12.07.2015 Views

Class ของเครื่องมือแพทย์ - สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

Class ของเครื่องมือแพทย์ - สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

Class ของเครื่องมือแพทย์ - สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

CE Mark เครื่องมือแพทย์คืออะไร ?CE ย่อจาก ???Confusion EverywhereChiang mai ExportChina ExportCommunity EuropeanCE Mark for Medical Devices ปฏิบัติตาม Directive 93/42/EEC ถือเป็นกฎหมายของสหภาพยุโรปที่ 27 ประเทศ มีมติร่วมกันที่จะใช้เป็นแนวทางแสดงความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เครื ่องมือแพทย์ โดยในปัจจุบันไม่เพียงแค่ 27ประเทศในยุโรป ในภาคพื้นทวีปอื่นๆ ก็ให้การยอมรับและใช้เป็นแนวทางเช่นกัน2


บทที่ 2ขั้นตอนการจัดทำาเพื่อได้การรับรอง CE Markสำาหรับเครื่องมือแพทย์ และการจัดทำา Technical Document Fileถ้าต้องการได้การรับรอง CE Mark สำาหรับผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ต้องทำาอย่างไร ?3


2. ผลิตภัณฑ์จัดเป็นเครื่องมือแพทย์ประเภทใดถ้าเครื่องมือแพทย์อยู่ในกลุ่มใดของ Directive ข้างต้น ต้องดำาเนินการและปฏิบัติหมายเลข Directive นั้นๆ ซึ่งในคู่มือฉบับนี้ขออธิบายตาม Directive93/42/EEC เนื่องจากเป็นกลุ่มเครื่องมือแพทย์ทั่วไป และสำาหรับประเทศไทยจะมีผู้ผลิตอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ในประเภทนี้เป็นส่วนใหญ่ เช่น ถุงมือยางเพื่อใช้ทางการแพทย์ กระบอกฉีดยา ถุงน้ำาเกลือ เป็นต้นสำาหรับ Directive 93/42/EEC เปรียบเสมือนกฎหมายด้านเครื ่องมือแพทย์ดังนั้นผู้ผลิตที่ต้องการนำา CE Mark มาประยุกต์ใช้และขอการรับรอง จำาเป็นต้องรู้และเข้าใจผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความปลอดภัย กล่าวคือต้องกำาหนดวัตถุประสงค์ของอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ให้ชัดเจน ควบคุมการออกแบบผลิต การคัดเลือกวัตถุดิบ การลดปัญหาและอันตรายตั้งแต่กระบวนการออกแบบ การทดสอบทั้งจากสัตว์ และจากผู้ป่วยนำาไปใช้งานจริง หลังจากวางสินค้าในตลาดต้องเฝ้าระวังสิ่งไม่พึงประสงค์ที่อาจจะเกิดขึ้น การรับผลสะท้อนกลับจากผู้ใช้และผู้ป่วย เป็นต้น5


3. การจัดลำดับกลุ่ม<strong>ของเครื่องมือแพทย์</strong> (<strong>Class</strong>ification)การจัดกลุ ่มของเครื ่องมือแพทย์ ตาม Directive 93/42/EEC เป็นการจัดตามลำาดับความเสี่ยงของอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ การจัดลำาดับกลุ่ม หรือ <strong>Class</strong>เพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยอย่างเหมาะสม การจัด <strong>Class</strong> ระบุในAnnex IX โดยจะพิจารณาจากปัจจัย คือ1) ระยะเวลาใช้และความต่อเนื่อง (Duration) แบ่งเป็น 3 ระดับแบบชั่วคราว (Transient)ไม่เกิน 60 นาที แบบระยะเวลาสั้น(Short Term) คือ ตั้งแต่ 60 นาที แต่ไม่เกิน 30 วัน และแบบสุดท้าย (Long Term) คือ อยู่อย่างต่อเนื่องมากกว่า 30 วัน2) ระดับของการล่วงล้ำาเข้าในร่างกาย (Invasive Device)3) ฝั่งในร่างกายหรือไม่ (Implantable)4) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคทรอนิคส์ (Active)5) ระบบไหลเวียนเลือดส่วนกลาง (Central Circulation System)6) เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลางหรือไม่ (Central Nervous-System)ปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อการบริหารความเสี่ยง<strong>ของเครื่องมือแพทย์</strong> (RiskManagement) การจัดกลุ่มพิจารณาได้ดังนี้61) Non-invasive devices คือ เครื่องมือแพทย์ที่สัมผัสผิวพิจารณาตาม Rule 1- 42) Invasive devices คือ เครื่องมือแพทย์ที่ล่วงล้ำาเข้าร่างกายพิจารณาตาม Rule 5-83) Additional rules applicable to active devices Rule 9-124) Special Rules จัดเป็นเครื ่องมือแพทย์ที ่มีความเสี ่ยงสูง Rule 13-18


้<strong>Class</strong> <strong>ของเครื่องมือแพทย์</strong> จัดเป็น 3 class คือ<strong>Class</strong> I : จัดเป็นเครื่องมือแพทย์ใช้ทั่วไปแบ่งเป็น 2 กลุ่มตามconformity คือ1) ไม่มีการฆ่าเชื้อ(Sterilization) และมีไม่มีมาตรวัด (Measuringfunction) เช่น ถุงมือยางที ่มีได้ฆ่าเชื ้อ ขาเทียม ถุงปัสสาวะ ซึ ่งในกลุ ่มนีจะมาสามารถดำาเนินรับรองแบบ Self-certification2) มีการฆ่าเชื้อ และมีมาตรวัด เช่น ถุงมือยางที่ต้องมีการฆ่าเชื้อโดยผู้ผลิต การขอรับรอง CE Mark ต้องมี Notified Body (NB) ตรวจรับรอง<strong>Class</strong> IIa : อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ที่มีการล่วงล้ำาเข้าร่างกายในระดับผิวหนัง หรือเข้าในร่างกายในช่วงระยะเวลาสั้น เช่น เข็มฉีดยาคอนเทคเลนส์<strong>Class</strong> IIb : อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ เข้าในร่างกายอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน และมีกำาลัง หรือใช้ระบบไฟฟ้าอิเลคทรอนิคส์เป็นแหล่งกำาเนิดพลังงานในการใช้งาน เช่น เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อClas III : อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ที่มีความเสี่ยงสูงอาจจะอยู่ในร่างกายตลอดไป หรือการทำางาน<strong>ของเครื่องมือแพทย์</strong>เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลาง ระบบเลือด เป็นต้น7


<strong>Class</strong> IIb ในการรับรองสามารถเลือกวิธีดำาเนินการได้ดังนี้Annex II,Annex III and Annex IV,Annex III and Annex V, หรือAnnex III and Annex VI.และต้องมีการตรวจรับรองโดย Notified Body<strong>Class</strong> IIIAnnex II,Annex III and Annex I หรือAnnex III and Annex Vต้องจัดทำาและส่ง Design Dossier ให้ NB (Notified Body) ตรวจรับรองConformity Assessment Route9


5. มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง (Harmonized Standards)มาตรฐานที่ต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์โดยจะมีการประกาศปรับปรุงมาตรฐานอยู่เสมอและประกาศใน Journal (Official Journal of theEuropean Union) จุดมุ ่งหมายของ Harmonized standards เน้นเรื ่องความปลอดภัยในกระบวนการออกแบบและการผลิต ลำาดับขั้นในการพิจารณามาตรฐาน คือ1) Harmonized EN Standards List ตามที่มีการปรับปรุงและประกาศใช้ใน Official Journal of the European Union เช่น EN 455-1:200Medical Gloves for single use2) EN standards เช่น EN 606013) International Standards เช่น ISO134854) National Standards (DIN, BSI, ANSI etc.)5) Third party Standards (ASTM, AAMI)6) Manufacturers specifications6. Essential Requirements of the Directive (Annex I)ข้อกำาหนดที่จำาเป็นหรือเฉพาะเครื่องมือแพทย์แต่ละประเภท เครื่องมือแพทย์ที่ต้องการผ่านรับรอง CE Mark ต้องทำา Essential Requirements checklistเพื่อตอบคำาถามในแต่ละเรื่องที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งคำาถามเป็น 2 หลักๆ คือ10ส่วนที่ 1 Section 1-6 : ข้อกำาหนดทั่วไป (sections 1-6) ที่ต้องตอบคำาถามแสดงถึงกิจกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานบ่งชี้วิธีการจัดการ อ้างอิงตามมาตรฐานใด และระบุเอกสารที่เกี่ยวข้อง


ส่วนที่ 2 Section 7-13 : ข้อกำาหนดเฉพาะ (RequirementsRegarding Design and Construction) ในส่วนที่ 2 ให้ระบุรายละเอียดในเรื่องการออกแบบและโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงด้านเคมี กายภาพ และชีวภาพ รูปแบบของ Checklistต้องใส่ข้อมูลตามคำาถามใน checklist มีมาตรฐานที่อ้างอิง และ วิธีการควบคุมหรือวิธีการตรวจพิสูจน์ว่าผลิตมีความปลอดภัย7. EC RepresentativeArticle 14.2 ของ Directive 93/42/EEC ได้กำาหนดให้ผู้ผลิตเครื่องมือแพทย์ที่ไม่ได้ตั้งอยู่ที่พื้นทวีปยุโรปหรือ 27 ประเทศ จะต้องแต่งตั้งตัวแทน 1ตัวแทน ที่อยู่ในพื้นทวีปยุโรป (A Single Authorized Representative) ECRepresentative จะทำาหน้าที่ประสานงานตามกฎหมายระหว่างผู้ผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์และเจ้าหน้าที่ของสภาพยุโรป8. Technical file Preparation (Annex VII)ในแฟ้มจะประกอบด้วยข้อมูลที่จะแสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์บรรลุข้อกำาหนดด้านความปลอดภัยตามมาตรฐานกฎระเบียบข้อบังคับตาม MDD 93/42/EEC ในแฟ้มข้อมูลควรจะต้องมีข้อมูล ดังนี้8.1 รายละเอียดผลิตภัณฑ์ (General Description)อธิบายถึงประวัติของบริษัท ประวัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์วัตถุประสงค์ในการใช้ แบบ รุ่น ประเภท แนวทางของการรับรอง CE Mark11


8.2 Drawing ,Design Specificationการบรรยายที่ครอบคลุมผลิตภัณฑ์- ส่วนประกอบและวัตถุดิบ : เคมี ชีวภาพและด้านกายภาพอิเลคทรอนิคส์ บรรจุภัณฑ์ การขนส่ง อุปกรณ์ต่อพ่วง- การควบคุมการออกแบบ- ข้อมูลอื่นๆ ที่สำาคัญกับผลิตภัณฑ์8.3 Essential Requirements Checklistอธิบายตามข้อ 6 การแสดงและปฏิบัติให้ความสอดคล้องกับข้อกำาหนดที่สำาคัญกับผลิตภัณฑ์8.4 รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis Report)สำาหรับอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ทุกประเภทต้องประเมินและวางแผนควบคุมความเสี่ยง มี 9 ขั้นตอนการจัดการความเสี่ยง1) บ่งชี้รายละเอียดผลิตภัณฑ์และวัตถุประสงค์การใช้2) บ่งชี้ลักษณะที่จะมีผลกระทบต่อความปลอดภัย3) บ่งชี้อันตรายที่อาจจะเกิดได้4) ประมาณระดับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในเงื่อนไขปกติและเกิดจากความผิดพลาดในการใช้5) สามารถยอมรับความได้หรือไม่6) ความเสี่ยงที่มีสามารถลดได้หรือไม่7) ถ้าความเสี่ยงนั้นลดต้องระบุความเสี่ยงหรืออันตรายใหม่ที่อาจเกิดขึ้น8) ประเมินอันตรายที่ระบุไว้ทั้งหมด9) สรุปผล ถ้าเครื่องมือแพทย์ว่ามีความปลอดภัยเพียงพอ12


8.5 Manufacturing อธิบายถึงกระบวนการผลิต• สถานที่ผลิตหรือโรงงานโดยครอบคลุมสถานที่ผลิตที่มีมากกว่า 1 ที่• Quality assurance• ระบบที่นำามาประยุกต์ในกระบวนการผลิต การตรวจสอบ(Inspection)• เงื่อนไขต่างๆ ของการผลิต (สอดคล้องตาม เช่น FS209E,ISO14644, ISO14698)• ระบบบริหารคุณภาพ เช่น ISO 13485• EC –certificate (Annex II, 3-Full Assurance System) และตามกฎหมาย• อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต เช่น SPC, Labeling control8.6 Vigilance Systemระบบการเฝ้าระวัง อ้างอิงตาม MDD, Article 10 เพื่อต้องการให้มั่นใจในเรื่องความผิดปกติใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ที่เสื่อมสภาพ หมดประสิทธิภาพและอาจก่อให้เกิดกับผู้ป่วย ผู้ใช้ ถึงชีวิต หรือบาดเจ็บรุนแรงซึ่งข้อมูลเหล่านี้ไม่ได้ระบุที่ฉลากหรือคู่มือการใช้งาน8.7 Clinical Evaluation (Annex X)ข้อมูลทางการแพทย์ตามแนวทาง MEDDEV 2.7.1 เครื่องมือแพทย์จะต้องมีการพิสูจน์ทางด้านการทดสอบการใช้งานจริงหรือข้อมูลทางการแพทย์ที่มีต่อการใช้งานกับผู้ป่วยของผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ เป็นการสรุปผลจากประสบการณ์ในอดีต และข้อแนะนำาเพิ่มเติม ตามหัวข้อใน MEDDEV13


ขั้นตอนการจัดทำ1. ระบุวัตถุประสงค์ในการจัดทำาหรือทบทวน2. ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล เช่น abstracts, from scientificliterature, Medline, Google etc3. การตัดสินใจเลือกหรือการกลั่นกรองข้อมูล4. รวบรวมบทความหรือเปรียบเทียบบทความจัดทำาเป็นตาราง5. ศึกษารายละเอียดในบทความ ซึ่งบางเรื่องไม่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ของเรา และอาจต้องใช้ข้อ 2 ในการพิจารณาให้เหตุผลที่ไม่เกี่ยวข้องหรือยกเว้น6. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย ความสำาเร็จหรือล้มเหลว<strong>ของเครื่องมือแพทย์</strong>และเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์7. ให้คะแนน แต่ละบทความตามเกณฑ์ที่กำาหนดไว้8. วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับจำานวนของผู้ป่วยจำานวนความสำาเร็จ และล้มเหลว9. สรุป Drawing ตามต้นฉบับของการทบทวน10. สรุปผล/จัดทำารายงาน8.8 Labeling และ Instructions for Useคู ่มือการใช้งาน เป็นการบ่งชี ้วิธีการใช้เครื ่องมือแพทย์อย่างถูกต้องทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยง และอันตรายที่อาจเกิดกับผู้ป่วยโดยพิจารณาตามแนวทาง MDD Annex I.13, EN 980, EN 1041,ISO 15223• บรรยายคุณลักษณะ<strong>ของเครื่องมือแพทย์</strong>• บ่งบอกวิธีการใช้งาน• ข้อห้าม การเตือน ข้อควรระวัง• เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ (Adverse Events)14


• การทำางาน (Directions for Use)• ข้อมูลด้านอื่นๆ (ถ้ามี) เช่น สเปค สายพันธ์ ลักษณะการบำาบัด ความถี่ ระยะเวลาใช้งาน ปริมาณ การจัดเตรียมก่อนการใช้ การติดตั้ง การจัดเก็บ บำารุงรักษาข้อมูลการฆ่าเชื้อ การใช้ต่อพ่วงกับอุปกรณ์เครื่องมืออื่นข้อมูลที่ต้องมีการอบรมก่อนการใช้งานเครื่องมือแพทย์และอื่นๆ8.9 การฆ่าเชื้อ (Sterilization) (ถ้ามี)1) กระบวนการฆ่าเชื้อต้องบรรยายวิธีการฆ่าเชื้อด้วยวิธีใด• Ethylene Oxide :- EN 556-1; EN 556-2; EN 866;EN ISO 11138; EN 550; ISO 11135; EN ISO 11737;EN ISO 10993-7• Moist Heat :- EN 556, ISO 11138-3, EN 554,ISO 17665-1, ISO 11737• Irradiation :- EN 556-1, EN 556-2, EN ISO 11137,EN 552, EN ISO 117372) ดำาเนินการฆ่าเชื้อโดยกำาหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยบริษัทเอง หรือ ใช้บริษัท รับเหมาช่วงซึ่งบริษัทรับบริการฆ่าเชื้อ ต้องผ่านการรับรองระบบบริหารคุณภาพ เช่นISO9001, ISO13485/13488, EN 550 series, 11135,11137, 11130 series3) ระบุหรือกำาหนดวิธีการตรวจสอบความถูกต้องของกระบวนการ(Process Validation) ระบุวิธีการของ IQ (InstallationQualification) และสรุปผลการตรวจสอบความถูกต้อง(Validation)8.10 Product Identification Procedures During Manufactureการบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ระหว่างกระบวนผลิต เพื่อการสอบกลับได้15


8.11 Tests and Frequency Before / During / After Manufactureในกระบวนการผลิตต้องกำาหนดขั้นตอนและวิธีการตรวจสอบในแต่ละขั้นตอนของการผลิต คือ ก่อนผลิตกำาหนดวิธีตรวจสอบวัตถุดิบ การตรวจสอบในระหว่างกระบวนผลิต และ การตรวจผลิตภัณฑ์ขั ้นสุดท้าย ในขั ้นตอนนี ้สอดคล้องข้อกำาหนด ISO13485หรือการอ้างอิงตาม Quality Control Plan8.12 Test Reportการทดสอบผลิตภัณฑ์ มีข้อกำาหนดหรือมาตรฐานที่พิจารณามาจาก Harmonized standards แบ่งการทดสอบ คือ• In Vitro Test การทดสอบตามมาตรฐานกำาหนด• In Vivo Test การทดลองในสัตว์ในประเด็นที่เป็นอันตรวจซึ่งอาจมีผลกระทบถึงคน• Biocompatibility test อ้างอิงตาม ISO 10993 ตารางที่1และ 2 พิจารณาตามการสัมผัสร่างกาย ระยะเวลาที่สัมผัสบ่งชี้วัตถุประสงค์ในการใช้เครื่องมือแพทย์ (Intended use),จัดเตรียมรายการวัตถุดิบที่ใช้และมีผลกระทบโดยตรงและทางอ้อมกับร่างกาย (Component Part) จัดทำาวิเคราะห์ประเมิน และสรุปผลการทดสอบด้าน Biocompatibility• Bio-stability Test การคงทนด้านชีวภาพ• Microbiological Safety, Animal Origin tissue• Electrical test : EMC, Performance tests, Safety tests• Transport test : การขนส่ง• Aging test / Environment Test : ทดสอบสภาพแวดล้อม168.13 Design Dossier (<strong>Class</strong> III Medical Device Only)จัดทำา Design Dossier รวมถึง Device Master Recordสำาหรับผลิตภัณฑ์

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!