12.07.2015 Views

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

อ่านหนังสือ - กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เอกสารวิชาการฉบับที่ ๑๔/๒๕๕๑ Technical Paper no. 14/2008ชนิด ความหนาแนน และมวลชีวภาพของหญาทะเลบริเวณอาวทุงคา-สวีจังหวัดชุมพรSPECIES, DENSITY AND BIOMASS OF SEAGRASS IN THUNGKA–SAWI BAYCHUMPHON PROVINCEโดยณัฐวดี นกเกตุNatthawadee Nokkateศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝ งอาวไทยตอนกลางตู ป.ณ. ๗๙ อ. เมือง จ. ชุมพร ๘๖๐๐๐โทร (๐๗๗) ๕๐๕๑๔๑-๓๒๕๕๑Marine and Coastal Resources Research Center,The Central Gulf of ThailandP.O. Box 79, Muang, Chumphon 86000, THAILANDTel. (077) 505141-32008


iสารบาญหนาบทคัดยอ 1ABSTRACT 2คํานํา 3วัตถุประสงค 3วิธีดําเนินการ1. สถานที่และเวลาในการเก็บขอมูล 42. การกําหนดจุดเก็บตัวอยาง 53. การเก็บรวบรวมขอมูล 54. การวิเคราะหขอมูล 7ผลการศึกษา1. ชนิดและการแพรกระจายของหญาทะเล 82. ความหนาแนนและมวลชีวภาพของหญาทะเล 103. ความสัมพันธดานสิ่งแวดลอมกับหญาทะเล 13วิจารณและสรุปผล 14คําขอบคุณ 17เอกสารอางอิง 18


iiสารบาญตารางตารางที่ หนา1 คุณภาพน้ําที่ทําการวิเคราะห 72 คาเฉลี่ยจํานวนลําตน (shoot density) มวลชีวภาพของลําตนเหนือดิน (above-groundbiomass) และมวลชีวภาพของลําตนใตดิน (below-ground biomass) ของหญาทะเลที่มีการปกคลุมพื้นที่ 25, 50, 75 และ 100% เดือนกรกฎาคม 2549 113 คุณภาพน้ําบริเวณคลองสวีหนุม แนวหญาทะเล และดานนอกแนวหญาทะเล 13


iiiสารบาญภาพรูปที่ หนา1 พื้นที่ศึกษาบริเวณอาวทุงคา-สวี จังหวัดชุมพร 42 จุดเก็บตัวอยางในแหลงหญาทะเลบริเวณอาวทุงคา-สวี 53 แสดงการประเมินคาการปกคลุมพื้นที่ของหญาทะเลที่ 25, 50, 75 และ 100% ใน 1 ตารางเมตร 64 หญาใบพาย หรือ Estuarine spoon-grass บริเวณอาวทุงคา-สวี 85 ดอกของหญาใบพาย บริเวณอาวทุงคา-สวี ดอกตัวผู (A,B) ดอกตัวเมีย (C,D) 96 เปอรเซ็นตการปกคลุมพื้นที่ของหญาทะเลในแตละจุดเก็บตัวอยาง 107 เปอรเซ็นตอนุภาคตะกอนดินในแตละจุดเก็บตัวอยาง 118 ปริมาณอินทรียสารในแตละจุดเก็บตัวอยาง 12


ชนิด ความหนาแนน และมวลชีวภาพของหญาทะเลบริเวณอาวทุงคา-สวีจังหวัดชุมพรณัฐวดี นกเกตุศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนกลาง ตู ป.ณ. ๗๙ อ. เมือง จ. ชุมพร ๘๖๐๐๐บทคัดยอศึกษาชนิด การแพรกระจาย ความหนาแนน มวลชีวภาพของหญาทะเล และปจจัยสิ่งแวดลอมบริเวณอาวทุงคา-สวี จังหวัดชุมพร ในเดือนกรกฎาคม 2549 และเดือนมกราคม 2550 โดยเก็บตัวอยางทั้งสิ้น9 สถานีพบหญาทะเลเพียงชนิดเดียวคือ หญาใบพาย (Halophila beccarii) คาการปกคลุมพื้นที่ของหญาทะเลที่แนวไกลฝงที่สุดระยะ 700 เมตร มีคาสูงสุด อยูในชวง 41-91% การหาคาจํานวนลําตนมีคาระหวาง 434±40 ถึง 4,413±323 ตน/ตารางเมตร สําหรับคามวลชีวภาพของลําตนเหนือดินของหญาทะเล มีคาอยูในชวง 0.87±1.01 ถึง 9.70±8.99 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร และคามวลชีวภาพของลําตนใตดิน มีคา0.27±0.02 ถึง 2.65±2.89 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตรคุณลักษณะของตะกอนดินในพื้นที่ทําการศึกษาพบวามีลักษณะเปนพื้นทรายปนโคลน สําหรับปริมาณอินทรียสาร พบวามีคาสูงสุด 5.6% อยูที่จุดเก็บตัวอยางซึ่งเปนบริเวณที่มีหญาทะเลขึ้นอยางหนาแนนในขณะที่บริเวณที่มีหญาทะเลขึ้นกระจายบางๆ มีปริมาณอินทรียสารต่ําสุด 2.0% ซึ่งประเมินโดยภาพรวมแลว แมจะมีหญาทะเลเพียงชนิดเดียวแตก็มีสถานภาพของแหลงหญาทะเลที่ มีความอุดมสมบูรณดีคําสําคัญ: หญาทะเล อาวทุงคา-สวี จังหวัดชุมพร


2SPECIES, DENSITY AND BIOMASS OF SEAGRASS IN THUNGKA–SAWI BAYCHUMPHON PROVINCENatthawadee NokkateMarine and Coastal Resources Research Center, The Central Gulf of Thailand,P.O. Box 79, Chumphon Province 86000, ThailandABSTRACTSpecies composition, density and biomass of seagrasses in Thungka-Sawi Bay,Chumphon Province, were investigated in July 2006 and January 2007. Totally 9 samplingstations were studied.Only one of Halophila beccarii was found. The highest percentage coverage 41-91% was found at the farest station of 700 m form the coastline. Shoot density was between434±40 to 4,413±323 shoots/m 2 . The average above ground biomass was between 0.87±1.01to 9.70±8.99 g dry-weight/m 2 . The average below ground biomass was between 0.27±0.02 to2.65±2.89 g dry-weight/m 2 .Sedimental characteristic of the study area was defined as silt-clay. Organiccontent were found highest in the highest seagrass density area and found in the opposite wayin the low seagrass density area. Generally, status of seagrass in Thungka-Sawi Bay was ingood condition.Key words: Seagrass, Thungka-Sawi Bay, Chumphon Province


3คํานําหญาทะเลเปนทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลที่สําคัญ เพราะผลผลิตจากกระบวนการสังเคราะหแสง จะใหทั้งอาหารและออกซิเจนแกสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในทะเล แหลงหญาทะเลเปนแหลงที่มีกําลังการผลิตสูง มีความสําคัญตอระบบนิเวศชายฝงเนื่องจากเปนแหลงอาหารที่สําคัญทั้งทางตรงและทางออม นอกจากนี้หญาทะเล ยังเปนที่อยูอาศัย แหลงอาหาร แหลงวางไข และหลบซอนศัตรูของสัตวน้ํา รวมทั้งยังชวยปองกันการพังทลายของชายฝงและปรับปรุงคุณภาพน้ําใหดีขึ้นอีกดวย หญาทะเลเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ที่สามารถปรับตัวเจริญเติบโตไดในสิ่งแวดลอมตามชายฝงทะเลน้ําตื้น ทั้งเขตรอนและเขตอบอุน เห็นไดชัดจากการที่พบหญาทะเลกระจายอยูตามชายฝงทั่วโลก สําหรับในนานน้ําไทยมีการแพรกระจายบริเวณชายฝงทะเลในเขตน้ําขึ้นน้ําลง สวนใหญอยูในเขตน้ําตื้น 1-7 เมตร (สมบัติ, 2547) ในประเทศไทยพบแหลงหญาทะเลกระจายอยูทั้งชายฝงอาวไทยและอันดามัน พบทั้งสิ้น 12 ชนิด 7 สกุล (Supanwanid and Lewmanomont,2003) แหลงหญาทะเลบริเวณชายฝงอันดามันแหลงสําคัญๆ ที่พบไดแก บริเวณอุทยานแหงชาติหาดเจาไหมจังหวัดตรัง และบริเวณหมูเกาะกํา จังหวัดระนองจนถึงปากคลองคุระ หาดทุงนางดํา จังหวัดพังงา (ชัชรี,2543) Lewmanomont et al., (1996) ไดสํารวจแหลงหญาทะเลฝงอาวไทยพบวามีการแพรกระจายอยูตามชายฝงทะเลรวม 13 จังหวัด โดยแหลงหญาทะเลที่มีขนาดคอนขางใหญและมีความสําคัญ คือ แหลงหญาทะเลบริเวณจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ชุมพร สุราษฎรธานี และปตตานี สวนแหลงหญาทะเลบริเวณอาวทุงคา-สวี ซึ่งเปนแหลงหญาทะเลที่ยังไมไดรับความสนใจเทาที่ควร แตก็มีความสําคัญตอสัตวน้ําและการทําประมงของชาวประมงพื้นบาน ดังนั้นแหลงหญาทะเลบริเวณดังกลาวจึงควรไดรับการเตรียมการดูแลรักษา โดยการศึกษาเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการติดตามการเปลี่ยนแปลง การอนุรักษและจัดการทรัพยากรหญาทะเลใหมีความอุดมสมบูรณและยั่งยืนสืบไปวัตถุประสงค1. เพื่อทราบชนิดและการแพรกระจายของหญาทะเล บริเวณอาวทุงคา-สวี จังหวัดชุมพร2. เพื่อทราบความหนาแนนและมวลชีวภาพของหญาทะเล บริเวณอาวทุงคา-สวี จังหวัดชุมพร3. เพื่อศึกษาความสัมพันธดานสิ่งแวดลอมกับหญาทะเล


4วิธีดําเนินการ1. สถานที่และเวลาในการเก็บขอมูลพื้นที่ดําเนินการศึกษาอยูในอาวทุงคา-สวี ตั้งอยูในพื้นที่น้ํากรอย (estuaries) ซึ่งเปนอาวกึ่งปด(partially enclosed coastal) เขตพื้นที่อําเภอเมืองและอําเภอสวี จังหวัดชุมพร มีคลองเปดออกสูทะเลบริเวณชายฝงอุดมไปดวยปาชายเลน ซึ่งมีพันธุไมชนิดเดน คือ โกงกาง แสม จาก ตะบูน ตาตุม เปนตน มีลักษณะพื้นดินเปนโคลนละเอียดทับถมกันเปนชั้นหนา ความลึกประมาณ 20-90 เซนติเมตร ลักษณะภูมิอากาศเปนแบบรอนชื้น เนื่องจากไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมที่พัดผานมา โดยในเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดือนพฤษภาคม จะมีอากาศคอนขางรอนอบอาว เนื่องจากเปนชวงหมดลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ สวนในชวงเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมเปนชวงที่ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดียทําใหมีฝนตกไดบางในพื้นที่ของจังหวัดชุมพร และในเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ เปนชวงที่ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนืออยางเต็มที่จึงทําใหชายฝงของจังหวัดชุมพรมีฝนตกชุกและคลื่นลมคอนขางแรง (http://www.dnp.go.th) ลักษณะการขึ้นลงของน้ําบริเวณชายฝงจังหวัดชุมพรเปนแบบน้ําเดี่ยว (diurnal tide) คือมีน้ําขึ้นน้ําลงในรอบวันเพียงครั้งเดียวประกอบดวยแหลงหญาทะเล 3 แหลง ไดแก อาวทุงคา ปากคลองวิสัยและอาวสวี การศึกษาครั้งนี้ใชพื้นที่หญาทะเลบริเวณอาวสวี เปนพื้นที่ดําเนินการศึกษา (รูปที่ 1)รูปที่ 1 พื้นที่ศึกษาบริเวณอาวทุงคา-สวีจังหวัดชุมพร


52. การกําหนดจุดเก็บตัวอยางการศึกษาครั้งนี้ไดดําเนินการเก็บตัวอยางเพื่อศึกษาเปรียบเทียบในเดือนกรกฎาคม 2549 ซึ่งเปนชวงที่ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และเดือนมกราคม 2550 เปนชวงที่ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือโดยดําเนินวางเสนเก็บตัวอยางจํานวน 3 เสน ตามแนวขนานชายฝงลงไปในทะเล แตละแนวหางกัน 200 เมตร ไดแกแนวหางฝง 300 เมตร (L1) แนวหางฝง 500 เมตร (L2) และ แนวหางฝง 700 เมตร(L3) โดยแตละแนวแบงออกเปน 3 จุดเก็บตัวอยาง แตละจุดหางกัน 200 เมตร ตามแนวตั้งฉากกับฝง ไดแกT1, T2 และ T3 ดังนั้น จะไดจุดเก็บตัวอยางจํานวน 9 จุ ด คือ L1T1, L1T2, L1T3, L2T1, L2T2,L2T3, L3T1, L3T2 และ L3T3 (รูปที่ 2)ปาชายเลนหางฝง 300 ม.หางฝง 500 ม.หางฝง 700 ม.200 ม.L1T1 L1T2 L1T3L2T1 L2T2 L2T3L3T1 L3T2 L3T3คลองสวีหนุมรองคลองจุดเก็บตัวอยางหญาทะเลและตัวอยางดินจุดเก็บตัวอยางน้ําอาวสวีเนินทรายปนโคลนรูปที่ 2 จุดเก็บตัวอยางในแหลงหญาทะเลบริเวณอาวทุงคา-สวี3. การเก็บรวบรวมขอมูล3.1 ชนิดและการแพรกระจายหญาทะเลในจุดเก็บตัวอยางแตละจุดทําการกําหนดพื้นที่ขนาด 10 x10 เมตร จะไดชองขนาด 1x1 เมตรจํานวน 100 ชอง (Quadrat) ทําการสํารวจและจําแนกชนิดหญาทะเลทุกชอง ประเมินคาการปกคลุมของหญาทะเลในแตละชองดวยสายตา และบันทึกคาการปกคลุมทุกชอง


625% 50% 75% 100%รูปที่ 3 แสดงการประเมินคาการปกคลุมพื้นที่ของหญาทะเลที่ 25, 50, 75 และ 100% ใน 1 ตารางเมตร3.2 ความหนาแนนและมวลชีวภาพความหนาแนนเก็บตัวอยางหญาทะเลในชองที่มีเปอรเซ็นตการปกคลุมพื้นที่ 25, 50, 75 และ 100% มาเปอรเซ็นตละ 4 ซ้ํา เพื่อนับจํานวนตน หาความหนาแนนตอพื้นที่ โดยการนับจํานวนตน (shoot density)ในแตละชองจะไดจํานวนตน/ตารางเมตรมวลชีวภาพเปนขอมูลซึ่งบอกถึงผลผลิตเบื้องตนที่เกิดจากการสังเคราะหแสงของหญาทะเล ซึ่งจะกลายเปนอาหารและพลังงานของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ตอไป โดยเก็บตัวอยางหญาทะเลในแตละชองที่มีคาการปกคลุมพื้นที่ 25, 50, 75 และ 100% มาเปอรเซ็นตละ 4 ซ้ํา เพื่อนํามาหามวลชีวภาพของหญาทะเลโดยทําการขุดหญาภายในชองขึ้นมาทั้งสวนของใบ เหงา และราก หามวลชีวภาพเปนน้ําหนักแหง โดยแบงออกเปน2 สวน คือ 1) สวนใบและลําตน และ 2) สวนเหงาและราก นําไปอบที่ 60 องศาเซลเซียส นาน 2 วัน แลวนํามาชั่งน้ําหนักแหงหามวลชีวภาพของแตละสวน3.3 ขอมูลปจจัยสิ่งแวดลอมคุณสมบัติดินเก็บตัวอยางดินสําหรับการวิเคราะหลักษณะดินและปริมาณอินทรียสาร สําหรับการวิเคราะหลักษณะดิน ใชวิธีรอนดินที่อบแหงแลวผานตะแกรงรอนขนาดตา 2 มิลลิเมตร 1 มิลลิเมตร 500 ไมโครเมตร250 ไมโครเมตร 125 ไมโครเมตร และ 63 ไมโครเมตร ตามลําดับ ชั่งน้ําหนักดินที่เหลืออยูบนตะแกรงรอนแตละขนาด จากนั้นคํานวณเปนเปอรเซ็นตนํามาเทียบกับตารางของ Wentworth (Buchanan, 1984) และการวิเคราะหปริมาณอินทรียสารใชวิธีของ Walkey and Black โดยการยอยตัวอยางดินที่อบแลวน้ําหนัก1 กรัม ดวยสารละลายผสมของ chromic acid และ sulphuric acid แลวไตเตรท chromic acid ที่เหลือดวย (FeSO 4 ) (Black, 1965)คุณภาพน้ําทําการศึกษาคุณภาพน้ําบางประการบริเวณอาวทุงคา-สวี ชวงน้ําขึ้นโดยศึกษาปจจัยทางกายภาพที่สําคัญไดแก ความลึก (depths) ความโปรงแสง (transparence) อุณหภูมิ (temperature) และปริมาณสารแขวนลอย (suspended solids) ปจจัยทางเคมี ไดแก ความเค ็ม (salinity) ความเปนกรด -ดาง(pH) ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา (dissolved oxygen) และธาตุอาหาร (nutrients) 4 ปจจัย คือไนไตรท (nitrite) ไนเตรท(nitrate) ฟอสเฟต (phosphate) และซิลิเกต (silicate) (ตารางที่ 1) เพื่อ


7เปรียบเทียบคุณภาพน้ําของ 3 บริเวณ คือ บริเวณที่ 1) คือ ดานในของชายฝงเปนบริเวณในคลองสวีหนุมกอนถึงเขตแนวหญาทะเล บริเวณที่ 2) คือ แนวหญาทะเล และบริเวณที่ 3) คือ บริเวณนอกแนวหญาทะเล(รูปที่ 2)ตารางที่ 1 คุณภาพน้ําที่ทําการวิเคราะหความลึกความโปรงแสงอุณหภูมิความเปนกรด-ดางความเค็มคุณภาพน้ํา วิธีการวิเคราะหPortable echo sounderSecchi discThermometerpH meterRefracto salinometerปริมาณสารแขวนลอย กรองดวย GF/C และอบแหง (Csuros, 1997)ละลายน้ําปริมาณออกซิเจน Winkler method (Hansen, 1999)ไนไตรทไนเตรทSpectrophotometry ( Hansen and Koroleff, 1999)Spectrophotometry (Hansen and Koroleff, 1999)ฟอสเฟต Spectrophotometry (Hansen and Korole ff, 1999)ซิลิเกตSpectrophotometry (Hansen and Koroleff, 1999)4. การวิเคราะหขอมูลวิเคราะหชนิดหญาทะเลตามวิธีของ UNEP (2547) พิจารณาลักษณะโดยทั่วไปของหญาทะเลที่สามารถเห็นไดดวยตาเปลา และใชแวนขยายชวยยืนยันลักษณะเฉพาะที่ไมสามารถเห็นไดดวยตาเปลา และพิจารณาเปรียบเทียบลักษณะตางๆ เพื่อการวิเคราะหชนิด เปรียบเทียบคาการปกคลุมของหญาทะเล ความหนาแนน มวลชีวภาพของลําตนเหนือดินและลําตนใตดิน ลักษณะตะกอนดินและปริมาณอินทรียสาร แตละจุดเก็บตัวอยางการทดสอบทางสถิติเพื่อวิเคราะหความแตกตางของปจจัยสภาวะแวดลอม คือขนาดอนุภาคตะกอนดิน ปริมาณโคลนเหลว และปริมาณอินทรียสาร ระหวาง 9 สถานี และทดสอบความสัมพันธระหวางเปอรเซ็นตการปกคลุมกับขนาดอนุภาคตะกอนดิน ปริมาณโคลนเหลว และปริมาณอินทรียสารโดยวิธีสหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson correlation)


8ผลการศึกษาการศึกษาครั้งนี้สามารถเก็บรวบรวมเพียงครั้งเดียวในเดือนกรกฎาคม 2549 สวนในเดือนมกราคม 2550 ไมพบหญาทะเลในพื้นที่ศึกษา1. ชนิดและการแพรกระจายของหญาทะเลจากการศึกษาชนิดและการแพรกระจายของหญาทะเลทั้งบริเวณอาวทุงคา–สวี พบวามีหญาทะเลเพียง 1 ชนิด คือ หญาใบพายหรือหญาเงาแคระ (Halophila beccarii Aschers) (รูปที่ 4)รูปที่ 4 หญาใบพาย หรือ Estuarine spoon-grass บริเวณอาวทุงคา-สวีดอกตัวผูและดอกตัวเมียพบทั้งแยกตนและอยูบนตนเดียวกัน ดอกตัวผูมีกานสั้นๆ มีกาบดอก2 กาบ บางใสไมมีสี กลีบดอกมี 3 กลีบ สีน้ําตาลออนๆ อับเรณูเปนแทงยาวมี 3 ชุด แตละชุดมีกานสั้นๆประกอบดวยอับเรณู 3 แทงประกบติดกัน ดอกตัวเมียไมมีกาน รังไขรูปรีกานชูยอด เกสรตัวเมียมี 3 แฉกยาวกวา3 เซนติเมตร (รูปที่ 5)


9ABCรูปที่ 5 ดอกของหญาใบพาย บริเวณอาวทุงคา-สวี ดอกตัวผู (A,B) ดอกตัวเมีย (C,D)เปอรเซ็นตการปกคลุมในบริเวณใกลฝง (L1) มีการปกคลุมพื้นที่ของหญาทะเลคอนขางต่ํา ปกคลุมพื้นที่อยูในชวง23-37% ที่ L1T1, L1T2 และ L1T3 เปอรเซ็นตการปกคลุมเฉลี่ยเทากับ 30, 37 และ 25% ตามลําดับ สวนบริเวณ L2 ซึ่งอยูถัดออกมา พบหญา ทะเลมีการปกคลุมพื้นที่อยูในชวง 12-69% ที่ L2T1, L2T2 และ L2T3เทากับ 69,12 และ 42% ตามลําดับ เปอรเซ็นตการปกคลุมเฉลี่ย และการปกคลุมพื้นที่ของหญาทะเลบริเวณนอกสุด (L3) พบหญาทะเลปกคลุมพื้นที่อยูในชวง 46-91% ที่ L3T1, L3T2 และ L3T3 เปอรเซ็นตการปกคลุมเฉลี่ยเทากับ 91, 48 และ 46 % ตามลําดับซึ่งมีคาสูงสุดที่ L3T1 เทากับ 91% (รูปที่ 6)D


1010080% Coverage6040200L1T1 L1T2 L1T3 L2T1 L2T2 L2T3 L3T1 L3T2 L3T3Stationรูปที่ 6 เปอรเซ็นตการปกคลุมพื้นที่ของหญาทะเลในแตละจุดเก็บตัวอยาง2. ความหนาแนนและมวลชีวภาพของหญาทะเลความหนาแนนในการสํารวจเชิงปริมาณไดทําการเก็บตัวอยางเพื่อหาคาความหนาแนนหรือจํานวนลําตน(Shoot density) ที่หญาทะเลปกคลุมที่ 25, 50, 75 และ 100% พบวามีคาเฉลี่ยจํานวนลําตน 434±40,1,079±90, 1,251±271, 4,413±323 ตน/ตารางเมตร ตามลําดับมวลชีวภาพมวลชีวภาพ (biomass) ของลําตนเหนือดิน (above-ground) และลําตนใตดิน (belowground)มีคาเฉลี่ยของมวลชีวภาพของลําตนเหนือดินของหญาทะเลที่ปกคลุมพื้นที่ 25, 50, 75 และ 100% มีคาเฉลี่ย 0.87±1.01, 0.97±0.53, 2.54±1.32 และ 9.70±8.99 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร ตามลําดับ และคามวลชีวภาพของลําตนใตดินที่ปกคลุมพื้นที่ 25, 50, 75 และ 100% มีคาเฉลี่ย 0.27±0.20, 0.60±10,0.65±0.29 และ 2.65±2.89 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร ตามลําดับ (ตารางที่ 2) เมื่อหาสัดสวนระหวางมวลชีวภาพของลําตนเหนือดินและมวลชีวภาพของลําตนใตดินที่มีเปอรเซ็นตการปกคลุม 100% เทากับ1 : 0.27


12ปริมาณอินทรียสารปริมาณอินทรียสาร (organic matter) พบวามีคาสูงเทากับ 5.6% อยูที่จุดเก็บตัวอยาง L2T1และ L3T1 ซึ่งเปนบริเวณที่อยูหางจากรองคลอง และบริเวณที่มีคาต่ําที่สุดมีคา 2.0% อยูที่จุดเก็บตัวอยางL2T3 นอกจากนั้นแลวบริเวณที่อยูใกลกับรองคลองจุดเก็บตัวอยาง L1T3 และ L3T3 มีปริมาณอินทรียสารต่ํากวาจุดเก็บตัวอยางที่อยูหางจากรองคลอง (รูปที่ 8)6)Organic matter (%543210L1T1 L1T2 L1T3 L2T1 L2T2 L2T3 L3T1 L3T2 L3T3Stationรูปที่ 8 ปริมาณอินทรียสารในแตละจุดเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําจากการศึกษาคุณภาพน้ําจากจุดเก็บตัวอยาง 3 จุด คือ ดานในของชายฝงเปนบริเวณในคลองสวีหนุม ในแนวหญาทะเล และบริเวณนอกแนวเขตหญาทะเล ในชวงน้ําขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2549 และในเดือนมกราคม 2550 ไมมีความแตกตางกัน ยกเวน ในเดือนกรกฎาคม 2549 ไนไตรท ไนเตรท แอมโมเนียฟอสเฟต และซิลิเกต ในคลองสวีหนุม มีคาสูงเดือนกรกฎาคม 2549 คุณภาพน้ําบริเวณแนวหญาทะเล พบวา อุณหภูมิ มีคาสูงกวาบริเวณอื่นเล็กนอยเนื่องจากบริเวณแนวหญาทะเลจะเปนสันดอนที่น้ําตื้นกวาดานในและดานนอก ในขณะที่ความเปนกรด-ดาง มีคาต่ําสุด เมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณอื่น สวนความเค็ม และสารแขวนลอย มีคาเพิ่มขึ้นกวาบริเวณดานในของชายฝงแตใกลเคียงกับบริเวณดานนอกชายฝง ในขณะที่ปจจัยที่มีคาลดลง คือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ปริมาณธาตุอาหารเดือนมกราคม 2550 ซึ่งเปนชวงที่ไมพบหญาทะเลในบริเวณที่ทําการศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพน้ําในเดือนกรกฎาคมพบวา ในบริเวณที่เคยมีหญาทะเล ปจจัยที่มีคาสูงขึ้นคือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา สารแขวนลอย สวนความโปรงแสง อุณหภูมิ ความเค็ม ไนเตรท ฟอสเฟต และซิลิเกต มีคาลดลง(ตารางที่ 3)


ตารางที่ 3 คุณภาพน้ําบริเวณคลองสวีหนุม แนวหญาทะเล และดานนอกแนวหญาทะเลคุณภาพน้ํา13คลองสวีหนุม แนวหญาทะเล ดานนอกแนวหญาทะเลก.ค.49 ม.ค.50 ก.ค.49 ม.ค.50 ก.ค.49 ม.ค.50ความลึก (m) 5.2 5.6 0.3 0.9 1.2 2.0ความโปรงแสง (m)0.9 1.0 ถึงพื้น 0.7 0.7 1.5อุณหภูมิ ( ๐ C) 33.0 28.7 33.5 28.6 30.0 28.8ความเปนกรด-ดาง 7.69 7.42 7.23 7.26 7.46 7.44ความเค็ม (%0) 11 10 28 26 30 28ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา (mg/L) 5.48 6.02 5.22 7.88 4.86 6.62ปริมาณสารแขวนลอย (mg/L) 15.2 51.0 33.8 62.433.8 54.6ไนไตรท (µg-atN/l) 1.257 0.442 ND 0.039 ND 0.039ไนเตรท (µg-atN/l) 58.849 3.964 0.703 0.230 0.800 0.942ฟอสเฟต (µg-atP/l) 0.708 0.087 0 .487 0.009 0.737 NDซิลิเกต (µg-atSi/l) 262.849 79.456 139.181 68.226 58.641 59.7173. ความสัมพันธดานสิ่งแวดลอมกับหญาทะเลความสัมพันธระหวางเปอรเซ็นตการปกคลุม ความหนาแนน และมวลชีวภาพ กับขนาดอนุภาคตะกอนดิน ปริมาณโคลนเหลวและปริมาณอินทรียสาร เมื่อทดสอบความสัมพันธโดยวิธีสหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson correlation) พบวา เปอรเซ็นตการปกคลุม มีความสัมพันธทิศทางเดียวกันกับความหนาแนน (r = 0.895) มวลชีวภาพ (r = 0.841) ปริมาณโคลนเหลว (r = 0.353) และปริมาณอินทรียสาร (r =0.513) ปริมาณอินทรียสารในแตละจุดเก็บตัวอยาง เปลี่ยนแปลงตามขนาดอนุภาคตะกอนดิน โดยจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเมื่อขนาดอนุภาคตะกอนดินเล็กลง บริเวณที่มีปริมาณโคลนเหลว และปริมาณอินทรียสารสูงคือ จุดเก็บตัวอยาง L2T1 และ L3T1 มีเปอรเซ็นตการปกคลุม ความหนาแนน และมวลชีวภาพของหญาทะเลสูงกวาบริเวณอื่นๆ แตในบริเวณที่มีตะกอนดินแบบทรายหยาบโดยเฉพาะจุดเก็บตัวอยาง L2T2 มีผลผลิตต่ําสุด


15พาลงมาในชวงเวลาดังกลาว ก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหน้ํามีความขุนเพิ่มขึ้น ซึ่งปจจัยตางๆ เหลานี้อาจจะเปนสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของหญาใบพายในชวงเวลาดังกลาว แมการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของหญาทะเลในเขตรอนไมคอยเดนชัดนัก (Hillman et al., 1989) แตการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล (Monsoon exposure) ในบริเวณอาวไทยทําใหเกิดกระแสลมมรสุมในทะเลที่มีการเปลี่ยนแปลงแตกตางกันอยางเดนชัดคือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งทําใหปริมาณน้ําจืดที่ไหลลงสูชายฝงทะเลมีการแปรผัน และการที่อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นมากในชวงฤดูรอน(เดือนเมษายนและพฤษภาคม) จะสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตและการแพรกระจายของหญาทะเลไดหญาทะเลที่ขึ้นอยูในบริเวณที่ตื้นสัมผัสกับอากาศในชวงที่น้ําลงต่ําสุดจะมีการเจริญเติบโตนอยและมีการตายมาก เนื่องจากอุณหภูมิอากาศที่สูงมาก แตจะมีการเจริญเติบโตมากในชวงฤดูฝน (เดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม)ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากปริมาณน้ําจืดที่ไหลลงมาและพัดพาเอาสารอาหารและอินทรียสารตางๆ ลงมาดวย(กาญจนภาชน และคณะ, 2534)พันธุทิพย (2547) ศึกษาคุณภาพน้ําในอาวทุงคา-สวี เปรียบเทียบชวงเวลาน้ําขึ้นและน้ําลงบริเวณดานในชายฝง บริเวณแนวหญาทะเล และนอกชายฝง พบวาบริเวณแนวหญาทะเลเปนบริเวณที่มีความแตกตางของความเค็ม ในชวงน้ําขึ้นน้ําลงเห็นไดอยางชัดเจน แนวหญาทะเลเปนบริเวณที่เชื่อมตอระหวางดานในและดานนอกของชายฝง ซึ่งแนวหญาทะเลจะถูกปกคลุมดวยน้ํ าทะเลในชวงน้ําขึ้น และจะโผลพนน้ําในชวงน้ําลง ในชวงน้ําขึ้นความเค็มของน้ําบริเวณแหลงหญาทะเลจะมีคาใกลเคียงกับน้ําทะเลบริเวณนอกชายฝง และเมื่อน้ําลงคาความเค็มมีคาใกลเคียงกับความเค็มบริเวณดานในชายฝง ซึ่งความแตกตางของความเค็มในแนวหญาทะเล นาจะเกิดจากเปนบริเวณที่เชื่อมตอระหวางน้ําจืดและน้ําทะเลประกอบกับอิทธิพลของน้ําขึ้นน้ําลง จึ งทําใหเกิดความแตกตางของความเค็มในระหวางน้ําขึ้นและน้ําลงอยางชัดเจน การเปลี่ยนแปลงของความเค็มที่เกิดขึ้นในชวงรอบวันบริเวณแนวหญาทะเล คาดวาหญาทะเล H. beccarii นาจะเปนสิ่งมีชีวิตที่มีความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงความเค็มไดในชวงกวาง ซึ่งคุณสมบัติน้ําที่มีการผันแปรในชวงวัน แตการเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้ําในชวงเวลานานทําใหหญาทะเลตายได และอาจจะเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลใหบริเวณอาวทุงคา-สวี มีหญาทะเลเพียงชนิดเดียว การเปลี่ยนแปลงความเค็มนี้จะมีผลตอหญาทะเลแตละชนิดแตกตางกัน Hillman et al., (1989) ไดรวบรวมผลของความเค็มที่มีตอหญาทะเล โดยพบวาความเค็มที่มีความเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของหญาทะเลแตละชนิดมีความแตกตางกัน เชน หญาใบมะกรูด (Halophila ovalis) สามารถเจริญเติบโตไดดีที่ระดับความเค็ม 25-35 สวนในพัน และจะตายเมื่อความเค็มลดต่ําลงจนมีความเค็ม 5-10 สวนในพัน ในเวลา 4 เดือน Halodule sp. สามารถทนตอการเปลี่ยนแปลงของชวงความเค็มไดกวาง ในขณะที่ Turtle grass (Thalassia testudinum) จะเปนกลุมที่ทนไดในระดับปานกลาง สวนพวก Manatee grass (Syringodium sp.) และ Halophila sp. จะทนตอการเปลี่ยนแปลงความเค็มไดนอย และสอดคลองกับผลการศึกษาของชัชรี และสุวลักษณ (2547) พบวาระบบรากของหญาทะเลจะสามารถชอนไชเกาะยึดพื้นที่ไดดีเพียงใดก็ตาม แตกระแสความแรงของคลื่นก็สามารถ


ิ16ที่จะพัดใหหญาทะเลหลุดออกมาได ดังนั้นบริเวณที่พบหญาทะเลแพรกระจายอยูมาก มักเปนบริเวณที่คลื่นลมไมแรง2. ความหนาแนนและมวลชีวภาพของหญาทะเลจากการศึกษาพบวาแนวในสุดหางฝง 300 เมตร จะมีหญาทะเลขึ้นกระจายบางๆ และพบวาหญาทะเลขึ้นอยางหนาแนนในแนวนอกสุดหางฝง 700 เมตร โดยเฉพาะอยางยิ่งที่จุดเก็บตัวอยาง L3T1ความหนาแนนและมวลชีวภาพของหญาทะเลขึ้นอยูกับขนาดอนุภาคตะกอนดิน ในบริเวณที่ตะกอนดินเปนทรายละเอียดมาก มีปริมาณโคลนเหลวสูง เปอรเซ็นตการปกคลุมและความหนาแนนมากตามไปดวย จากการวิเคราะหลักษณะตะกอนดินในแหลงหญาทะเล มีลักษณะเปนพื้นทรายปนโคลนซึ่งสอดคลองกับ denHartog (1970) รายงานวาหญาใบพายขึ้นบนพื้นทรายปนโคลน ถาเปนทรายลวนๆ จะไมพบขึ้นอยูเลยเปอรเซ็นตการปกคลุม ความหนาแนน และมวลชีวภาพแปรผันตามปริมาณโคลนเหลว และปรมาณอินทรียสาร หญาทะเลขึ้นอยางหนาแนน ปกคลุมพื้นที่ 91 เปอรเซ็นต ในบริเวณที่มีโคลนเหลว และปริมาณอินทรียสารสูง และบริเวณที่มีคาต่ําจะเปนบริเวณที่มีหญาทะเลขึ้นกระจายบางๆ ปกคลุมพื้นที่เพียง12 เปอรเซ็นตเทานั้น จากการศึกษาครั้งนี้พบวาจุดเก็บตัวอยาง L1T1, L2T1 และ L3T1 ซึ่งอยูหางจากรองคลองมีขนาดอนุภาคตะกอนดินละเอียดและมีปริมาณอินทรียสารสูงกวาบริเวณ L1T3, L2T3 และ L3T3ซึ่งอยูใกลรองคลอง เนื่องจากอนุภาคตะกอนดินขนาดเล็กถูกพัดพาไปไกลกวาอนุภาคตะกอนดินขนาดใหญและมีการสะสมปริมาณอินทรียสารมากกวา เปนบริเวณที่หญาทะเลเจริญเติบโตดีมีเปอรเซ็นตการปกคลุมและความหนาแนนสูง คามวลชีวภาพรวม 12.35 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร มวลชีวภาพของลําตนเหนือดิน 9.70 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร และลําตนใตดิน 2.65 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร ซึ่งคามวลชีวภาพของลําตนเหนือดิน มากกวามวลชีวภาพของลําตนใตดิน สอดคลองกับการศึกษาของ Nakaokaand Supanwanid (2000) บริเวณอุทยานแหงชาติหาดเจาไหม จังหวัดตรัง ซึ่งพบหญาทะเล 8 ชนิด และมวลชีวภาพของหญาทะเลบริเวณแนวหางฝงสูงกวาบริเวณแนวใกลฝงตลอดแนวชายฝง การแพรกระจายและมวลชีวภาพของหญาทะเลขึ้นอยูกับปจจัยอยางนอย 2 ปจจัยคือ ความลึกของน้ําซึ่งหญาทะเลใชสําหรับการสังเคราะหแสงและการรบกวนเนื่องจากการเคลื่อนของตะกอน สวนการศึกษาของ Poovachiranonand Chansang (1994) มวลชีวภาพของหญาใบพายในทะเลอันดามัน คือ 13.7 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร ซึ่งมีคาใกลเคียงกับการศึกษาครั้งนี้ แสดงใหเห็นวาแหลงที่มีหญาใบพายฝงอันดามันมีความคลายคลึงกับอาวทุงคา-สวี เปรียบเทียบกับการศึกษาในหญาทะเลสกุล Halophila ชนิดอื่น พบวาหญาใบพายในอาวทุงคา-สวี มีมวลชีวภาพสูงกวาของหญาเงาใสในพื้นที่อาวละแม จังหวัดชุมพร ในเดือนกรกฎาคม 2550 ซึ่งเทากับ 8.12 กรัมน้ําหนักแหงตอตารางเมตร (อัญชนา, ติดตอสวนตัว) สัดสวนของสวนเหนือดินตอสวนใตดินของหญาใบพายในการศึกษาครั้งนี้เทากับ 1:0.27 ซึ่งสัดสวนของสวนเหนือดินตอสวนใตดินของหญาทะเลชนิดตางๆ มีความแตกตางกัน หญาทะเล Halodule pinifolia มีสัดสวนสูงสุด


17คือ 1:3.8 ในขณะที่ Halophila ovalis มีสัดสวนต่ําสุด คือ 1:0.7 (อัจฉรีย, 2536 อางตาม ชัชรี, 2549)อยางไรก็ตามสัดสวนดังกลาวอาจแตกตางกันไปตามฤดูกาลและปจจัยสิ่งแวดลอมตางๆ โดยพบวามวลชีวภาพสวนใตดินของหญาทะเลมีแนวโนมสูงขึ้นในเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม กอนที่หญาทะเลจะมีการลดจํานวนลงอยางรวดเร็วในเดือนถัดไป ทั้งนี้อาจเปนไปไดวาการเปลี่ยนแปลงปจจัยสิ่งแวดลอมตางๆ ตามฤดูกาล สงผลใหหญาทะเลมีการสะสมอาหารเพิ่มขึ้นในลําตนใตดินเพื่อเขาสูระยะพัก โดยลดมวลชีวภาพสวนเหนือดินลง เมื่อสภาพแวดลอมเหมาะสม หญาทะเลจึงใชอาหารที่เก็บสะสมไวสําหรับสรางตนและใบขึ้นมาทดแทนตอไป ชัชรี (2549) พบวาธาตุอาหารที่มีจํากัดจะมีผลตอหญาทะเลแตละตน และมีผลตอแนวหญาทะเลทั้งหมด เชน เมื่อปริมาณธาตุอาหารไมเพียงพอ จะสงผลใหลักษณะของตนทั้งสวนเหนือดินและสวนใตดิน ผลผลิตของสวนเหนือดิน ความหนาแนนของตน รวมถึงมวลชีวภาพของหญาทะเลลดลง ในกรณีที่หญาทะเลขึ้นอยูเพียงชนิดเดียว การเปลี่ยนแปลงดังกลาวอาจสงผลใหลักษณะของตน ความหนาแนน มวลชีวภาพ และเนื้อที่แนวหญาทะเลเปลี่ยนแปลงไป แตในกรณีที่มีหญาทะเลหลายชนิดขึ้นปะปนกัน ความเขมขนของธาตุอาหารที่ลดต่ําลงอาจทําใหลักษณะของหญาทะเล องคประกอบชนิดสัดสวนของมวลชีวภาพของหญาทะเลแตละชนิดมีการเปลี่ยนแปลง โดยมวลชีวภาพและเนื้อที่แนวหญาทะเล อาจมีการเปลี่ยนแปลงไมมากนัก (Udy and Dennison, 1997) Hillman et al., (1989) ทําการศึกษามวลชีวภาพของหญาทะเลและธาตุอาหารในบริเวณแหลงหญาทะเลในเขตประเทศออสเตรเลีย ไดอธิบายวาเมื่อหญาทะเลมีผลผลิตสูงขึ้นความตองการปริมาณธาตุอาหารก็มีมากขึ้นตามไปดวย อาหารที่มีอยูในตะกอนดินจะพบในปริมาณนอยเนื่องจากถูกดูดซึมไปใช ลักษณะดังกลาวทําใหไนโตรเจนในตะกอนดินมีความสําคัญสําหรับหญาทะเลการศึกษาของอิสระ (2538) พบวาการเปลี่ยนแปลงมวลชีวภาพหญาทะเลมีผลตอจํานวนชนิดของสัตวอยางมีนัยสําคัญ ในการศึกษาครั้งนี้ยังไมไดศึกษาถึงความตองการปริมาณธาตุอาหารแตละชนิดของหญาทะเล และยังไมไดศึกษาจํานวนชนิดและปริมาณสัตวน้ําในแหลงหญาทะเลบริเวณดังกลาวซึ่งจะดําเนินการในโอกาสตอไปคําขอบคุณขอขอบคุณ คุณนิภาวรรณ บุศราวิช เจาหนาที่ผูอํานวยการศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนกลาง ที่ใหคําปรึกษาและแนะนําในการจัดทําเอกสาร ขอบคุณ คุณสมพงค บันติวิวัฒนกุลคุณขอดี้เยาะ พรชัย ที่ชวยแกไข จัดทําเอกสาร ขอบคุณเจาหนาที่กลุมวิจัยระบบนิเวศหญาทะเล คุณจักรพงษอดทน คุณสมัย พลพยุห คุณชลอ ราชเดิม คุณณัฐพล วิเชียรเพชร และคุณปนฤทัย ฤคดี ที่ชวยในการสํารวจภาคสนามและวิเคราะหขอมูล และขอขอบคุณชาวประมงที่ชวยอํานวยความสะดวกและใหขอมูลเบื้องตน ตลอดจนเจาหนาที่ศูนยวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนกลางทุกทานที่ทําใหเอกสารวิชาการฉบับนี้สําเร็จตามวัตถุประสงค


18เอกสารอางอิงกาญจนภาชน ลิ่วมโนมนต, สุจินต ดีแท และวิทยา ศรีมโนภาษ. 2534. อนุกรมวิธานและนิเวศวิทยาของหญาทะเลในประเทศไทย. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. กรุงเทพมหานคร. 77 หนากรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช. 2548. โครงการจัดการระบบฐานขอมูลทรัพยากรในเขตอุทยานแหงชาติ. http://www.dnp.go.th.ชัชรี แกวสุรลิขิต. 2549. สัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาหญาทะเล. เอกสารคําสอนวิชาสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาหญาทะเล (252523) ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.กรุงเทพมหานคร. 151 หนา.ชัชรี แกวสุรลิขิต และสุวลักษณ สาธุมนัสพันธุ. 2547. ระบบนิเวศวิทยาหญาทะเลและการจัดการ.เอกสารประกอบการสอนวิชานิเวศวิทยาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กรุงเทพมหานคร. หนา 409-451.ชัชรี สุพันธุวณิช. 2543. หญาทะเล. ใน จิตติมา อายุตตะกะ และมาเรียม กอสนาน (บรรณาธิการ). อุทยานทรัพยากรชายฝงอันดามันเฉลิมพระเกียรติ. อักษรสยามการพิมพ, กรุงเทพมหานคร. หนา 22-28.พันธุทิพย วิเศษพงษพันธ. 2547. การศึกษาคุณสมบัติน้ําในอาวทุงคา-สวี จังหวัดชุมพร. ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพมหานคร. 31 หนา.สมบัติ ภูวชิรานนท. 2547. เอกสารประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นรางแผนการจัดการหญาทะเลณ โรงแรมไดอิชิ หาดใหญ สงขลา. วันที่ 25 มีนาคม 2547. 15 หนา. (ฉบับโรเนียว)อิสระ อินตะนัย. 2538. นิเวศวิทยาบางประการของสัตวที่อาศัยในแนวหญาทะเล Halophila ovalisอาวปตตานี. วารสารวาริชศาสตร 2(1): 27-38.Black, C.A., 1965. Methods of Soil Analysis Part 2. American Society of Agronomy, Inc.,Publisher Madison, Wisconsin, USA. pp. 1367-1378.Buchan an, J.B. 1984. Sediment Analysis. In N.A. Holme and A.D. McIntyre, eds. Methodsfor the Study of Marine Benthos. 2 nd ed., Blackwell Scientific Publication B.V.Amsterdam. pp. 41-65.Carruthers, T. J. B., Dennison, W. C., Longstaff, B. J., Waycott, M., Abal, E. G., McKenzie,L. J. and Lee Long, W. J. 2002. Seagrass habitats of northeast Australia models of keyand controls. Bulletin of marine science. 71(3): 1153 – 1169.Csuros, M. 1997. Environmental Sampling and Analysis : Lab Manual. Lewis Publishers,New York. 373 pp.den Hartog, C. 1970. The Sea-grass of the World. North-Holland Publishing Company,Amsterdam. 275 p.


Hanse n, H.P. 1999. Determination of oxygen. In: Grasshoff, K., K. Kremling and19M.Ehrhardt (eds.). Methods of Seawater Analysis. Wiley-VCH, New York. pp.75-90Hansen, H.P. and F. Koroleff. 1999. Determination of nutrients. In: Grasshoff, K., K.Kremling and M. Ehrhardt (eds.). Methods of Seawater Analysis. Wiley-VCH, NewYork. pp.159-228Hillman, K., D. I. Walker, A. W. D. Larkum and A. J. McComb. 1989. Productivity andNutrient Limitation. In: Larkum, A. W. D., A. J. McComb and S. A. Shepherd. (eds.).Biology of Seagrass. Elsevier. pp. 635-685.Lewmanomont, K., S. Deetae and V. Srimanobhas. 1996. Seagrasses of Thailand, In Kuo J.,Phillips R.C., Walker D.I. and Kirkman H., eds. Seagrass biology: Proceedings of aninternational workshop, Rottenest Island, Western Australia, 25-29 January 1996. pp.21-26.Nakaoka, M. and C. Supawanid. 2000. Quantitative estimation of the distribution and biomassof seagrasses at Haad Chao Mai National Park, Trang Province. Thailand. KasetsartUniversity Fishery Research Bulletin. 22: 10-22.Poovachiranon, S. and H. Chansang. 1994. Community structure and biomass of seagrassbeds in the Andaman Sea. I. Mangrove-associated seagrass beds. Phuket Mar. Biol.Cent. Res. Bull. 59: 53-64.Supanwanid, C. and K. Lewmanomont. 2003. The Seagrass of Thailand. In: E.P. Green, F.T.Short. World Atlas of Seagrasses. University of California Press, Berkeley.pp.144-151.Udy, J.W. and W.C. Dennison. 1997. Growth and physiological responses of three seagrassspecies to e Levated sediments nutrients in Moreton Bay, Australia. J. Exp. Mar. Biol.Ecol. 217: 253-277.UNEP. 2547. ขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร เลมที่ 3 หญาทะเล. UNEP GEF Project on ReversingEnvironmental Degradation Trends in the South China Sea and Gulf of Thailand.87 หนา.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!