น.ส.จิตรพิสุทธิ์แซ่หว่อง 54230014 กลุ่ม 2 5.1 Five Forces Model คือ

น.ส.จิตรพิสุทธิ์แซ่หว่อง 54230014 กลุ่ม 2 5.1 Five Forces Model คือ น.ส.จิตรพิสุทธิ์แซ่หว่อง 54230014 กลุ่ม 2 5.1 Five Forces Model คือ

informatics.buu.ac.th
from informatics.buu.ac.th More from this publisher
24.06.2015 Views

น.ส.จิตรพิสุทธิ์ แซ่หว่อง 54230014 กลุ่ม 2 5.1 Five Forces Model คืออะไร โมเดล Five Force ของ Michael Porter เป็น Model ที่นิยมกันมากในการวิเคราะห์ตลาดเพื่อให้รู้ถึง สภาพแวดล้อมของธุรกิจของ เรากับสิ่งรอบข้างที่มีผลต่อการท า ธุรกิจของเรา โดยเป็นการวิเคราะห์ในเชิง บวกที่ไม่ใช่เพียงการเอาชัยเหนือคู่แข่งแต่ ยังพูดถึงการร่วมมือกันเป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม มักมีความ เข้าใจกันว่า การวิเคราะห์ธุรกิจโดยน า หลัก Five Force มาใช้นั้นควรใช้ส า หรับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีการ แข่งขันสูงส่ วนธุรกิจขนาดเล็กนั้นไม่มีความจ า เป็นต้องท า เป็นเรื่องเป็นราวขนาดนั้น หากแต่ในความเป็น จริงแล้ว ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมก็สามารถใช้ Model ธุรกิจแบบ Five Force มาใช้ได้เพื่อเสริมให้ ธุรกิจของเรานั้นมีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น Five Force: 1. Rivalry Among Current Competitors: การแข่งขันกันระหว่างคู่แข่งภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน 2. Bargaining Power of Suppliers: อ านาจต่อรองของ Supplier 3. Bargaining Power of Customers: อ านาจต่อรองของลูกค้า 4. Threat of Substitute Products or Services: ภัยคุกคามจากสินค้าทดแทน 5. Threat of New Entrance: ภัยคุกคามจากผู้แข่งขันหน้าใหม่

น.ส.จิตรพิสุทธิ์ แซ่หว่อง <strong>54230014</strong> กลุ่ม 2<br />

<strong>5.1</strong> <strong>Five</strong> <strong>Forces</strong> <strong>Model</strong> คืออะไร<br />

โมเดล <strong>Five</strong> Force ของ Michael Porter เป็น <strong>Model</strong> ที่นิยมกันมากในการวิเคราะห์ตลาดเพื่อให้รู้ถึง<br />

สภาพแวดล้อมของธุรกิจของ เรากับสิ่งรอบข้างที่มีผลต่อการท า ธุรกิจของเรา โดยเป็นการวิเคราะห์ในเชิง<br />

บวกที่ไม่ใช่เพียงการเอาชัยเหนือคู่แข่งแต่ ยังพูดถึงการร่วมมือกันเป็นพันธมิตร อย่างไรก็ตาม มักมีความ<br />

เข้าใจกันว่า การวิเคราะห์ธุรกิจโดยน า หลัก <strong>Five</strong> Force มาใช้นั้นควรใช้ส า หรับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีการ<br />

แข่งขันสูงส่ วนธุรกิจขนาดเล็กนั้นไม่มีความจ า เป็นต้องท า เป็นเรื่องเป็นราวขนาดนั้น หากแต่ในความเป็น<br />

จริงแล้ว ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมก็สามารถใช้ <strong>Model</strong> ธุรกิจแบบ <strong>Five</strong> Force มาใช้ได้เพื่อเสริมให้<br />

ธุรกิจของเรานั้นมีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น<br />

<strong>Five</strong> Force:<br />

1. Rivalry Among Current Competitors: การแข่งขันกันระหว่างคู่แข่งภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน<br />

2. Bargaining Power of Suppliers: อ านาจต่อรองของ Supplier<br />

3. Bargaining Power of Customers: อ านาจต่อรองของลูกค้า<br />

4. Threat of Substitute Products or Services: ภัยคุกคามจากสินค้าทดแทน<br />

5. Threat of New Entrance: ภัยคุกคามจากผู้แข่งขันหน้าใหม่


น.ส.จิตรพิสุทธิ์ แซ่หว่อง <strong>54230014</strong> กลุ่ม 2<br />

สิ่งที่ควรค านึงถึง<br />

1. ท ายังไงให้อ านาจต่อรองของ Supplier และของลูกค้าต่ าลง<br />

- อาจท าได้โดยผู้ผลิต (หมายถึงเรา ) อาจรวมกลุ่มกันขึ้นมาต่อรองราคากับ Supplier เช่น<br />

สมมติว่า ถ้าเราเป็นเจ้าของร้านคอมในพันทิพย์ เราอาจรวมตัวกัน 100 ร้าน สั่งคอมมาทีเดียว ให้<br />

Supplier ลดราคาให้เป็นพิเศษ<br />

- ส าหรับลูกค้า เราอาจรวมตัวกันทุกร้านขายราคาเดียวกันหมด ลูกค้าก็กดราคาเราไม่ได้<br />

2. ท ายังไงที่จะท า ให้ภัยคุกคามไม่เกิด เช่น ตั้งชมรมผู้ขายคอม แล้วบอกเจ้าของตึกว่า ไม่ให้รับ<br />

ร้านค้าเพิ่มแล้ว<br />

5.2 Value Chain คืออะไร<br />

ห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain <strong>Model</strong>)<br />

ตัวแบบพลังผลักดัน 5 ประการ ช่ วยธุรกิจให้สามารถก าหนดปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพการ<br />

ท าก าไร และกลยุทธ์ที่น าไปใช้ได้ แต่ไม่สามารถระบุว่า ต้องเริ่มต้นน าระบบสารสนเทศไปใช้<br />

ขั้นตอนปฏิบัติงานหรือกิจกรรมใดก่อน จึงจะสามารถปรับปรุงการด าเนินงานให้เป็ นไปตาม<br />

เป้าหมายที่วางไว้ ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องมีการใช้ตั วแบบห่วงโซ่แห่งคุณค่าควบคู่ด้วย โดยกิจกรรมใน<br />

ห่วงโซ่แห่งคุณค่า จะแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้<br />

กิจกรรมหลัก (Primary Activities) เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกา รผลิตสินค้าและบริการ<br />

โดยตรง ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 5 กิจกรรม ได้แก่<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

การน าเข้าวัตถุดิบในการผลิต (Inbound Logistics)<br />

การด าเนินการผลิตสินค้า (Operations)<br />

การน าสินค้าออกจ าหน่าย (Outbound Logistics)<br />

การตลาดและการขาย (Sales and Marketing)<br />

การบริการ (Services)<br />

กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) เป็นกิจกรรมที่ช่วยสนับสนุ นการท า งานของ<br />

กิจกรรมหลักให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย 4 กิจกรรม ได้แก่<br />

โครงสร้างพื้นฐานของกิจกรรม (การบริหารและหารจัดการ)<br />

<br />

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (การคัดสรร การว่าจ้าง การฝึกอบรม)<br />

เทคโนโลยี (การปรับปรุงสินค้า และขั้นตอนการผลิต)<br />

การจัดซื้อจัดจ้าง (การระบุรายการที่ซื้อ)


น.ส.จิตรพิสุทธิ์ แซ่หว่อง <strong>54230014</strong> กลุ่ม 2<br />

5.3 แซม วอลตัน เป็นใคร<br />

แซม วอลตัน เกิดที่คิงฟิชเชอร์ , โอกลาโฮม่า ประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 1918 ในครอบครัวที่คุณ<br />

พ่อของเขาเป็นคนธรรมดาที่ท างานมาหลายชนิดแต่ไม่ได้มีธุรกิจเป็นของตนเอง มีคุณแม่เป็นแม่บ้านที่ดีคอย<br />

เลี้ยงดูลูก 2 คน จนเติบโตคือ แซม และบัด น้องชายของเขา ในตอนนั้นครอบครัววอลตันไม่ถือว่าร่ า รวย<br />

เพียงแต่มีความเป็นอยู่แบบอเมริกาชน ธรรมดา ๆ ในเมืองเล็ก ๆ เท่านั้น<br />

ในยุคของการค้าเสรีครอบคลุมโลก ปรากฏการณ์อย่างหนึ่ง ได้แก่ การผุดขึ้นของห้างสรรพสินค้า<br />

ขนาดยักษ์ ซึ่งขายสินค้าในราคาต่ า จนท าให้ร้านค้าปลีกเล็ก ๆ สู้ไม่ได้ ต้องเลิกกิจการ เมื่อมีข่าวว่าร้านค้า<br />

ขนาดยักษ์จะไปลงที่ไหน มักจะเกิดการเคลื่อนไหวต่อต้านจากร้านค้าในท้องถิ่น ส่วนผู้บริโภคจะพอใจที่หา<br />

ซื้อของได้ในราคาถูก<br />

ในจ าพวกร้านค้าขนาดยักษ์นี้ บริษัทที่ได้รับความส า เร็จสูงสุดได้แก่ วอล-มาร์ท (Wal-Mart) จาก<br />

ร้านค้าเล็ก ๆ ในชนบทของสหรัฐ วอล-มาร์ทกลายเป็นบริษัทใหญ่ที่สุดในโลก มีพนักงานกว่า 1.2 ล้านคน<br />

และมีสาขาในหลายสิบประเทศ ความส าเร็จระดับมหัศจรรย์นี้เป็นผลงานของผู้ก่อตั้งชื่อ แซม วอลตัน (Sam<br />

Walton) ล่วงลับไปเมื่อ 11 ปีที่แล้ว


น.ส.จิตรพิสุทธิ์ แซ่หว่อง <strong>54230014</strong> กลุ่ม 2<br />

แซม วอลตันตระหนักว่า ผู้ชนะการแข่งขันคือผู้ที่มีข้อมูล และใช้มันอย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า<br />

คู่แข่งมาเป็นเวลานาน ก่อนที่จะเกิดค า ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศหรือ ไอที (Information Technology) วิธีการ<br />

หาและใช้ข่าวสารข้อมูลของเขาในตอนต้น ๆ ได้แก่การใช้เวลานาน ๆ ในร้านของคู่แข่ง<br />

มีเรื่องเล่าว่า วอลตันมักอยู่ในร้านค้าของคู่แข่งมากกว่าร้านของตน และมากกว่าเจ้าของร้านเองเสีย<br />

อีก เขาต้องการเรียนรู้ทุกอย่างเกี่ ยวกับร้านอื่น ไม่ว่าจะเป็นด้านราคา การจัดร้าน หรือการน า เสนอสินค้า สิ่ง<br />

ไหนที่เขาเห็นว่าดี เขาจะน ามาท าบ้าง การลอกแบบของเขาน าไปสู่หลักการที่ว่า "ทุกวันจะมีการปรับปรุงใน<br />

ร้านวอล-มาร์ท"<br />

ในปลายทศวรรษ 1960 แซม วอลตัน มีวอล – มาร์ตมากกว่า 12 สาขา ห้างเบ็ดเตล็ดอี ก 15 สาขา<br />

ด้วยขนาดบริษัทที่ใหญ่ขึ้นเขาจึงต้องการที่จะพัฒนาบริษัทให้แข็งแกร่งขึ้นไปอีก เขาว่าจ้างผู้มีความรู้<br />

ความสามารถมาดูแลกิจการที่ถูกแ บ่งหน้าที่มากขึ้น รวมทั้งมีการน า เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในระบบ<br />

การค้าปลีกโดยเริ่มตั้งแต่ ขั้นต้นในการสั่งซื้อสินค้าและขายมันออกไป วิธีการนี้ช่วยให้กิจการลดต้นทุนและ<br />

ความซ้ าซ้อนของงานลงอย่ างมาก และเพิ่มความรวดเร็วในการท า งานกว่าคู่แข่ง เมื่อกิจการของเขาโตมาก<br />

ขึ้นก็เริ่มมีปัญหาในการขนส่งสินค้า ทีมงานจึงคิดค้นระบบการกระจายสินค้าที่มีป ระสิทธิภาพขึ้นมาใช้ด้วย<br />

การสร้างศูนย์กระจายสินค้าของตนเองขึ้นมา รวมทั้งระบบการขนส่งที่รวดเร็วและมีต้นทุนต่ าที่สุดด้วยการมี<br />

กองรถบรรทุกเป็นของตนเอง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!