเหลานี้นับแตอดีตจนถึงปจจุบันสส.333 อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงรวมสมัย สส.345 วัฒนธรรมและสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา วิเคราะหและเปรียบเทียบการจัดระเบียบและการ สถาบันและองคกรตางๆ ในทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงของสถาบันตางๆในทางสังคม การเมือง และวัฒนธรรมของประเทศลุมแมน้ําโขง ตลอดจนประเด็นศาสนาและวัฒนธรรม อีกทั้งศึกษาถึงบทบาทของ ปญหาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมในการสรางสรรคสังคม เศรษฐกิจและ วัฒนธรรมของประเทศลุมน้ําโขงในปจจุบันการเมืองของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงนอกจากนี้ยังเรียนรูเกี่ยวกับลักษณะเดนของวัฒนธรรมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง เมื่อเปรียบเทียบกับวัฒนธรรมอื่นๆ ตลอดจนศึกษาถึงปญหาทางสังคมและวัฒนธรรมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงในปจจุบัน133หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556สส.334 นิเวศวิทยาในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง สส.442 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง


ประวัติและแนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงผลกระทบจากการพัฒนาตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งในการดานการใชที่ดินในการทําการเกษตรและการพัฒนาอุตสาหกรรม การใชทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรน้ําทรัพยากรแรธาตุ และมลภาวะสิ่งแวดลอมในประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง134ปญหาดานนิเวศวิทยา และสิ่งแวดลอมของประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชที่ดินการตั้งถิ่นฐานของมนุษย ตลอดจนศึกษาผลกระทบของการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติประเภทตางๆ ในประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.433 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา สส.445 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษาประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการ ประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาหรือความเปลี่ยนแปลงของกลุมประเทศในอนุ พัฒนาหรือความเปลี่ยนแปลงของกลุมประเทศลุมแมน้ําโขงภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอมวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม ความสัมพันธของกลุม และความสัมพันธของกลุมประเทศลุมแมน้ําโขงกับสังคมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงกับสังคมโลก รวมถึง โลกบทบาทของไทยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง- ยายวิชาเลือกมาเปนวิชาบังคับ 2 วิชา คือ สส.342 บริหารธุรกิจนานาชาติและสส.444 การพัฒนาและการจัดการโลจิสติกส- เปดวิชาเพิ่ม 2 วิชา คือ สส.341 การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่องอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง และสส.443 จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใตสส.341 การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่องอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงวิชาบังคับกอน : สอบไดวิชา สษ.172เรียนรูคําศัพท วลี สํานวนและรูปประโยคเพื่อใชในการอานบทความภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับอาณาบริเวณศึกษา โดยเนนไปที่อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.443 จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใตพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ วัฒนธรรมของชุมชนชาวจีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต(5.3) วิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม- ปดวิชา 2 วิชา คือ สส.441 การบริหารงานทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา และสส.442 การวิจัยทางสังคมและวัฒนธรรม- ปรับวิชา สส.325 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม (ชื่อเดิม - สส.342 ทุนทางสังคมวัฒนธรรมและภูมิปญญา) ไปเปน วิชาบังคับรวม และนําวิชาเลือก สส. 452 ชาติพันธ รัฐ และโลกาภิวัตน มากําหนดเปนเอกบังคับ- ปรับปรุงรายวิชา 4วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา/ ชื่อวิชา และคําอธิบายวิชา 4 วิชา


สส.341 คติชนวิทยา สส.351คติชนและวิถีชีวิตพื้นบานความหมาย พัฒนาการ ขอบขาย ประเภท และลักษณะของคติชนวิทยา ทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะ (VerbalFolklore) วัฒนธรรมวัตถุ (Material Folklore)การละเลนและศิลปะการแสดงพื้นบาน (PerformingFolklore) รวมไปถึงความเชื่อและประเพณีพิธีกรรมพื้นบาน (Customary Folklore) ตลอดจนการบูรณาการคติชนวิทยากับศาสตรแขนงอื่นๆ และความสัมพันธระหวางคติชนวิทยากับการจัดการทรัพยากรทางสังคม135ความหมาย พัฒนาการ ขอบขาย ประเภท และลักษณะของคติชนและวิถีชีวิตพื้นบาน ทั้งวรรณกรรมมุขปาฐะวัฒนธรรมวัตถุ การละเลนและศิลปะการแสดงพื้นบานรวมไปถึงความเชื่อและประเพณีพิธีกรรมพื้นบาน อีกทั้งการบูรณาการคติชนและวิถีชีวิตพื้นบานกับศาสตรและศิลปแขนงอื่นๆ ตลอดจนการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมและวัฒนธรรมสส.343 กลุม องคกรและเครือขายทางสังคม สส.352 กลุม องคกร และเครือขายทางสังคมลักษณะเอกลักษณและบทบาทของกลุม องคกรและเครือขายทางสังคม ทั้งในระดับชุมชน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ การสรางและการพัฒนาเครือขาย ภาคีความรวมมือ รวมถึงการเสริมพลังขององคกรตางๆ อันจะนําไปสูกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคมเศรษฐกิจ การเมือง ที่สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและการจัดการสส.344 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมพัฒนาการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ รวมถึงบทบาทของภาครัฐ องคกร หนวยงานและภาคสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม และผลกระทบจากการพัฒนาและการจัดการในรูปแบบตางๆทั้งนี้นักศึกษาจะตองลงพื้นที่จริงในการศึกษาและทํารายงานเพื่อเสนอ ตัวแบบในการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมสส.443 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม โดยการใชแนวคิด ทฤษฏี มาเปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหปรากฏการณ จนนําไปสูการนําเสนอประเด็นปญหาในรูปแบบเวทีสัมมนา ตลอดจนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการถกประเด็นปญหาตางๆ โดยนักศึกษาตองจัดทํารายงานการศึกษา รวมทั้งขอสรุปจากการสัมมนาประกอบดวยแนวคิด ความหมาย องคประกอบของกลุม เครือขายทางสังคม และองคกรภาคประชาชนความสําคัญและความจําเปนของกลุม กระบวนการพัฒนากลุมและเครือขายสูการสรางองคกรภาคประชาชน การเสริมพลัง การหนุนเสริมทางสังคม การสรางและพัฒนาเครือขาย ภาคีความรวมมือ รวมถึงการเสริมพลังขององคกรตาง ๆ อันจะนําไปสูกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคมเศรษฐกิจการเมือง ที่สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและการจัดการสส.354 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมพัฒนาการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ รวมถึงบทบาทของภาครัฐ องคกร หนวยงานและภาคสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และผลกระทบจากการพัฒนาและการจัดการในรูปแบบตางๆสส.455สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม โดยการใชแนวคิดทฤษฏีมาเปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหปรากฏการณ จนนําไปสูการนําเสนอประเด็นปญหาในรูปแบบเวทีสัมมนา รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการถกประเด็นปญหาตางๆ- เปดวิชาเพิ่ม 5 วิชา ไดแกสส.353ลานนาศึกษา


การกอตัวและพัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรม ศิลป<strong>วิทยาการ</strong> ภูมิปญญาระบบเศรษฐกิจ การเมืองการปกครองของชุมชนในเขตภาคเหนือของประเทศไทยและประเทศใกลเคียงที่มีความสัมพันธกัน ความรุงเรืองของรัฐอาณาจักรจนกระทั่งถึงยุคสิ้นสุดอํานาจของเจาผูครองนครตาง ๆ ในลานนา การผนวกรวมกับรัฐสวนกลาง การเปลี่ยนแปลงและการลมสลายของลานนา รวมทั้งการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อฟนฟูศิลปวัฒนธรรมและเกียรติภูมิลานนาเพื่อการพัฒนาที่เหมาะสมสอดคลองกับทองถิ่นสส.355การสื่อสารเพื่อการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมหลัก แนวคิด ทฤษฎีในการสื่อสารขั้นตน กิจกรรมการสื่อสาร สถานการณการสื่อสาร บริบทการสื่อสาร องคประกอบการสื่อสาร เครื่องมือการสื่อสาร กลยุทธการจัดการการสื่อสาร การตลาดและการประชาสัมพันธ เพื่อการพัฒนาทักษะดานการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตนสส.451ประวัติศาสตรและโบราณคดีชุมชนแนวคิด คุณคาและความสําคัญของประวัติศาสตรและทรัพยากรทางโบราณคดีการบูรณาการประวัติศาสตรเพื่อการจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีการมีสวนรวมของชุมชนที่มีตอการจัดการประวัติศาสตรและทรัพยากรทางโบราณคดีอยางยั่งยืนสส.453อุตสาหกรรมวัฒนธรรมพัฒนาการของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมในสังคมตะวันตกและสังคมตะวันออก วัฒนธรรมในฐานะปริมณฑลใหมแหงความรวมมือระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ บทบาทขององคการระหวางประเทศในการสรางความหลากหลายทางวัฒนธรรม การสรางรายไดจากวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมวัฒนธรรมรวมทั้งการสรางพื้นที่ใหแกสินคาทางวัฒนธรรมสส.454พิพิธภัณฑศึกษาประวัติความเปนมาแนวคิด บทบาทจุดมุงหมายของการจัดตั้งพิพิธภัณฑประเภทตาง ๆ วิธีการจัดแสดงการเก็บรักษาและการจัดกิจกรรมของพิพิธภัณฑจรรยาบรรณของพิพิธภัณฑและบุคลากรพิพิธภัณฑกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของกับงานดานพิพิธภัณฑ(5.4) วิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน- ปดวิชา 2 วิชา คือ สส.451 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ และสส.452การวิจัยเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวและบริการ- ปรับปรุงรายวิชา 5 วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา 1 วิชาสส.351 อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ สส.361อุตสาหกรรมการทองเที่ยววิวัฒนาการการทองเที่ยวของประเทศไทยและนานาชาติในแตละยุค องคประกอบ และรูปแบบของการทองเที่ยวและบริการ องคกรที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวทั้งในประเทศและระหวางประเทศ มาตรฐานการทองเที่ยวรวมทั้งการตลาดการทองเที่ยวระดับตน โดยเนนเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานวิวัฒนาการการทองเที่ยวของประเทศไทยและนานาชาติในแตละยุค องคประกอบและรูปแบบของการทองเที่ยวและบริการ องคกรที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวทั้งในประเทศและระหวางประเทศ มาตรฐานการทองเที่ยวรวมทั้งการตลาดการทองเที่ยวระดับตน โดยเนนเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา/ ชื่อวิชา และคําอธิบายวิชา 4 วิชา136


สส.352 การจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน สส.463 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนแนวคิด ทฤษฎี และจุดมุงหมายการทองเที่ยวอยางยั่งยืน แนวคิด ทฤษฎี และจุดมุงหมายการทองเที่ยวอยางยั่งยืนการสรางสมดุลระหวางเจาบานและผูมาเยือน การจัดการ ผลกระทบของการทองเที่ยวภายใตเงื่อนไขของการพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยวใหสมดุลกับความสามารถในการ กระแ<strong>สห</strong>ลักตอบริบทแวดลอมตางๆ การสรางสมดุลรองรับของพื้นที่ ตลอดจนความสําคัญ บทบาท และความ ระหวางเจาบานและผูมาเยือนการจัดการทรัพยากรการรวมมือเชิงพหุภาคี ความสอดคลองของนโยบายของรัฐ ทองเที่ยวใหสมดุลกับความสามารถในการรองรับของรวมทั้งการวางแผนและการสรางนโยบายการพัฒนาการ พื้นที่จริยธรรมการทองเที่ยว ตลอดจนความสําคัญทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยเนนใหเห็นกลไกลทางความคิดที่ บทบาท และความรวมมือเชิงพหุภาคี ความสอดคลองเปนระบบ ขั้นตอนการวางแผน การกําหนดนโยบาย ของนโยบายของรัฐรวมทั้งการวางแผนและการสรางพัฒนาการทองเที่ยวทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติ ไปจนถึง นโยบายการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนโดยเนนใหระดับนานาชาติเห็นกลไกทางความคิดที่เปนระบบ ขั้นตอนการวางแผนการกําหนดนโยบายพัฒนาการทองเที่ยวทั้งในระดับทองถิ่น ระดับชาติไปจนถึงระดับนานาชาติสส.353 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว สส.362 การจัดการธุรกิจทองเที่ยวแนวคิดการจัดการธุรกิจทองเที่ยว การดําเนินงานดานตางๆ การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวของธุรกิจทองเที่ยว ความสัมพันธของโครงสรางของธุรกิจทองเที่ยวไดแก แหลงทองเที่ยว การขนสง โรงแรม ที่พักอาหารและเครื่องดื่ม สินคาที่ระลึก ธุรกิจนําเที่ยวและธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวของ เพื่อการดําเนินธุรกิจทองเที่ยวอยางมีประสิทธิภาพสส.354 การจัดการทรัพยากรเพื่อการทองเที่ยวและบริการลักษณะ ประเภท ของทรัพยากรทางวัฒนธรรมธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โดยเนนการใชประโยชนในดานการทองเที่ยวและบริการ รวมทั้งรูปแบบของการทองเที่ยวที่ใชทรัพยากรทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมเปนฐาน การจัดการ การอนุรักษ และการพัฒนาทรัพยากรเพื่อการทองเที่ยวและบริการสส.453 การจัดการการทองเที่ยวและบริการ : การศึกษาเฉพาะเรื่องศึกษาเฉพาะเรื่องที่เปนหัวขอที่นาสนใจในประเด็นเกี่ยวกับการจัดการการทองเที่ยวและบริการ ซึ่งจะประกาศลวงหนาเปนคราวๆไปตัวอยางหัวขอ ไดแกการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน การมีสวนรวมของภาคสวนตางๆในการจัดการการทองเที่ยวในเขตพื้นที่ภาคเหนือ เปนตน137แนวคิดการจัดการธุรกิจทองเที่ยว การดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของธุรกิจทองเที่ยวความสัมพันธของโครงสรางของธุรกิจทองเที่ยว ตลอดจนธุรกิจนําเที่ยวและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของสส.363 ทรัพยากรการทองเที่ยวความหมายความสําคัญประเภทลักษณะของทรัพยากรการทองเที่ยวของไทยและของโลกเอกลักษณและคุณคาของแหล งท องเที่ ยวทางประวั ติ ศาสตร ศิ ลปะโบราณสถานศาสนสถานและแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติปจจัยทางภูมิศาสตรสิ่งแวดลอมและอุปสงคของการทองเที่ยวที่มีผลกระทบตอทรัพยากรการทองเที่ยวการประเมินศักยภาพทรัพยากรการทองเที่ยวเพื่อการพัฒนาการอนุรักษและการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวที่สําคัญสส.465 สัมมนาประเด็นการทองเที่ยวอยางยั่งยืนประเด็นปญหาสําคัญหรือประเด็นที่นาสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยการใชแนวคิดทฤษฏีมาเปนแนวทางในการศึกษาวิเคราะหปรากฏการณทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค จนนําไปสูการนําเสนอประเด็นปญหาในรูปแบบเวทีสัมมนา รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการถกประเด็นปญหาตางๆ- เปดวิชาเพิ่ม 5 วิชา ไดแกสส.364 ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว


ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยวในเชิงนโยบาย แนวคิด ปจจัยทางภูมิศาสตรที่ชวยสงเสริมใหเกิดการทองเที่ยว รูปแบบในการจัดการการทองเที่ยวแตละพื้นที่ทางภูมิศาสตรที่สอดคลองกับที่ตั้งการเขาถึง และสภาพแวดลอม ผลกระทบจากการทองเที่ยวทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม การอนุรักษและการพัฒนาทรัพยากรการทองเที่ยว ตลอดจนการแกไขปญหาที่เกิดจากการทองเที่ยวสส.365 สังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยวความหมาย หลักการ และความสําคัญของสังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยว ตลอดจนการศึกษาถึงแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวของกับการทําความเขาใจ วิพากษ ตรวจสอบกระบวนการคิดในการจัดการทองเที่ยว การศึกษาพฤติกรรมของนักทองเที่ยวพรอมทั้งอภิปรายใหเห็นประเด็นทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวของการจัดการทองเที่ยวสส.461 การทองเที่ยวเชิงนิเวศความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศการจัดการและควบคุมผลกระทบของการทองเที่ยวในระบบนิเวศกระบวนการสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศในระดับพื้นที่โดยเนนใหเกิดการใชประโยชนอยางยั่งยืนสส.462 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อการทองเที่ยวแนวคิดหลักการและการวางแผนเชิงกลยุทธในการจัดการทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวปญหาของการจัดการทรัพยากรมนุษยบทบาทของภาครัฐและธุรกิจการทองเที่ยวในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย กระบวนการในการบริหารกลยุทธกระบวนการวางแผนการตัดสินใจเชิงกลยุทธการนํากลยุทธไปปฏิบัติการควบคุมเชิงกลยุทธสําหรับการทองเที่ยวสส.464 นโยบายและแผนการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืนความหมายแนวคิดหลักการการวิเคราะหสภาพแวดลอมนโยบายภาครัฐและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ และปจจัยที่สงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวแบบยั่งยืนตลอดจนศึกษาระเบียบวิธีปฏิบัตินานาชาติและการประยุกตใชหลักการกับการดําเนินการจริง5.4.3 ปรับลดจํานวนหนวยกิต และขอกําหนดการศึกษาวิชาเลือก จาก เลือกจากรายวิชาในสาขาวิชาเอกอื่นๆ หรือ เลือกศึกษาจากรายวิชาที่กําหนดให จํานวน 6 วิชา จํานวน 21 หนวยกิต เปน เลือกอยางนอย 4 วิชา 12 หนวยกิต จากรายวิชาที่กําหนดให จํานวน 16 วิชา โดยปรับรายวิชา ดังนี้- ปรับปรุงรายวิชา 3 วิชาหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา/ชื่อวิชา และคําอธิบายวิชาสส.471 ภาษาอังกฤษสําหรับธุรกิจทองเที่ยว สส.377 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการการทองเที่ยววิชาบังคับกอน : สอบไดวิชา สษ.172โครงสรางศัพท สํานวนภาษาอังกฤษ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับธุรกิจการทองเที่ยว และศึกษาขอมูลดานประวัติศาสตรภูมิศาสตร อารยธรรม วัฒนธรรม ศิลปะ ที่สัมพันธกับการจัดการธุรกิจการทองเที่ยว ตลอดจนพัฒนาทักษะใหสามารถนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวตางๆ เปนภาษาอังกฤษได138โครงสรางคําศัพทสํานวนภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการทองเที่ยว และพัฒนาทักษะในการใหขอมูลเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวตางๆ ไดหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556


สส.472 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 3 สส.472 ภาษาจีนเพื่อการประกอบอาชีพวิชาบังคับกอน : สอบได สส.374หรือไดรับวิชาบังคับกอน : สอบได จน. 172การอนุมัติจากผูบรรยายคําศัพทและบทสนทนาภาษาจีนซึ่งใชในการประกอบเรียนรูคําศัพท สํานวน และวลีเฉพาะทาง ที่มีสาระเนื้อหา อาชีพโดยทั่วไป พรอมทั้งเรียนรู การเขียนจดหมายธุรกิจเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองจีน และความสัมพันธ เบื้องตน และการเขียนประวัติสวนตัวและใบสมัครเพื่อระหวางประเทศของจีนในปจจุบันประกอบการสมัครงาน โดยมุงเนนการเตรียมความพรอมใหผูเรียนสามารถนําความรูไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพไดจริงสส.473 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 4วิชาบังคับกอน : สอบได สส.472 หรือไดรับการอนุมัติจากผูบรรยายการใชคําศัพท การฟง และการพูด ประโยคที่สําคัญทางดานธุรกิจ สาระเนื้อหาที่เกี่ยวกับดานเศรษฐกิจการคา การลงทุนของจีนในปจจุบัน- เปดวิชาเพิ่ม 10 วิชา ไดแกสส.371 ศิลปและวรรณกรรมจีน139สส.471ทักษะการฟงและการพูดภาษาจีนวิชาบังคับกอน : สอบได จน. 172ทักษะการฟงและการพูดซึ่งเปนเนื้อหาที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันโดยการฟงจับใจความรวมไปกับการดูวีดิทัศน มุงเนนการเลาเรื่อง การสนทนาโตตอบไดอยางเปนธรรมชาติและถูกตองตามหลักไวยากรณประเภท บทบาท ที่มา แนวคิดในการสรางสรรคงานศิลปะและวรรณกรรมจีน วิเคราะหปจจัยที่มีอิทธิพลตอศิลปะและวรรณกรรมจีน รวมทั้งแงมุมทางสังคมและวัฒนธรรมจีนในชวงตาง ๆ ที่สําคัญ ซึ่งสะทอนใหเห็นไดจากศิลปะและวรรณกรรมจีนสส.372การทองเที่ยวในจีนแหลงทองเที่ยวและทรัพยากรการทองเที่ยวที่สําคัญ อภิปรายประเด็นปญหาและอุปสรรคของการจัดการธุรกิจทองเที่ยวการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของธุรกิจทองเที่ยวที่มีบทบาทตอสถานการณการทองเที่ยวจีนสส.373 บูรณาการอาเซียนแนวคิดทฤษฏีและพัฒนาการความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตั้งแตภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปจจุบัน รวมทั้งศึกษาบทบาทของสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตในอดีต ปจจุบัน และการรวมตัวในรูปแบบประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) โดยศึกษาวิเคราะหโครงสรางหนาที่ บทบาท ปญหาและอุปสรรคของสมาคมอาเซียนในระบบโลกสส.374การทองเที่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใตแหลงทองเที่ยวและทรัพยากรการทองเที่ยวที่สําคัญ อภิปรายประเด็นปญหาและอุปสรรคของการจัดการธุรกิจทองเที่ยวการดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลง การปรับตัวของธุรกิจทองเที่ยวที่มีบทบาทตอสถานการณการทองเที่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใตสส.376ศิลปหัตถอุตสาหกรรมและการจัดการ


ทรัพยากร สภาพแวดลอม รวมทั้งสังคมและวัฒนธรรมที่เปนปจจัยกอใหเกิดแรงบันดาลใจเอกลักษณ และภูมิปญญาในการผลิตศิลปะหัตถอุตสาหกรรมรูปแบบตาง ๆ ตลอดจนการพัฒนาและ การจัดการที่เกี่ยวของสส.473การเคลื่อนยายและการขามแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใตพัฒนาการและปจจัยของการเคลื่อนยายและการขามแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต กรอบกติกาความตกลงในระดับภูมิภาคที่เกี่ยวของกับการยายถิ่นขามประเทศ ตลอดจนสภาพปญหา แนวโนม และผลกระทบที่เกิดขึ้นสส.475มนุษย สังคม และวัฒนธรรมในวรรณกรรมและภาพยนตรลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมตาง ๆ ซึ่งปรากฏเปนภาพแทนในวรรณกรรมและภาพยนตรโดยเนนศึกษาชีวิตมนุษยที่สัมพันธกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมรวมทั้งวรรณกรรมและภาพยนตรในฐานะศิลปะและสื่อมวลชน ตลอดจนการนําเสนอทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมผานงานวรรณกรรมและภาพยนตรสส.476หลักการสื่อสารตางวัฒนธรรมหลัก แนวคิด ทฤษฎี ความหมาย องคประกอบ หลักจิตวิทยาวัฒนธรรม บริบทแวดลอมและความแตกตางทางสังคมวัฒนธรรมในบุคลิกภาพการสื่อสาร ดานวัจนภาษา และอวัจนภาษา ตลอดจนกระบวนการเขาสูและปรับตัวในวัฒนธรรมธรรมใหมรวมถึงการฝกอบรมทางวัฒนธรรมสส.477 การสื่อสารเพื่อการจัดการการทองเที่ยวแนวคิดทฤษฎีการสื่อสารความสําคัญกระบวนการเทคนิคและเครื่องมือในการสื่อสารที่ใชเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในทุกระดับตั้งแตการสื่อสารระหวางบุคคลไปจนถึงการสื่อสารมวลชนประโยชนและความสําคัญของการสื่อสารที่มีผลตออุตสาหกรรมการทองเที่ยวสส.478 การทองเที่ยวกับชุมชนทองถิ่นหลักการในการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวและทรัพยากรวัฒนธรรม เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืนวิเคราะหบทบาทของชุมชนในการจัดการการทองเที่ยว เนนการศึกษาการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการทรัพยากร ตลอดจนการสรางศักยภาพและเครือขายการทองเที่ยวของชุมชนบนพื้นฐานของการมีจิตสํานึกตอการรักษาสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น5.5ปรับปรุงรายวิชาอื่นๆ ในหลักสูตร ซึ่งเปนวิชาที่นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาเปนวิชาเลือกเสรีได- ปดวิชา 2 วิชา คือ สส.391 ทักษะชีวิตเกี่ยวกับเพศและสุขภาพครอบครัว สส.395 การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม140- ปรับปรุงรายวิชา 5 วิชา


หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ปรับรหัสวิชา/ ชื่อวิชา และคําอธิบายวิชา 2 วิชาสส.394 การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตรสส.382 การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตรศึกษาและฝกปฏิบัติวิธีการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตรในหลากหลายรูปแบบ ทั้งการเขียนและการพูด อาทิ การเขียนสารคดีประเภทตางๆ การเขียนบทโทรทัศน การเขียน เชิงสรางสรรค การพูดรายงาน การพูดนําเสนองานหลักการและวิธีปฏิบัติในการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตรในรูปแบบของการเขียนและการพูด ไดแกการเขียนสารคดีประเภทตางๆ การเขียนบทโทรทัศน การเขียนเชิงสรางสรรค การพูดรายงาน การสัมมนา และการประกอบสื่อ การสัมมนา และการประชุม เปนตน อภิปรายเพื่อทําใหเกิดทักษะในการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตรที่ถูกตองตามหลักเกณฑ อันจะสามารถนําไปปรับใชเพื่อการศึกษาและการทํางานตอไปไดสส.396 สภาพปจจุบันปญหาเกี่ยวกับการจัดการระหวาง สส.385 ประเด็นปจจุบันดานความสัมพันธระหวางประเทศสภาพปจจุบันและปญหาของความสัมพันธระหวางประเทศ ความรวมมือ และ ความขัดแยงทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงหลักการและการจัดการที่อยูบนพื้นฐานของการลดความหวาดระแวงความเกลียดชัง และความขัดแยง รวมทั้งบทบาทของประเทศมหาอํานาจโลก เชน <strong>สห</strong>รัฐอเมริกา และจีน เปนตน ที่สงผลกระทบตอการจัดระเบียบโลกใหม141ประเทศความหมายและความสั มพั นธ ของการเมื องเศรษฐกิจ สังคมพัฒนาการการเมืองระดับสากล การเมืองและการปรับตัวของประเทศพัฒนาและกําลังพัฒนาระบบเศรษฐกิจโลก ผลกระทบของโลกาภิวัตนทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธของระบบโลกในปจจุบันปรับรหัสวิชา และยายเปนวิชาเลือก 1 วิชาสส.397 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น สส.375 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่นปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา คําอธิบายวิชา และยายเปนวิชาแกน1 วิชาสส.393 คอมพิวเตอรเพื่อการวิจัยและการทํางานทางสังคมศาสตรกระบวนการศึกษาวิจัยเชิงสํารวจ การฝกปฏิบัติสรางองคความรูตามแนวทางการวิจัยเชิงปริมาณ พรอมทั้งศึกษาการประยุกตใชคอมพิวเตอรสําหรับการประมวลผลทางสังคมศาสตร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปตางๆ เพื่อนําไปประยุกตใชในการทํางานทางสังคมศาสตรไดสส.209 การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตรปรัชญาหลักการ และกระบวนการขั้นตอนของการวิจัยเชิงปริมาณ ตั้งแตการกําหนดคําถามการวิจัย การตั้งสมมติฐาน รวมทั้งสามารถสรางและทดสอบเครื่องมือวัดเพื่อนําไปใชในการฝกปฏิบัติการวิจัยเชิงปริมาณ การประมวลผลขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูป ตลอดจนการวิเคราะห ตีความขอมูล การนําเสนอผลการศึกษา และการเขียนรายงานการวิจัยปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา คําอธิบายวิชา และยายเปนวิชาเลือก 1 วิชาสส.392 วิธีปฏิบัติในการจัดกิจกรรมสําหรับชุมชน สส. 378 หลักนันทนาการเพื่อการทองเที่ยวหลักการ แนวคิด และกระบวนการเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสําหรับชุมชน เชน ลักษณะของกิจกรรม หลักนันทนาการ หลักมนุษยสัมพันธกระบวนการกลุมสัมพันธและหลักการเปนผูนําในการจัดกิจกรรม เปนตน รวมถึงหลักการและวิธีการปฏิบัติในการจัดกิจกรรมประเภทตางๆ เพื่อใหเกิดทักษะอันจะนําไปสูการปรับใชในการศึกษาและการทํางานรวมกับชุมชนได- เปดวิชาเพิ่ม 3 วิชาแนวคิดและหลักนันทนาการ ไดแก ความหมายพัฒนาการ ประเภท และการจัดกิจกรรมนันทนาการในรูปแบบตาง ๆ เพื่อนําไปปรับใชในการจัดการการทองเที่ยว


สส.383 ภูมิทัศนวัฒนธรรมความสัมพันธของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติกับมนุษย การพัฒนาเพื่อสรางความเจริญงอกงามทางคุณคาและความสําคัญตามกระบวนการจัดการภูมิทัศนวัฒนธรรมสส.384 องคกรกับความรับผิดชอบตอสังคมแนวคิด ทฤษฏี กระบวนการ และความสําคัญเกี่ยวกับความรับผิดชอบขององคกรที่มีตอสังคมในดานตางๆ ตลอดจนแนวคิดองคกรธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ในยุคปจจุบัน รวมทั้งปญหาและผลกระทบอันเกิดจากการดําเนินงานที่ขาดจริยธรรม เพื่อกระตุนจิตสํานึกในการรับผิดชอบรวมกันบนพื้นฐานของการพัฒนาและเกิดประโยชนรวมกันอยางยั่งยืนและเปนสุขสส.386 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใตพัฒนาการของแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย นโยบายและปจจัยที่มีผลตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตตลอดจนแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศไทยเมื่อเขาสูความเปนประชาคมอาเซียน5.6 ยกเลิกเรื่องการศึกษาเพื่อขอรับอนุปริญญาใน<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> สาขาวิชา<strong>สห</strong>วิทยการสังคมศาสตร6. โครงสรางหลักสูตรภายหลังการปรับปรุงแกไข เมื่อเปรียบเทียบกับโครงสรางเดิม และเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีพ.ศ. 2548 ของกระทรวงศึกษาธิการ ปรากฏดังนี้เกณฑโครงสรางเดิม โครงสรางฉบับปรับปรุงกระทรวงศึกษาธิการ(2552)(2556)1. วิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต ไมนอยกวา 30 หนวยกิต -ไมนอยกวา 30 หนวยกิต2. วิชาเฉพาะ2.1 วิชาแกน2.2 วิชาเอก2.3 วิชาเลือกไมนอยกวา84 หนวยกิต-ไมนอยกวา 94 หนวยกิต43 หนวยกิต30 หนวยกิต21 หนวยกิต-ไมนอยกวา 94 หนวยกิต43 หนวยกิต39 หนวยกิต12 หนวยกิต3.วิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต ไมนอยกวา 6 หนวยกิต ไมนอยกวา 6 หนวยกิตหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 120 หนวยกิต ไมนอยกวา 130 หนวยกิต ไมนอยกวา 130 หนวยกิต142ภาคผนวก 4ตารางเปรียบเทียบโครงสรางและองคประกอบของ<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong>


143<strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตร ฉบับ พ.ศ. 2552 กับ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556ฉบับ พ.ศ. 2552 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 25561. ชื่อหลักสูตร 1. ชื่อหลักสูตร<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> สาขา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร <strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> สาขา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตรBachelor of Arts program in Interdisciplinary Studies ofSocial ScienceBachelor of Arts program in Interdisciplinary Studies of SocialScience2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชาไทย: ศิลปศาสตรบัณฑิต (<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร) ไทย: ศิลปศาสตรบัณฑิต (<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร)ศศ.บ.(<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร)ศศ.บ.(<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร)อังกฤษ:Bachelor of Arts ( Interdisciplinary Studies ofSocial Science)อังกฤษ: Bachelor of Arts ( Interdisciplinary Studies of SocialScience)B.A. ( Interdisciplinary Studies of Social Science) B.A. ( Interdisciplinary Studies of Social Science)3. จํานวนรับ : ประมาณ 150 คนตอปการศึกษา 3. จํานวนรับ : ประมาณ 150 คนตอปการศึกษา4. โครงสรางและองคประกอบหลักสูตร 4. โครงสรางและองคประกอบหลักสูตรนักศึกษาจะตองจดทะเบียนศึกษารายวิชาไมนอยกวา 130 หนวยกิตตามโครงสรางและองคประกอบของหลักสูตร ดังนี้นักศึกษาจะตองจดทะเบียนศึกษารายวิชาไมนอยกวา 130 หนวยกิตตามโครงสรางและองคประกอบของหลักสูตร ดังนี้1.วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1.วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต2.วิชาเฉพาะ 94 หนวยกืต 2.วิชาเฉพาะ 94 หนวยกิต2.1 วิชาแกน 43 หนวยกิต 2.1 วิชาแกน 43 หนวยกิต-กลุมวิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (24) -กลุมวิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (27)-กลุมวิชาภาษา (12) -กลุมวิชาภาษา (6)-กลุมวิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติ (7) -กลุมวิชาฝกประสบการณ(10)และภาคนิพนธภาคปฏิบัติและภาคนิพนธ2.2 วิชาเอก 30 หนวยกิต 2.2 วิชาเอก 39 หนวยกิต2.3 วิชาเลือก 21 หนวยกิต 2.3 วิชาเลือก 12 หนวยกิต3.วิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต 3.วิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต6.ขอกําหนดหลักสูตร6.ขอกําหนดหลักสูตร1) วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิต 1) วิชาศึกษาทั่วไป 30 หนวยกิตสวนที่ 1 21 หนวยกิต สวนที่ 1 21 หนวยกิต-มธ.110 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร (3) -มธ.110 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร (2)-มธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม หรือ (3) -มธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอสังคม (3)-มธ.120 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร (3) -มธ.120 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร (2)-มธ130 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโยี (3) -มธ.130 <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและเทคโนโยี (2)-มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>(3) -มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong>(3)หรือหรือ-มธ.155 สถิติพื้นฐาน (3) มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (3)หรือ-มธ.155 สถิติพื้นฐาน-ท.161 การใชภาษาไทย (3) -ท.161 การใชภาษาไทย (3)


ฉบับ พ.ศ. 2552 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556-สษ.070 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 ( ไมนับหนวยกิต) -สษ.070 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน1 (ไมนับหนวยกิต)-สษ.171 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2-สษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2(3)(3)-สษ.171 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2-สษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2(3)(3)สวนที่ 29 หนวยกิต สวนที่ 2 9 หนวยกิตบังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต-ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ (3) -ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ (3)-สษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 (3)บังคับเลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต บังคับเลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต-มธ.111 ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และ (3) -มธ.111 ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม (3)วัฒนธรรม-มธ.116 มนุษยกับศิลปะ: ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง (3) -มธ.116 มนุษยกับศิลปะ: ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง (3)-มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม (3) -มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม (3)-มธ.121 มนุษยกับสังคม (3) -มธ.121 มนุษยกับสังคม (3)-มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน (3) -มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน (3)-มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ (3) -มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ (3)-มธ.143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม (3) -มธ.143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม (3)-มธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน (3) -มธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน (3)- อซ.125 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน (3)2) วิชาเฉพาะ 94 หนวยกิต 2) วิชาเฉพาะ 94 หนวยกิต2.1) วิชาแกน 43 หนวยกิต 2.1) วิชาแกน 43 หนวยกิตวิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 24 หนวยกิต วิชาพื้นฐาน<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> 27 หนวยกิต-สส.201 วัฒนธรรมศึกษา (3) -สส.201 วัฒนธรรมศึกษา (3)-สส.202 โลกาภิวัตนและวัฒนธรรมขามแดน (3) -สส.202แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตร (3)-สส.203 เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) -สส.203เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3)-สส.204 รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) -สส.204 รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3)-สส.205 บริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) -สส.205การบริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3)-สส.206 นิเวศวิทยาและสิ่งแวดลอม (3) -สส.206สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา (3)-สส.207 หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื้องตน (3) -สส.207 หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื้องตน (3)-สส.208 การวิจัยเบื้องตน (3) -สส.208 ปรัชญาและวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร (3)-สส.209การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร (3)วิชาภาษา 12 หนวยกิต วิชาภาษา 6 หนวยกิตบังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต เลือกภาษาใดภาษาหนึ่ง 2 วิชา 6 หนวยกิต-สส.271 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 1 (3) สส.211 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร (3)-สส.272 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 2 (3) สส.212ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3)บังคับเลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต หรือ-สส.371 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3) จน.171 ภาษาจีน 1 (3)-สส.372 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ หรือ (3) จน.172 ภาษาจีน 2 (3)-จน.171 ภาษาจีน 1 (3)-จน.172 ภาษาจีน 2 (3)วิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติ 7 หนวยกิต วิชาฝกประสบการณภาคปฏิบัติ 10 หนวยกิต144


ฉบับ พ.ศ. 2552 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556และภาคนิพนธ และภาคนิพนธทุกวิชาเอกตองเรียน สส.381 และ สส.481 ยกเวนวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การจัดการการทองเที่ยวและบริการที่สามารถเลือกสส.381 และ สส.481 หรือ สส.482 และ สส.483-สส.381 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> และ-สส.481 ภาคนิพนธ(3)(4)-สส.502 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>-สส.500ภาคนิพนธ-สส.501 กระบวนการทํางานในชุมชน-สส.482 การเตรียมความพรอม<strong>สห</strong>กิจศึกษา และ(1)(3)-สส.483 <strong>สห</strong>กิจศึกษา(6)2.2) วิชาเอก 30 หนวยกิต 2.2) วิชาเอก 39 หนวยกิตวิชาเอกรวมบังคับ สาขาวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>จีนศึกษาและสาขาวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา9 หนวยกิต วิชาเอกรวมสาขาวิชาเอกจีนศึกษาและสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา9 หนวยกิต-สส.311 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ (3) -สส.321ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวางประเทศ (3)-สส.312 เอเชียในบริบทโลก (3) -สส.322 เอเชียในบริบทโลก (3)-สส.313 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ (3) -สส.323 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ (3)วิชาเอกรวมบังคับ สาขาวิชาเอก <strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมและสาขาวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การจัดการการทองเที่ยวและบริการ-สส.314 แนวคิดวาดวยการพัฒนา-สส.315การบริหารงานองคกร-สส.316 การจัดการการปฏิบัติการบริการ9 หนวยกิต วิชาเอกรวม สาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมและสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน(3)(3)(3)-สส.324 แนวคิดวาดวยการพัฒนา-สส.326 การบริหารงานองคกร1459 หนวยกิต-สส.325 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม(3)วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกจีนศึกษา 21 หนวยกิต วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกจีนศึกษา 30 หนวยกิต-สส.321 ประวัติอารยธรรมจีน (3) -สส.333 ประวัติศาสตรและอารยธรรมจีน (3)-สส.322 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน (3) -สส.334 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน (3)-สส.373 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 1 (3) -สส.331 หลักไวยากรณจีน (3)-สส.374 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 2 (3) -สส.332 ทักษะการอานและเขียนภาษาจีน (3)-สส.421 จีนรวมสมัย (3) -สส.335 สังคมและวัฒนธรรมจีนรวมสมัย (3)-สส.422 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีน-สส.423 สัมมนาประเด็นจีนศึกษาวิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>30 หนวยกิตอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา(3)(3)-สส.431 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีน-สส.435 สัมมนาประเด็นจีนศึกษา-สส.433 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในจีน-สส.434 การคาและการลงทุนจีน-สส.432 การเมืองและนโยบายตางประเทศของจีนวิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา30 หนวยกิต-สส.341 การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่องอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)สส.342 บริหารธุรกิจนานาชาติ (3)-สส.331 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3) -สส.343 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)(4)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)


ฉบับ พ.ศ. 2552 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556-สส.332 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองในอนุภูมิภาคลุม (3) สส.344 ภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐกิจสังคมของกลุมประเทศ (3)แมน้ําโขงในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง-สส.333 อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงรวมสมัย (3) สส.345 วัฒนธรรมและสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)-สส.431 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศในอนุภูมิภาค (3) -สส.441การคาและการลงทุนของกลุมประเทศ(3)ลุมแมน้ําโขงในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง-สส.334 นิเวศวิทยาในนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3) -สส.442 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)-สส.443 จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (3)-สส.444 การพัฒนาและการจัดการโลจิสติกส (3)-สส.432 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุมประเทศในอนุ (3) (3)ภูมิภาคลุมแมน้ําโขง-สส.433 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา (3) สส.445 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกการจัดการทรัพยากรการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม 21 หนวยกิต ทางสังคมและวัฒนธรรม30 หนวยกิต-สส.341 คติชนวิทยา-สส.342 ทุนทางสังคม วัฒนธรรมและภูมิปญญา-สส.343 กลุม องคกรและเครือขายทางสังคม(3)(3)(3)-สส.351 คติชนและวิถีชีวิตพื้นบาน(3)-สส.344 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม(3)146-สส.352 กลุม องคกร และเครือขายทางสังคม-สส.353 ลานนาศึกษา-สส.354 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม-สส.355การสื่อสารเพื่อการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม(3)(3)(3)(3)-สส.441 การบริหารงานทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา-สส.442 การวิจัยทางสังคมและวัฒนธรรม-สส.443 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมวิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอก<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>การจัดการการทองเที่ยวและบริการ21 หนวยกิต(3)(3)(3)-สส.451 ประวัติศาสตรและโบราณคดีชุมชน-สส.452 ชาติพันธุ รัฐ และโลกาภิวัตน-สส.453 อุตสาหกรรมวัฒนธรรม-สส.454 พิพิธภัณฑศึกษา-สส.455 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรมวิชาเอกบังคับสาขาวิชาเอกการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน30 หนวยกิต(3)(3)(3)(3)(3)-สส.351 อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ-สส.352 การจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน-สส.353 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว-สส.354 การจัดการทรัพยากรเพื่อการทองเที่ยวและบริการ-สส.451 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ-สส.452 การวิจัยเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวและบริการ-สส.453 การจัดการการทองเที่ยวและบริการ :การศึกษาเฉพาะเรื่อง(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)-สส.361 อุตสาหกรรมการทองเที่ยว-สส.463 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน-สส.362 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว-สส.363 ทรัพยากรการทองเที่ยว-สส.364 ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว-สส.365 สังคม<strong>วิทยาการ</strong>ทองเที่ยว-สส.461 การทองเที่ยวเชิงนิเวศ-สส.462 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อการทองเที่ยว-สส.464 นโยบายและแผนการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน-สส.465 สัมมนาประเด็นการทองเที่ยวอยางยั่งยืน(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)


ฉบับ พ.ศ. 2552 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 25562.3) วิชาเลือก 21 หนวยกิต 2.3) วิชาเลือก 12 หนวยกิตเลือกศึกษารายวิชาตาง ๆ ในเอกอื่น หรือเลือกศึกษารายวิชาตาง ๆในกลุมวิชาเนื้อหาและกลุมวิชาภาษา ตามที่หลักสุตรกําหนด ดังนี้กลุมวิชาเนื้อหา-สส.461 ชาติพันธุ รัฐและโลกาภิวัตน-สส.462 การบริหารธุรกิจนานาชาติ-สส.463 การจัดการโลจิสติกสกลุมวิชาภาษา-สส.471 ภาษาอังกฤษสําหรับธุรกิจทองเที่ยว-สส.472 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 3-สส.473 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 4(3)(3)(3)(3)(3)(3)เลือกอยางนอย 4 วิชา จากวิชาตอไปนี้เทานั้น3) วิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต 3) วิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิตนักศึกษาอาจเลือกศึกษาวิชาใดก็ไดที่เปดสอนในมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรเปนวิชาเลือกเสรีหรือนักศึกษาอาจเลือกศึกษารายวิชาที่<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>เปดสอนเพื่อเปนวิชาเลือกเสรีจากวิชาดังตอไปนี้147-สส.371 ศิลปะและวรรณกรรมจีน-สส.372 การทองเที่ยวในจีน-สส.373บูรณาการอาเซียน-สส.374การทองเที่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต-สส.375 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น-สส.376ศิลปหัตถอุตสาหกรรมและการจัดการ-สส.377 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการการทองเที่ยว-สส.378 หลักนันทนาการเพื่อการทองเที่ยว-สส.471ทักษะการฟงและการพูดภาษาจีน-สส.472 ภาษาจีนสําหรับการประกอบอาชีพ-สส.473 การเคลื่อนยายและการขามแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต-สส.474 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุมประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงสส.475 มนุษย สังคม และวัฒนธรรมในวรรณกรรมและภาพยนตร-สส.476 หลักการสื่อสารตางวัฒนธรรม-สส.477 การสื่อสารเพื่อการจัดการการทองเที่ยว-สส.478 การทองเที่ยวกับชุมชนทองถิ่น(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)(3)นักศึกษาอาจเลือกศึกษาวิชาใดก็ไดที่เปดสอนในมหา<strong>วิทยาลัย</strong>ธรรมศาสตรเปนวิชาเลือกเสรีหรือนักศึกษาอาจเลือกศึกษารายวิชาที่<strong>วิทยาลัย</strong><strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>เปดสอนเพื่อเปนวิชาเลือกเสรีจากวิชาดังตอไปนี้-สส.381 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ (3)-สส.391 ทักษะชีวิตเกี่ยวกับเพศและสุขภาพครอบครัว (3)-สส.392 วิธีปฏิบัติในการจัดกิจกรรมสําหรับชุมชน (3)-สส.393 คอมพิวเตอรเพื่อการวิจัยและการทํางานทางสังคมศาสตร (3)-สส.394 การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตร (3) -สส.382การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตร (3)-สส.395 การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (3)-สส.383ภูมิทัศนวัฒนธรรม (3)-สส.384องคกรกับความรับผิดชอบตอสังคม (3)-สส.396 สภาพปจจุบันปญหาเกี่วกับการจัดการระหวางประเทศ (3) -สส.385 ประเด็นปจจุบันดานความสัมพันธระหวางประเทศ (3)-สส.397 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น (3) - สส.386การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต (3)


ภาคผนวก 5 ตารางเทียบรายวิชาใน<strong>หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต</strong> <strong>สาขาวิชา<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>ส</strong>ังคมศาสตร ฉบับ พ.ศ. 2552 กับ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 25561. รายวิชาที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงลําดับ หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการเปลี่ยนแปลง1 มธ.110<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร (3) มธ.110<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>มนุษยศาสตร (2) -คงเดิม-2 มธ.116 มนุษยกับศิลปะ : ทัศนศิลป ดนตรี มธ.116 มนุษยกับศิลปะ : ทัศนศิลป ดนตรี -คงเดิม-และศิลปะการแสดง(3)และศิลปะการแสดง(3)3 มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม(3) มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม(3) -คงเดิม-4 มธ.121 มนุษยกับสังคม(3) มธ.121 มนุษยกับสังคม(3) -คงเดิม-5 มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน(3) มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน(3) -คงเดิม-6 มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ(3) มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ(3) -คงเดิม-7 มธ.143มนุษยกับสิ่งแวดลอม(3) มธ.143มนุษยกับสิ่งแวดลอม(3) -คงเดิม-8 มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับ มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหา<strong>วิทยาลัย</strong> -คงเดิม-มหา<strong>วิทยาลัย</strong> (3)(3)9 มธ.155 สถิติพื้นฐาน (3) มธ.155 สถิติพื้นฐาน (3) -คงเดิม-10 มธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียน มธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรม -คงเดิม-โปรแกรมเบื้องตน(3)เบื้องตน(3)11 ท.161การใชภาษาไทย (3) ท.161การใชภาษาไทย (3) -คงเดิม-12 ท.162การเขียนรายงานวิชาการ(3) ท.162การเขียนรายงานวิชาการ(3) -คงเดิม-13 จน.171 ภาษาจีน 1 (3) จน.171 ภาษาจีน 1 (3) -คงเดิม-14 จน.172 ภาษาจีน 2 (3) จน.172 ภาษาจีน 2 (3) -คงเดิม-15 สส.201วัฒนธรรมศึกษา (3) สส.201 วัฒนธรรมศึกษา (3) -คงเดิม-16 สส.203 เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) สส.203 เศรษฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) -คงเดิม-17 สส.204รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) สส.204 รัฐศาสตรเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) -คงเดิม-18 สส.207 หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื้องตน (3) สส.207 หลักนิติธรรมและกฎหมายเบื้องตน (3) -คงเดิม-148


2. รายวิชาที่มีการเปลี่ยนแปลงลําดับหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการเปลี่ยนแปลง1 มธ.111ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตรสังคม และวัฒนธรรม (3)มธ.111ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตรสังคม และวัฒนธรรม (3)-ปรับคําอธิบายรายวิชา2 มธ.120<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร(3) มธ.120<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>สังคมศาสตร(2) -ลดหนวยกิต3 มธ.130<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและ มธ.130<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>วิทยาศาสตรและ -ลดหนวยกิตเทคโนโลยี (3)เทคโนโลยี (2)4 สษ.070ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1(ไมนับหนวยกิต)สษ.070ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1(ไมนับหนวยกิต)-ปรับคําอธิบายรายวิชา5 สษ.171ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2(3) สษ.171ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2(3) -ปรับคําอธิบายรายวิชา6 สษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 (3) สษ.172ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 (3) -ปรับคําอธิบายรายวิชา7 สส.205 บริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) สส.205การบริหารธุรกิจเพื่อ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong> (3) -ปรับชื่อวิชา8 สส.206 นิเวศวิทยาและสิ่งแวดลอม (3) สส.206สิ่งแวดลอมกับการพัฒนา (3) -ปรับชื่อวิชา และคําอธิบายวิชา9 สส.208 การวิจัยเบื้องตน (3) สส.208 ปรัชญาและวิธีการศึกษาทางสังคมศาสตร (3)-ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา10 สส.271 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 1 (3) สส.211 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร (3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาคําอธบายวิชา และเปลี่ยนจากบังคับเปน บังคับเลือก11 สส.311 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวาง สส.321 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายระหวาง -ปรับรหัสวิชาประเทศ (3)ประเทศ (3)12 สส.312 เอเชียในบริบทโลก (3) สส.322 เอเชียในบริบทโลก (3) -ปรับรหัสวิชา13 สส.313 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวาง สส.323 การรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวาง -ปรับรหัสวิชาประเทศ(3)ประเทศ (3)14 สส.314 แนวคิดวาดวยการพัฒนา (3) สส.324 แนวคิดวาดวยการพัฒนา (3) -ปรับรหัสวิชา และเปลี่ยนจากเลือก เปนบังคับเอกรวม15 สส.315 การบริหารงานองคกร (3) สส.326 การบริหารงานองคกร (3) -ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา16 สส.321 ประวัติอารยธรรมจีน(3) สส.333 ประวัติศาสตรและอารยธรรมจีน (3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา17 สส.322 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน(3) สส.334 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองจีน(3) -ปรับรหัสวิชา18 สส.331 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(3)สส.343 ประวัติศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(3)19 สส.332 เศรษฐกิจและการเมืองการปกครอง สส.344 ภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐกิจสังคมของกลุมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)ประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)20 สส.333 อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงรวมสมัย (3) สส.345 วัฒนธรรมและสังคมของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(3)149-ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา-ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา-ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา


หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการเปลี่ยนแปลง21 สส.334 นิเวศวิทยาในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3) สส.442 นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (3)-ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา22 สส.341 คติชนวิทยา (3) สส.351 คติชนและวิถีชีวิตพื้นบาน (3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา23 สส.342 ทุนทางสังคม วัฒนธรรมและภูมิปญญา(3) สส.325 ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม (3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาคําอธิบายวิชา และและเปลี่ยนจาก เอกบังคับ เปน บังคับรวม24 สส.343 กลุม องคกรและเครือขายทางสังคม (3) สส.352 กลุม องคกร และเครือขายทางสังคม(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา25 สส.344 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม(3)สส.354 การจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม(3)-ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา26 สส.351 อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ(3) สส.361อุตสาหกรรมการทองเที่ยว(3) -ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา27 สส.352 การจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน(3) สส.463 การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา28 สส.353 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว(3) สส.362 การจัดการธุรกิจทองเที่ยว(3) -ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา29 สส.354 การจัดการทรัพยากรเพื่อการทองเที่ยวและบริการ(3)สส.363 ทรัพยากรการทองเที่ยว(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา30 สส.371 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3) สส.212ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (3) -ปรับรหัสวิชา31 สส.372 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ(3) สส.381 ภาษาอังกฤษเพื่อการประกอบอาชีพ(3) -ปรับรหัสวิชาคําอธิบายวิชา และเปลี่ยนจากบังคับเลือก เปน เลือก32 สส.373 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 1 (3) สส.331 หลักไวยากรณจีน -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา33 สส.374 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 2 (3) สส.332 ทักษะการอานและเขียนภาษาจีน(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา34 สส.381 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>(3) สส.502 ฝกประสบการณภาคปฏิบัติ<strong>สห</strong><strong>วิทยาการ</strong>(3) -ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา35 สส.392 วิธีปฏิบัติในการจัดกิจกรรมสําหรับชุมชน(3)36 สส.393 คอมพิวเตอรเพื่อการวิจัยและการทํางานทางสังคมศาสตร(3)37 สส.394 การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตร(3)150สส. 378 หลักนันทนาการเพื่อการทองเที่ยว(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาคําอธิบายวิชาและปรับจาก เลือกเสรีเปน เลือกสส.209 การวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาคําอธิบายวิชา และเปลี่ยนจากเลือก เปนวิชาแกนสส.382 การพัฒนาทักษะการนําเสนอขอมูลทางสังคมศาสตร(3)-ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา


หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการเปลี่ยนแปลง38 สส.396 สภาพปจจุบันปญหาเกี่ยวกับการจัดการระหวางประเทศ(3)สส.385 ประเด็นปจจุบันดานความสัมพันธระหวางประเทศ(3)-ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา39 สส.397 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น(3) สส.375 ประชาสังคมและประชาธิปไตยทองถิ่น(3) -ปรับรหัสวิชา และปรับจาก เลือกเสรีเปน เลือก40 สส.421 จีนรวมสมัย(3) สส.335 สังคมและวัฒนธรรมจีนรวมสมัย(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา41 สส.422 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีน(3)สส.431 กฎหมายและวัฒนธรรมการดําเนินธุรกิจในจีน(3)-ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา42 สส.423 สัมมนาประเด็นจีนศึกษา(3) สส.435 สัมมนาประเด็นจีนศึกษา(3) -ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา43 สส.431 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศใน สส.441 การคาและการลงทุนของกลุมประเทศใน -ปรับรหัสวิชาอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(3)อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(3)44 สส.432 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุม สส.474 การพัฒนาเมืองและชนบทในกลุม -ปรับรหัสวิชาประเทศอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(3) ประเทศอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง(3)45 สส.433 สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงศึกษา(3)สส.445สัมมนาประเด็นอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง(3)-ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา46 สส.443 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม (3)สส.455 สัมมนาประเด็นการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม (3)-ปรับรหัสวิชา และคําอธิบายวิชา47 สส.453 การจัดการการทองเที่ยวและบริการ :การศึกษาเฉพาะเรื่อง(3)สส.465 สัมมนาประเด็นการทองเที่ยวอยางยั่งยืน(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา48 สส.461 ชาติพันธุรัฐและโลกาภิวัตน(3) สส.452 ชาติพันธุ รัฐ และโลกาภิวัตน(3) -ปรับรหัสวิชา และยายจากเลือก เปนเอกบังคับ49 สส.462 การบริหารธุรกิจนานาชาติ(3) สส.342 การบริหารธุรกิจนานาชาติ(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาคําอธิบายวิชา และยายจากเลือก เปนเอกบังคับ50 สส.463 การจัดการโลจิสติกส(3) สส.444 การพัฒนาและการจัดการโลจิสติกส(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาคําอธิบายวิชา และยายจากเลือก เปนเอกบังคับ51 สส.471 ภาษาอังกฤษสําหรับธุรกิจทองเที่ยว(3) สส.377 ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการการทองเที่ยว(3)-ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา52 สส.473 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 3 (3) สส.472 ภาษาจีนเพื่อการประกอบอาชีพ(3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา53 สส.472 ภาษาจีนสําหรับสังคมศาสตร 4(3) สส.471ทักษะการฟงและการพูดภาษาจีน (3) -ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายวิชา54 สส.481 ภาคนิพนธ(4) สส.500ภาคนิพนธ (4) -ปรับรหัสวิชา151


3. รายวิชาที่เปดเพิ่มลําดับหลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการเปลี่ยนแปลง1 มธ.153ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร2 สษ. 295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 13 อซ.125 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับอาเซียน4 สส.202 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมศาสตร5 สส.341การอานภาษาอังกฤษเฉพาะเรื่องอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง6 สส.353ลานนาศึกษา7 สส.355การสื่อสารเพื่อการจัดการทรัพยากรทางสังคมและวัฒนธรรม8 สส.364ความสัมพันธระหวางภูมิศาสตรกับการทองเที่ยว9 สส.365 สังคมวิทยการทองเที่ยว10 สส.371ศิลปะและวรรณกรรมจีน11 สส.372การทองเที่ยวในจีน12 สส.373บูรณาการอาเซียน13 สส.374การทองเที่ยวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต14 สส.376ศิลปหัตถอุตสาหกรรมและการจัดการ15 สส.383 ภูมิทัศนวัฒนธรรม16 สส.384 องคกรกับความรับผิดชอบตอสังคม17 สส.386การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต18 สส.432การเมืองและนโยบายตางประเทศของจีน19 สส.433นิเวศวิทยาและปญหาสิ่งแวดลอมในจีน20 สส.434การคาและการลงทุนจีน21 สส.443จีนโพนทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต22 สส.451 ประวัติศาสตรและโบราณคดีชุมชน23 สส.453อุตสาหกรรมวัฒนธรรม152


153ลํา หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการดับเปลี่ยนแปลง24 สส.454พิพิธภัณฑศึกษา25 สส.461การทองเที่ยวเชิงนิเวศ26 สส.462 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อการทองเที่ยว27 สส.464นโยบายและแผนการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน28 สส.473การเคลื่อนยายและการขามแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต29 สส.475มนุษย สังคม และวัฒนธรรมในวรรณกรรมและภาพยนตร30 สส.476หลักการสื่อสารตางวัฒนธรรม31 สส.477 การสื่อสารเพื่อการจัดการการทองเที่ยว32 สส.478 การทองเที่ยวกับชุมชนทองถิ่น33 สส.501 กระบวนการทํางานในชุมชน4. รายวิชาที่ปด/ตัดออกลํา หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการดับเปลี่ยนแปลง1 สส.202 โลกาภิวัตนละวัฒนธรรมขามแดน2 สส.272 ภาษาอังกฤษสําหรับสังคมศาสตร 23 สส.316 การจัดการการปฏิบัติการบริการ4 สส.391 ทักษะชีวิตเกี่ยวกับเพศและสุขภาพครอบครัว5 สส.395 การจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม6 สส.442 การวิจัยทางสังคมและวัฒนธรรม7 สส.451 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ8 สส.452 การวิจัยเพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวและบริการ9 สส.441 การบริหารงานทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา


ลํา หลักสูตรฉบับ พ.ศ. 2552 หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556 สรุปการดับเปลี่ยนแปลง10 สส.482 การเตรียมความพรอม<strong>สห</strong>กิจศึกษา11 สส.483 <strong>สห</strong>กิจศึกษา154

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!