10.07.2015 Views

การพัฒนาเครื่องมือวัดการวิจัย wirin kittipichai

การพัฒนาเครื่องมือวัดการวิจัย wirin kittipichai

การพัฒนาเครื่องมือวัดการวิจัย wirin kittipichai

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การเก็บรวบรวมขอมูล Obtrusive techniques มาตรวัดตาง ๆ เชน แบบทดสอบ แบบสอบถาม ฯลฯ การสมภาษณ สั เชน ช การสัมภาษณเชิงลึก (In-dept interview) สนทนากลุม (Focus group interview) Unobtrusive techniques การสังเกต การใชขอมูลจากแหลงอื่น ๆ เชน เอกสาร ขอมูลทุติยภูมิ


ประเภทเครื่องมือวัด• แบบทดสอบ – Test• แบบสํารวจรายการ แบบสารวจรายการ – Inventory• มาตรวัดทัศนคติ – Attitude• แบบสัมภาษณ – Interview• แบบสังเกต – Observation


่แบบทดสอบเปนชดของสิ่งเราที่นําไปใชกระตนบคคลเพื่อใหตอบสนองออกมาเปนชุดของสงเราทนาไปใชกระตุนบุคคลเพอใหตอบสนองออกมาชุดของสิ่งเราจะอยูในรูปของ ขอคําถามการตอบ เขียนตอบ พูด หรือแสดงพฤติกรรมื ิเพื่อใหสามารถวัดได สังเกตได และนําไปสูการแปลความหมายนิยมใชวัดเกี ่ยวกับ Cognitive domain• Achievement test – แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน• Cognitive test t – แบบวดความรู ั • Aptitude test – แบบวัดความถนัด


ลักษณะของแบบทดสอบ แบบทดสอบความเรียง (Essay test) ผตอบ ู ตอบอยางอิสระขึ้นเปนการตีความของโจทย แบบทดสอบแบบตอบสัน ั้ (Short answer test) ตองการคําตอบํอยางชัดเจน เชน ถามเกี่ยวกับสถานที่ ชื่อคน แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice item) มีตัวเลือกหลายขอ มตวเลอกหลายขอ โดยขอถก โดยขอถูก และมตวลวง และมีตัวลวง ใหเลือกตอบ 2 ตัวเลือก ใช-ไมใช, ถูก-ผิด


ํแบบสํารวจรายการเปนการสํารวจขอเท็จจริง หรือสภาพที่เปนจริงของบุคคลนิยมถามเรื่องใดเรื่องหนึ่งเฉพาะ โดยแตละเรื่องจะถามหลายขอเพือใหครอบคลุมเรืองทีตองการถามื่ใ ื่ ี่ ตัวคําถามมักจะยกสถานการณขึ้นมา เพื่อใหผูตอบนึกวาถาอยูในสถานการณนั้น ๆ แลวจะรูสึกอยางไร• แบบสํารวจความพรอม• แบบสํารวจความตองการ• แบบสํารวจความสนใจ


้มาตรวัดทัศนคติเปนสเกลของขอคําถามที่ใชวัดความรูสึกของบุคคลที่มีตอสิ่งตาง ๆ ทั้งที่เปนความรูสึกทางบวกและทางลบ เปนความรูสึกที่ลึกซึ้ง การตีความจะใช คะแนนรวมเปนหลักในการประเมินทัศนคติของบุคคล (Summated ratings) ใชวัดเกี่ยวกับAffective domain• Likert’s summated rating scale• Thurstone scale• Osgood scale• Rating scale


้มาตรวัดทัศนคติLikert’s summated rating scale• ขอคาถามตองมทงเชงบวกและเชงลบจานวนเทากน/ ํ ี ั้ ชิ ชิ ํ ั / ใกลเคยง ี• จํานวนขอคําถามควรมากกวา 20 ขอ• มาตรประเมินคาควรเปน 3, 5, 7 และกําหนดคําอธิบายในแตละระดับThurstone’s type scale – ตองมีกลุมคนมาตัดสินขอความ•มีขอตกลงเบื้องตนวา •มขอตกลงเบองตนวา ผูตดสนขอความตองตดสนไดตรงกบผตัดสินขอความตองตัดสินไดตรงกับผูตอบ•กาหนดความรูสกออกเปน ํ สึ ป 11 ช ชวง•ไมนิยมใชแลว เพราะมีความยุงยากในการใช•เปนพื ้นฐานของ ลิเคิรทสเกล


มาตรวัดทัศนคติOsgood’s s scale:• ใชความหมายทางภาษา (Semantic differential scale)• ใชคําคุณศัพทในการอธิบายความหมายของสิ่งเรา• คําคณศัพทตรงขามกันเปนขั้วของมาตรวัดคาคุณศพทตรงขามกนเปนขวของมาตรวด• เนนการวัดในเชิงมโนทัศน (Concept)


่่่ตัวอยาง Osgood’s scaleการดูแลลูกเพื่อปองกันการติดเชื้อฯ ูดวยการกระทํา 4 อยาง คือ การใสเสื้อผาใหลูกอบอุน เมื่ออากาศเย็น การดูแลลูกใหกินนม / อาหารที่มีประโยชน การสังเกตอาการลูกทุกวันุ การจัดบานใหอากาศถายเทสะดวก เชน ....สําหรับทานเปนสิ่งทีดี : อยางยิ่ง อยางยง คอนขาง คอนขาง นอย นอย : กลางกลาง : นอย นอย คอนขาง คอนขาง อยางยิ่ง อยางยง : เลวนาเบื่อ : อยางยิ่ง คอนขาง นอย : กลางกลาง : นอย คอนขาง อยางยิ่ง : นาสนใจมีประโยชน : อยางยิง ิ่ คอนขาง นอย : กลางกลาง : นอย คอนขาง อยางยิง ิ่ : มีโทษ


่่ตัวอยาง Osgood’s scaleคนหรือกลมคน ลุม นที่มีความสําคัญตอทาน ม สวนมาก มีความเห็นวาม การดูแลลูกเพื่อปองกันโรคติดเชื้อฯ เปนสิ่งที่ ทานควร/ไมควร กระทําควร : อยางยิ ่ง คอนขาง นอย : กลางกลาง : นอย คอนขาง อยางยิ่ง : ไมควรคนสวนใหญที่มีความสําคัญและใกลชิดกับทาน สนับสนุน/คัดคานทานในการดแลลกเพื่อปองกันโรคติดเชื้อฯในการดูแลลูกเพอปองกนโรคตดเชอฯสนับสนุน : มาก ปานกลาง นอย : กลางกลาง : นอย ปานกลาง มาก : คัดคานscored -3 to +3 or 1 to 7


ตัวอยาง Osgood’s scaleสถานีอนามัย นนดี -------------------------------------------------------------------- เลวเร็ว --------------------------------------------------------------------- ชาสะอาด --------------------------------------------------------------------- สกปรกใหญ --------------------------------------------------------------------- เล็กแข็งแรง--------------------------------------------------------------------- ออนแอสวาง สวาง --------------------------------------------------------------------- มืด มดใหม --------------------------------------------------------------------- เกา


มาตรวัดทัศนคติRating scale – มาตรประเมินคา มาตรประเมนคา• เปนเสนตรงที่มีตัวเลขหรืออักษรกํากับ• เปนการกําหนดลักษณะเฉพาะ เดี่ยว ทีละลักษณะเพื่อประเมินคา เพอประเมนคา• จํานวนชวงเปนเลขคูหรือคี่ได มีตั้งแต 2 ชวงขึ้นไป• มาตรเปนบวก / ศูนยถึงบวก / มีทั้งบวกและลบได


แบบสัมภาษณเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมลที่มีลักษณะเหมือนกับการูสอบปากเปลา และใชการตอบทางวาจาเหมาะสําหรับ เหมาะสาหรบ การเกบขอมูลดานความรูสก การเก็บขอมลดานความรสึก ความคิดเห็น ความคดเหน ความสนใจ ความรู และทัศนคติในเรื่องตาง ๆนิยมใชวัดเกียวกับ ั ี่ ั Affective domain & Cognitive domain• Structured interview – มีโครงสรางแนนอน• Semi – structured interview – กึ่งโครงสราง กงโครงสราง• Unstructured interview – ไมมีโครงสราง


ุ็ุแบบสังเกตเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลที่ตองอาศัยประสาทสัมผัส โดยเฉพาะ ตาและหูเหมาะสําหรับ การศึกษาคุณลักษณะและพฤติกรรมของบุคคลปรากฏการณและพิธีการตางๆ• Direct observation – สังเกตทางตรง /เห็นดวยตนเอง• Participant observation• Non - participant observation• Indirect observation – สังเกตทางออม• ใชเครื่องมือ ใชเครองมอ เชน เชน VDO ภาพยนตร ภาพถาย ภาพถาย เปนตน เปนตน


แบบสอบถามเปนชุดของขอคําถาม ซึ่งจัดไวเปนระบบตามสิ่งที่ตองการศึกษาสําหรับสงใหผูตอบอานและตอบเอง• Closed form – แบบสอบถามปลายปด• Check list• Rating scale• Opened form – แบบสอบถามปลายเปดแบบสอบถามปลายเปด• กรณีตองการเห็นภาพกวาง ๆ• ตองการทํา ตองการทา Pilot study


ุคําถาม ?? สิ่งที่ตองการวัดคืออะไร จะวัดกับใคร ผลของการวัด นําไปใชทําอะไร วัดอยางไร ตัวแปร: รูปธรรม / นามธรรม กลุมเปาหมาย วัตถุประสงค / การใชประโยชน วิธีการเก็บขอมูล


ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องมือวัด• นิยาม Construct ที่จะวัด• กําหนดรายละเอียดของพฤติกรรมที่จะวัด• กําหนดลักษณะของมาตรวัด กาหนดลกษณะของมาตรวด (Test specification)• กําหนดลักษณะของขอคําถาม (Item Specification)• เขียนขอคําถามและจัดทํารูปเลม• ตรวจสอบโดยผเชี่ยวชาญ ตรวจสอบโดยผูเชยวชาญ (Content Validity)• การวิเคราะหรายขอ (Item Analysis)• หาคุณภาพเครื่องมือ (Reliability & Validity Study)


่ันิยามตัวแปร ประเภทตัวแปร ความหมายของสิ่งที่จะวัด รูปธรรม (Concept) รับรไดตรงกัน รบรูไดตรงกน วัดและประเมินไดตรงกัน นามธรรม (Construct) อาจนิยามตรงกันหรือไมตรงกัน ไมสามารถสังเกตและประเมินออกมาไดโดยตรง ใชเครื่องมือ เพื่อประเมินคาออกมา เนื้อหาของสิ่งที่จะวัด (อปก.) ที่มา กําหนดตามแนวคิด กาหนดตามแนวคด ทฤษฎี กําหนดตามผูเชี่ยวชาญจากการสัมภาษณ สนทนากลุม เปนตน


ููนิยามตัวแปร - ตัวอยาง•ความพึงพอใจของผูรับบริการ - ความรูสึกหรือทัศนคติทางบวกที่มีตอการใหบริการภายหลังที่ผูรับบริการไดรับทราบถึงผลการใหบริการแลว ประกอบดวย 3 องคประกอบ ดังนี ้•ความพึงพอใจดานเจาหนาที่ผูใหบริการ - ความรูสึกพึงพอใจของผูรับบริการตอบุคลิกภาพ กิริยาวาจา สีหนา การแสดงอารมณในขณะที่บริการ ความเอาใจใส ความกระตือรือรนการมีมนุษยสัมพันธความเปนกันเอง ความรูความสามารถ ตลอดจนจํานวนความเพียงพอของเจาหนาที่ผูใหบริการ


นิยามตัวแปร - ตัวอยาง• ความพึงพอใจดานสถานที่ใหบริการ - ความรูสึกพึงพอใจของผรับบริการตอการจัดสถานที่ใหเหมาะสม ผูรบบรการตอการจดสถานทใหเหมาะสม และมความสะดวกในการและมีความสะดวกในการใหบริการ ไดแก ทําเลที่ตั้งอยู ไมไกลแหลงชุมชน การเดินทางไปมาสะดวก มีพื้นที่ภายในสํานักงานกวางขวางพอ มพนทภายในสานกงานกวางขวางพอ มการจดทนง มีการจัดที่นั่ง สําหรับ สาหรบผูมารับบริการเพียงพอ การจัดตกแตงภายในสํานักงานสะอาดสวยงามการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกผรับบริการมีความสวยงามการจดสงอานวยความสะดวกใหแกผูรบบรการมความเหมาะสมแกการบริการ• ความพึงพอใจดานขันตอนการใหบริการ ้ ใ – ความรูสึกพึงพอใจของ ึ ึ ผูรับบริการตอขั้นตอน การใหบริการวา งาย ไมยุงยาก และไมซับซอน มีการวางระบบไวชัดเจน การใหบริการเปนไป ตามลําดับและตอเนื่องจนแลวเสร็จ ไมทําใหการบริการหยุดชะงัก


ุระดับการวัดตัวแปรการอธิบายความสัมพันธ ตัวแปรกลุม Categories variableระหวางระบบตัวเลขที่กําหนด Nominal scale: กลุมใหกับตัวแปร ใหกบตวแปร Ordinal scale: จัดอันดับ จดอนดบหรือเปนการกําหนดตัวเลข ตัวแปรตอเนื่องContinuous variableใหกับวัตถุสิงของ ั ั ิ่ หรือเหตุการณ Interval scale: มาตราสวนตามกฎเกณฑใด ๆRelative zero Ratio scale: อัตราสวนAbsolute zero


ลักษณะของมาตรวัดทั้งฉบับทําใหทราบถึงขอบเขตและเนื้อหาของการวัดทาใหทราบถงขอบเขตและเนอหาของการวดสิ่งที่ตองกําหนด ดังนี้ กลุมเปาหมาย วัตถุประสงคของการวัด เพื่อวินิจฉัย เพอวนจฉย เพื่อเปนขอมูลประกอบการใหคําปรึกษา เพื่อนําไปใชในการวิจัย


ลักษณะของขอคําถามเปนการกําหนดวาขอคําถาม เปนการกาหนดวาขอคาถาม จะมลกษณะมีลักษณคําถาม และคําตอบเปนอยางไร โดยทั่วไปมาตรวัดจะมีลักษณะขอคําถาม เปน คําถามเปด(Open ended questions) หรือ หรอ คําถามปด คาถามปด(Closed or fixed alternative questions)


คําถามเปด เหมาะสําหรับการตองการความเห็นกวาง ๆ ไดคําตอบที่สมบูรณ ตรงการสภาพการณจริง ใชรางแบบสอบถามในระยะแรก ใชรางแบบสอบถามในระยะแรก (Pilot Study)- ทานมีปญหาสุขภาพอยางไร ุ (How)- ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอการใหบริการของเจาหนาที่สาธารณสข เจาหนาทสาธารณสุข (How)- อายุ.... ป- อาชีพ......


คําถามปด นิยมใชกับขอมลเกี่ยวกับขอเท็จจริง ูล เชน เพศ การศึกษา ฯลฯ มีคําตอบไวใหเลือก โดยเลือกไดหลายคําตอบ หรือคําตอบเดียว คําตอบที่กําหนดไว คาตอบทกาหนดไว ขนกบผูออกแบบสอบถามขึ้นกับผออกแบบสอบถาม


คําถามปด - ตัวอยาง2 ตัวเลือก ตวเลอก (Dichotomous)หลายตัวเลือก (Multiple choice) เลือกคําตอบเดียว เลือกหลายคําตอบจัดลําดับความสําคัญ ั ํ ั ํ ั (Ranking of item)ประเมินคา ประเมนคา (Rating scale)


็่่ขอเดนคําถามปลายเปด สรางขอคําถามไดงาย ผูตอบไดแสดงความคิดเห็นเต็มที่ คําตอบสอดคลองและตรงกับความรสึกของผตอบความรูสกของผูตอบคําถามปลายปด สรุปประเด็นคําตอบไดเร็ว คําตอบจะอยูในประเด็นทีสนใจ ผูตอบไมเสียเวลาคิดคําตอบและเขียนเรียบเรียงคําตอบและเขยนเรยบเรยงคาตอบ งายในการตอบ ผูวิเคราะห ไมมีผลตอการสรปผล สรุปผล


่ขอดอยคําถามปลายเปด ไดคําตอบที่หลากหลาย อาจไมอยูในประเด็นที่สนใจในประเดนทสนใจ เสียเวลาในการสรุปประเด็นเพื่อนํามาลงรหัส นามาลงรหส (เชิงปริมาณ)(เชงปรมาณ) ผูตอบเกิดความเบื่อหนาย ไมเหมาะสําหรับผูตอบที ่ขาดทักษะการเขียน ผูวิเคราะหมีผลตอการสรุปผล อาจผิดจากความเปนจริง (อาจตีความเขาประเด็นที่สนใจ)คําถามปลายปด มีคําตอบเฉพาะ ผูตอบขาดอิสระ อสระ เสียเวลาในการคิดหาคําตอบไวลวงหนา คําตอบไมครอบคลมคําตอบคาตอบไมครอบคลุมคาตอบทั้งหมด ไดขอมูลแบบหยาบ ขาดความลึกซึ้ง ในคําตอบ


ตัวอยางคําถามขอที่ 1. เพศขอที่ 2. อายุ หญิง ชาย 20 – 29 ป 30 – 39 ป 40 – 49 ป 50 – 59 ปขอที่ 2. อายุ (ระบุ).......... ปขอที่ 3. ความคิดเห็นตอการทําวิจัย........................


ุ่ีตัวอยางคําถาม อาย สถานภาพสมรส จํานวนสมาชิกในครัวเรือน สิทธิในการรักษาพยาบาลสทธในการรกษาพยาบาล การสูบบุหรี่ (ปริมาณความถี) การดื่มแอลกอฮอล(ปริมาณ ความถี่ ) การรับรขอมลทางสขภาพู ูล ุ การใชสถานบริการทางการแพทย การเลือกรับบริการทางแพทย การยายมาทํางานในเมืองการยายมาทางานในเมอง การเลือกซื้ออาหาร “30 บาท รักษาทุกโรค” ความรที่ไดรับจากการอบรมความรูทไดรบจากการอบรม


้็การเขียนขอคําถาม ชัดเจน เขาใจงาย ไมใชศัพทเฉพาะ/วิชาการ สั ้น กะทัดรัด ไมมีคําปฏิเสธซอนปฏิเสธ ฏ ในขอเดียวกัน เกิดอาการงง ไมควรใชคําซ้ํา 1 ขอ 1 ประเดน ไมใชคําถามนํา / แนะใหตอบ ทานออกกําลังกายเปนประจําใชไหม สอดคลองเหมาะสมกับกลมตัวอยาง สอดคลองเหมาะสมกบกลุมตวอยาง (การศึกษา) (การศกษา) หลีกเลี่ยงขอความที่เปนความลับ อาจไมคําตอบไมตรง


การเรียงขอคําถามคําถามใกลตัว คาถามใกลตว (ขอมลสวนบคคล)(ขอมูลสวนบุคคล)คําถามทั่วไป กอน คําถามเฉพาะคําถามงาย กอน คําถามยากคําถามเรียงตามลําดับเหตุการณ จาก อดีตปจจบัน ปจจุบน อนาคต


การจัดทํารูปเลม – บรรณาธิกรโครงสรางแบบสอบถามโการจัดวางรปแบบ การจดวางรูปแบบ (Format)การตรวจสอบเบื้องตน


โครงสรางแบบสอบถาม สวนที่ 1 หนังสือนํา / คําชี้แจง จุดประสงคที่ใหตอบแบบสอบถาม การนําคําตอบไปประโยชนการนาคาตอบไปประโยชน คําอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม คําอธิบายวิธีการทํา/ตอบ แบบสอบถาม สวนที่ สวน 2 ขอมลสวนตัว มูลสวน ว (ขอมลดานประชากร)มูล น ร ร) สวนที่ 3 วัดคุณลักษณะหรือประเด็นที่จะวัด2 – 3 เปนไปตามกรอบแนวคิด ิ / วัตถุประสงคการศึกษา ึ


การจัดวางรูปแบบการเลือกใชกระดาษ ขนาดตัวอักษร ฟรอนท และขนาดการพิมพ หนา - หลัง หนาเดียวการเขาเลม / เปนชุด ๆเนนผูตอบ ตอบไดสะดวกเนนความสะอาด สวยงาม


การตรวจสอบเบื้องตน ครอบคลุมทุกตัวแปรที่ศึกษาหรือไมุ ความถูกตองในการพิมพ เวนวรรค การใชภาษา ตรงประเด็น รปแบบ รูปแบบความสวยงาม สบายตา เวนระยะหาง เพื่อตรวจสอบทั้งหมด ลองทําเองกอน / คนใกลตัว


การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ1) ตรวจสอบโดยผูเชียวชาญ ี่ (Content Validity)2) ปรับแก (ถามี)3) ทดลองใช (Try out) : 30 คน?? ความจําเปน ??4) การวิเคราะหรายขอ (Item Analysis)5) หาคณภาพเครื่องมือ หาคุณภาพเครองมอ (Reliability & Validity Study)


้Classical test theory - CTTการวิเคราะหรายขอ การวเคราะหรายขอ (Item Analysis)ความมีอํานาจจําแนก (Power of discrimination)ความยากรายขอ (Item-difficulty)อํานาจตัวลวง (Distractor power)การวิเคราะหคุณภาพมาตรวัดทั้งฉบับความเชื่อมั่น ความเชอมน (Reliability)ความตรง (Validity)


การวิเคราะหรายขอ• วิเคราะหรายขอ ตามลักษณะของมาตรวัด• Likert Scale ทําการวิเคราะหอํานาจจําแนก• ขอคําถามใด ที่ไมผานตามเกณฑ ใหตัดออก หรือแกไข แกไข• ทําการทดลองใช เพื่อทําการวิเคราะหรายขออีกครั้ง


ู่คาอํานาจจําแนก การสามารถจําแนก แยกแยะ สิ่งที่มีลักษณะตางกันออกจากกันได เปนคณสมบัติของขอคําถามเปนคุณสมบตของขอคาถาม ผูที่ไดคะแนนรวมสูงจะตอบไดคะแนนสูงในขอนั้น และผูที่มีคะแนนรวมต่ําจะไดคะแนนต่ําในขอนั้นเชนกัน กรณี ขอสอบทมอานาจจาแนก ขอสอบที่มีอํานาจจําแนก คอ คือขอสอบที่สามารถจําแนกคนเกง และ คนออนออกจากกันได กรณี มาตรวัดทัศนคติ ผูที่มีคะแนนรวมสูงบงบอกวามีทัศนคติทางบวก สวนใหญจะ เห็นดวย กับคําถามขอ ก. และผูที่มีคะแนนรวมต่ํา บงบอกวาทัศนคติทางลบ สวนใหญจะ ไมเห็นดวย กับคําถามขอ คาถามขอ ก. ดังนั้น ดงนน ขอ ขอ ก. เปนคําถามที่มีอํานาจจําแนกเปนคาถามทมอานาจจาแนก


คาอํานาจจําแนก การหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตาง ๆ Point Biserial Correlation Pearson Product Moment Correlation การวิเคราะหจากการแบงกลุมสูงและกลุมต่ํา large sample size & normal distribution: 27% small sample size non-normal normal distribution: 30% - 40% very very small sample size: 50%การหาสัดสวนระหวางกลุมั การใช independent t test


คาอํานาจจําแนก: หาความสัมพันธ Point Biserial Correlation: คะแนนรายขอ - Item score: 0 & 1 คะแนนรวม - Total score: continuous Pearson Product Moment Correlation คะแนนรายขอ - Item score: continuous คะแนนรวม - Total score: continuous


คาอํานาจจําแนก: กลุมสูง-ต่ํา หาสัดสวนของความแตกตางระหวางจํานวนคนตอบถูกในกลมสง ในกลุมสูง - กลมต่ํา กลุมตา หรอ หรือ หาความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยในกลุมสูง – กลุมต่ํา Item score: dichotomous scale (score = 0 or 1)P L อํานาจจําแนก อานาจจาแนก ( r ) = P H – P L P H = จํานวนคนที่ตอบถูกในกลุม H / จํานวนคนทั้งหมดในกลุม H P L = จํานวนคนทีตอบถูกในกลุม ่ี L / จํานวนคนทังหมดในกลุม ้ั L Independent t test: ทดสอบความแตกตางของ Mean of H & L Gr. Item score: rating scale (i.e. Likert scale) P – value < 0.0505


คาอํานาจจําแนก: การตีความ correlationItem – total correlation > 0.40or significance at p-value < 0.05 Independent t - testmean of High group > mean of Low gr.Significance at p-value < 0.05 Having Power of discrimination


คาอํานาจจําแนก: การตีความ การหาสัดสวน การหาสดสวน คาอํานาจจําแนก ( r ) = -1 ถึง +1 r > 0.60power of discrimination = high r = 0.30 – 0.60 power of discrimination = medium r < 0.30 power of discrimination = low r = 0, negative power of discrimination = none


คาอํานาจจําแนก รวมคะแนนแตละขอใหเปนคะแนนรวม (total score) นําคะแนนแตละขอไปหาความสัมพันธกับคะแนนรวม ั ั ั(item-totalcorrelation) หากนอยกวา 0.4 หรือไมมีนัยสําคัญทางสถิติถือวาเปนขอคําถามที่ตองปรับปรุง หรือควรตัดออก กําหนดใหกลมตัวอยางแตละคนเปนคนที่มีความสามารถสงหรือกาหนดใหกลุมตวอยางแตละคนเปนคนทมความสามารถสูงหรอต่ําโดยดูจากคะแนนรวม จากนั้นนําคาเฉลี่ยคะแนนรายขอของกลุมสูงและกลุมตา ่ํ มาเปรียบเทียบกน ี ี ั โดยใช สถิติ ิ t-testขอคําถามที่มีคาเฉลี่ยตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติแสดงวามีอํานาจจําแนก การกําหนดกลมสงหรือต่ํา การกาหนดกลุมสูงหรอตา อาจใชเกณฑ อาจใชเกณฑ 50% 25% 27% หรือ หรอ 33%


คาความยาก-งาย โอกาส/ความนาจะเปนที่จะตอบถูก หรือไดคะแนนสูงในขอนั้น หาสัดสวนหรือรอยละ ื ของคนในกลุมทีตอบถูก ่ี หาคะแนนเฉลี่ยรายขอ ดัชนีความยากมีคา 0 ถึง 1.00 คาทีเขาใกล ี่ 1.00 บงบอกวา งาย คาที่เขาใกล 0 บงบอกวา ยาก สัดสวนจํานวนขอ ยาก – งาย – ปานกลาง: 25 – 25 – 50คาความยาก = จํานวนคนที่ตอบถูกในขอนั้นจานวนคนทตอบทงหมดํ ี่ ั้


คาความยาก-งาย: การตีความคาความยากงาย คาความยากงาย = 0 - 1คาความยากงาย > 0.60 คือ งายคาความยากงาย = 0.30 - 0.60 คือ ปานกลางคาความยากงาย < 0.30 คือ ยากมาก


่Validity – ความตรงความสามารถของมาตรวัด ทีจะสามารถวัดไดถกตองตามคณสมบัติของสิ่งที่จะวัด ถูกตองตามคุณสมบตของสงทจะวด หรือ หรอความสามารถที่จะวัดไดถูกตองตามวัตถุประสงคของการวัด


่ประเภทของความตรง ความตรงเชิงเนื้อหา – ความสามารถในการวัดไดครอบคลุมตามเนื้อหาที่ไดกําหนดไว ทั้งในดานรวมและ ดานยอย (ถามี) ความตรงตามเกณฑที่เกี่ยวของ ความตรงตามเกณฑทเกยวของ - ถกตองตามเกณฑที่กําหนดขึ้นถูกตองตามเกณฑทกาหนดขน ความตรงตามสภาพ - ถูกตองตามสภาพที่เปนจริงในปจจุบัน ความตรงเชิงพยากรณ - ถูกตองตามสภาพที่เกิดขึ้นในอนาคต ความตรงเชิงโครงสราง - ถูกตองตามทฤษฎีหรือแนวคิดอนเปนทีมาี ื ิ ั ีของมาตรวัดนั้น


ความตรงเชิงเนื้อหาระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert system) โดยกําหนดคณะผูเชี่ยวชาญตามลกษณะของมาตรวดทสราง ั ั ี่ส และลกษณะของกลุมตวอยางั ั ที่ศึกษาหากเปนมาตรวัดที่แปลมา ควรมีผูเชี่ยวชาญทางภาษาดวยนําขอคําถามมาจัดเปนแบบฟอรม ใหผูเชี่ยวชาญใหน้ําหนักความเหมาะสม ในเรื่องตอไปนี้ ในเรองตอไปน ความตรงของเนื้อหา (Relevancy): มากที่สุด-----------นอยที่สุด ความชัดเจน (Clarity): ชัดเจน / ไมชัดเจน ความกระชับ ความกระชบ (Conciseness): กระชับ กระชบ / ไมกระชับ ไมกระชบเกณฑการคัดเลือกขอที่ผาน: mean > 3.4 SD. < 1.00ขอที่ไมผานเกณฑ ควรคัดออกหรือนํามาปรับปรุงแกไขตอไป


ความตรงตามเกณฑที่เกี่ยวของเกบขอมูลกบกลุมตวอยางตามเกณฑทระบุ็ ั ั ี่Concurrent validity - ใช known-group technique ใช 2 กลุม คือกลุมสูง – ต่ํา ตามทฤษฎี เปรียบเทียบคะแนนโดยใช t-testPredictive validity - เก็บขอมลกับกลมเดิม เกบขอมูลกบกลุมเดม เมอเวลาผานไประยะเมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง นํามาตรวัดอื่นไปวัดกับกลุมเดิม นําคะแนนมาหาความสัมพันธ ั หากพบความสัมพันธ ั ั แสดงวามาตรทีสรางขึน ่ีึ้มี Predictive validity เชนความถนัดทางการเรียน (SAT) vs.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


ุ่่ความตรงเชิงโครงสรางใชขอมูลเชิงประจักษ โดยเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยางแลวเลือกวิเคราะหหาความสัมพันธกับมาตรวัดอื่นที่เปนมาตรฐานอยแลว หาความสมพนธกบมาตรวดอนทเปนมาตรฐานอยูแลว โดยใหกลม โดยใหกลุมตัวอยางตอบมาตรวัดทั้งสองมาตรวัด แลวนําคะแนนมาหาความสัมพันธกันหาความสัมพันธกับมาตรวัดอื่นที่มีลักษณะคลายกันตามทฤษฎี ฤ ฎเชนนักทดสอบสรางมาตรวัด Desire for Control ซึ่งมีลักษณะคลายLocus of Control, Self-Confidence นํามาตรวัดทั้งสามไปเก็บนามาตรวดทงสามไปเกบรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยางแลวนําคะแนนมาหาความสัมพันธกันวิเคราะหองคประกอบ - เพื ่อศึกษาถึงตัวแปรที ่เปนรากฐานของขอคําถามที่สรางขึ้นวาเปนไปตามทฤษฎีหรือไม ในปจจุบันนิยมทําConfirmatory Factor Analysis


การหาความตรงเชิงโครงสรางSympathyAngers1 s2 s3 a1 a2 a3td1 td2 td3 td4 td5 td6CFA for Sympathy and Anger


้Reliability – ความเชื่อมั่นความสามารถของมาตรวัดในเรืองของความคงทีื่ ี่ของผลการวัด คือ มีความคงเสนคงวา (Consistency)ไมวาจะวัดกี่ครั ้งก็ตามหากกลุมตัวอยางยังคงมีสภาพการณเหมือนเดิมผลการวัดที่ไดจะเหมือนเดิม ผลการวดทไดจะเหมอนเดม หรอใกลเคยงกบของเดมหรือใกลเคียงกับของเดิม


การหาคาความเชื่อมั่น Test – Retest Reliability เปนการวัดความเชื่อมั่นที่นิยมมากที่สุดโดยนํามาตรวัดไปวัดกับกลุมตัวอยางสองครั้ง นําคะแนนมาหาความสัมพันธกัน ความสมพนธกน คา คา r ที่สงแสดงมาตรวัดมีความเชื่อมั่นสงทสูงแสดงมาตรวดมความเชอมนสูง Parallel Test เปนการวัดครั้งเดียวดวยมาตรวัดสองฉบับที่คูขนานกัน แลวนําคะแนนสองชุดมาหาความสัมพันธกัน ั ั ั ตีความเหมือน ี ืTest – Retest Inter-rater reliability ใชกับการสังเกต โดยมีผูสังเกตตั้งแต 2 คนขึ้นไป ขนไป นาคะแนนมาหาความสมพนธ นําคะแนนมาหาความสัมพันธ คา คา r สง สูง แสดงวาการวดม แสดงวาการวัดมีความเชื่อมั่นสูง


การหาคาความเชื่อมั่น Internal Consistency เปนการนํามาตรวัดไปใชกับกลุมตัวอยางโดยวัดเพียงครั้งเดียว วิเคราะหหาดัชนีความเชื่อมั่น ซึ่งมีคาระหวาง 0-1 ปจจุบันนิยมใชวิธีของ Kuder-Richardson และวิธีของChronbach Kuder-Richardson (KR) ใชกับมาตรวัดที่มีระบบการใหคะแนนเปน 0 & 1 KR-21 ใชกับมาตรวัดที่มีระดับความยากทกขอเทากันใชกบมาตรวดทมระดบความยากทุกขอเทากน KR-20 ใชกับมาตรวัดที่มีระดับความยากรายขอคละกัน Alpha cronbach’s coefficient: Rating Scale ั ั ิ์ ิ Al h C b h มาตรวดผลสมฤทธิผลการวิเคราะหดวย Alpha Cronbach และKR-21 จะมีคาเทากัน


ความตรง (Validity)Command in SPSS Independent d Samples t-test t t (Concurrent) Regression (Predictive) Pearson product moment correlation (Construct) ความเชือมน ื่ ั่ (Reliability) Pearson product moment correlation (Test-Retest) Reliability เพื่อหาดัชนีความเชื่อมั่น คาอํานาจจําแนกํ ํ Pearson product moment correlation Independent Samples t-test


QUESTIONS ???Questions

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!