นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา 54230071 กลุ่ม 2 5.1 Five Forces Model คือ

นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา 54230071 กลุ่ม 2 5.1 Five Forces Model คือ นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา 54230071 กลุ่ม 2 5.1 Five Forces Model คือ

informatics.buu.ac.th
from informatics.buu.ac.th More from this publisher
23.06.2015 Views

นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา 54230071 กลุ ่ม 2 5.1 Five Forces Model คืออะไร Five Forces Model คือการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการแข่งขันในตลาดโดย ถูกคิดขึ ้นโดย Michael E. Porter โดยเรียกว่า ตัวแบบพลังผลักดัน 5 ประการ ประกอบด้วย 1. คู่แข่งขันหน้าใหม่ (New Entrants) ได้แก่องค์กรใหม่ๆ ที่จะเข้ามาในอุตสาหกรรมจะส่งผลกระทบต่อ สภาวะในการแข่งขันในอุตสาหกรรมอันเป็ นข้อจ ากัดที่ส าคัญต่อการด าเนินงานและการแข่งขันขององค์กรธุรกิจเดิมใน อุตสาหกรรม เนื่องจากองค์กรใหม่ที่เข้ามาย่อมต้องการส่วนแบ่งตลาด ซึ ่งเป็ นผลเสียต่อองค์กรเดิมที่มีอยู่แล้ว ยกเว้นใน กรณีที่ตลาดมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว การเข้ามาของธุรกิจใหม่ๆ ก่อให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงยิ่งขึ ้น อาจมีการลดราคา สินค้าและบริการลง 2. อ านาจต่อรองของผู้ซื ้อ (Bargaining Power of Buyers) ผู้ซื ้อจะมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรม ถ้าผู้ซื ้อมี อ านาจต่อรองหรือมีอิทธิพลต่อการก าหนดราคาของสินค้าและบริการให้ต ่า หรือมีอิทธิพลในการต่อรองให้องค์กรธุรกิจ เพิ่มคุณภาพของสินค้าและบริการให้มากขึ ้น ซึ ่งส่งผลต่อองค์กรธุรกิจในแง่ต้นทุนการด าเนินงานที่สูงขึ ้น ในขณะที่ผู้ซื ้อที่ ไม่มีความเข้มแข็งหรือไม่มีอ านาจต่อรอง ย่อมเปิ ดโอกาสให้องค์กรธุรกิจในอุตสาหกรรมสามารถขึ ้นราคาสินค้าได้ โดยง่าย 3. อ านาจต่อรองของผู้ขายปัจจัยการผลิต (Bargaining Power of Suppliers) ผู้ขายจะมีอิทธิพลต่อ อุตสาหกรรมเนื่องจากสามารถก าหนดให้สินค้ามีราคาสูงหรือต ่าได้ หรือเพิ่มหรือลดคุณภาพของสินค้าได้ ซึ ่งส่งผลต่อ ต้นทุนและก าไรขององค์กรธุรกิจ 4. ภัยคุกคามจากผลิตภัณฑ์ทดแทน (Threat of Substitute Product) ธุรกิจในอุตสาหกรรมหนึ ่งอาจจะมีการ แข่งขันกับธุรกิจที่มีลักษณะที่ทดแทนกันได้ ซึ ่งอาจเป็ นสินค้าคนละชนิดกัน แต่สามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้เหมือนกัน ท าให้เกิดข้อจ ากัดในการตั ้งราคาสินค้าไม่ให้สูงเกินไปเนื่องจากลูกค้าอาจจะหันไปใช้สินค้าที่ทดแทน กันได้ ปัจจัยในด้านการใช้สินค้าทดแทนก็จะมีผลต่ออุตสาหกรรมมากขึ ้น

นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา <strong>54230071</strong> กลุ ่ม 2<br />

<strong>5.1</strong> <strong>Five</strong> <strong>Forces</strong> <strong>Model</strong> คืออะไร<br />

<strong>Five</strong> <strong>Forces</strong> <strong>Model</strong> คือการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการแข่งขันในตลาดโดย ถูกคิดขึ ้นโดย<br />

Michael E. Porter โดยเรียกว่า ตัวแบบพลังผลักดัน 5 ประการ ประกอบด้วย<br />

1. คู่แข่งขันหน้าใหม่ (New Entrants) ได้แก่องค์กรใหม่ๆ ที่จะเข้ามาในอุตสาหกรรมจะส่งผลกระทบต่อ<br />

สภาวะในการแข่งขันในอุตสาหกรรมอันเป็ นข้อจ ากัดที่ส าคัญต่อการด าเนินงานและการแข่งขันขององค์กรธุรกิจเดิมใน<br />

อุตสาหกรรม เนื่องจากองค์กรใหม่ที่เข้ามาย่อมต้องการส่วนแบ่งตลาด ซึ ่งเป็ นผลเสียต่อองค์กรเดิมที่มีอยู่แล้ว ยกเว้นใน<br />

กรณีที่ตลาดมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว การเข้ามาของธุรกิจใหม่ๆ ก่อให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงยิ่งขึ ้น อาจมีการลดราคา<br />

สินค้าและบริการลง<br />

2. อ านาจต่อรองของผู้ซื ้อ (Bargaining Power of Buyers) ผู้ซื ้อจะมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรม ถ้าผู้ซื ้อมี<br />

อ านาจต่อรองหรือมีอิทธิพลต่อการก าหนดราคาของสินค้าและบริการให้ต ่า หรือมีอิทธิพลในการต่อรองให้องค์กรธุรกิจ<br />

เพิ่มคุณภาพของสินค้าและบริการให้มากขึ ้น ซึ ่งส่งผลต่อองค์กรธุรกิจในแง่ต้นทุนการด าเนินงานที่สูงขึ ้น ในขณะที่ผู้ซื ้อที่<br />

ไม่มีความเข้มแข็งหรือไม่มีอ านาจต่อรอง ย่อมเปิ ดโอกาสให้องค์กรธุรกิจในอุตสาหกรรมสามารถขึ ้นราคาสินค้าได้<br />

โดยง่าย<br />

3. อ านาจต่อรองของผู้ขายปัจจัยการผลิต (Bargaining Power of Suppliers) ผู้ขายจะมีอิทธิพลต่อ<br />

อุตสาหกรรมเนื่องจากสามารถก าหนดให้สินค้ามีราคาสูงหรือต ่าได้ หรือเพิ่มหรือลดคุณภาพของสินค้าได้ ซึ ่งส่งผลต่อ<br />

ต้นทุนและก าไรขององค์กรธุรกิจ<br />

4. ภัยคุกคามจากผลิตภัณฑ์ทดแทน (Threat of Substitute Product) ธุรกิจในอุตสาหกรรมหนึ ่งอาจจะมีการ<br />

แข่งขันกับธุรกิจที่มีลักษณะที่ทดแทนกันได้ ซึ ่งอาจเป็ นสินค้าคนละชนิดกัน แต่สามารถตอบสนองความต้องการของ<br />

ลูกค้าได้เหมือนกัน ท าให้เกิดข้อจ ากัดในการตั ้งราคาสินค้าไม่ให้สูงเกินไปเนื่องจากลูกค้าอาจจะหันไปใช้สินค้าที่ทดแทน<br />

กันได้ ปัจจัยในด้านการใช้สินค้าทดแทนก็จะมีผลต่ออุตสาหกรรมมากขึ ้น


นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา <strong>54230071</strong> กลุ ่ม 2<br />

5. ความรุนแรงของการแข่งขัน (Intensity of Rivalry) สภาวะการแข่งขันของระหว่างธุรกิจต่างๆ จะทวีความ<br />

รุนแรงขึ ้นเมื่อองค์กรธุรกิจหนึ ่งมองเห็นช่องทางในการได้ก าไรมากขึ ้น หรือถูกคุกคามจากการกระท าขององค์กรธุรกิจอื่น<br />

ในอุตสาหกรรมเดียวกัน เช่น การลดราคา การต่อสู้ทางด้านการตลาด การแนะน าสินค้าใหม่เข้าสู่ตลาด ถ้าสภาวะการ<br />

แข่งขันในอุตสาหกรรมไม่รุนแรง โอกาสที่องค์กรธุรกิจต่างๆ จะขึ ้นราคาสินค้าและบริการ เพื่อให้ได้มาซึ ่งก าไรที่มากขึ ้น<br />

ก็จะมีมาก<br />

5.2 Value Chain คืออะไร<br />

คือ กิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าหรือบริการโดยตรง คิดค้นโดย Michael E. Porter เป็ นตัวแบบ<br />

ที่ใช้ควบคู่ไปกับตัวแบบผลักดัน 5 ประการ โดยจะมองธุรกิจเป็ นกิจกรรมที่สร้างสรรค์คุณค่าอย่างต่อเนื่อง และสัมพันธ์<br />

กันเหมือนกับลูกโซ่ ตั ้งแต่การน าเข้าวัตถุดิบ จนกระทั่งกลายเป็ นผลิตภัณฑ์ส าเร็จรูป ซึ ่งจะเป็ นการช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับ<br />

สินค้าหรือบริการ ก่อนที่จะส่งมอบไปหาลูกค้า กิจกรรมหลักจะประกอบด้วย กิจกรรมย่อย 5 กิจกรรม ได้แก่<br />

และการแจกจ่ายวัตถุดิบ<br />

1. การน าเข้าวัตถุดิบในการผลิต (Inbound Logistics) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการได้รับ การขนส่ง การจัดเก็บ<br />

2. การด าเนินการผลิตสินค้า (Operations) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนหรือแปรรูปวัตถุดิบให้ออกมา<br />

เป็ นสินค้า เป็ นขั ้นตอนการผลิต<br />

3. การน าสินค้าออกจ าหน่าย (Outbound Logistics) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ รวบรวม จัดจ าหน่าย<br />

สินค้าและบริการไปยังลูกค้า<br />

4. การตลาดและการขาย (Sales and Marketing) กิจกรรมที่เกี่ยวกับการชักจูงให้ลูกค้าซื ้อสินค้าและบริการ<br />

หลังการขาย<br />

5. การบริการ (Services) กิจกรรมที่ครอบคลุมถึงการให้บริการเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้า รวมถึงการบริการ<br />

5.3 แซม วอลตัน เป็ นใคร<br />

Sam Walton คือ ผู้ริเริ่มธุรกิจซุเปอร์มาร์เก็ตยักษ์ใหญ่ในอเมริกา Wal-Mart ซึ ่งเป็ นเครือข่ายซุเปอร์มาร์เก็ต<br />

ใหญ่ที่สุด ในสหรัฐอเมริกาและหลายประเทศทั่วโลก ก่อตั ้งในรัฐอาร์คันซอ สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962)<br />

ปัจจุบันเป็ นบริษัทขายปลีกที่ใหญ่ที่สุดในโลก และบริษัทที่ใหญ่ที่สุดเป็ นอันดับ1ของโลก หลักการใช้ชีวิตของ Sam<br />

Walton รวบรวมได้ 10 ข้อดังนี ้<br />

1. Commitment: Commit to achieving success and always be passionate หมาถึงความมุ่งมั่นทุ่มเทอย่างแรง<br />

กล้าต่องานนั ้น คุณ Meyer (1990) บอกไว้ว่าการ commit ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ ่งประกอบด้วย 3 องค์ประกอบใหญ่คือ


ให้เราท าในชีวิต<br />

นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา <strong>54230071</strong> กลุ ่ม 2<br />

1.1 Readiness to accept คือเราเตรียมพร้อมตลอดเวลาที่จะรับงานหรือบทบาทใหม่ๆ ที่มีโอกาสได้ผ่านเข้ามา<br />

1.2 Willingness to engage หมายถึงยินดีและเต็มใจที่จะท างานเพิ่มนอกเหนือจากภาระงานประจ าตามปกติ<br />

ของเราถ้างานนั ้นท าให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรของเรา<br />

1.3 Willingness to avoid หมายถึงยินดีและเต็มใจที่จะหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัิติตัวที่จะเกิดผลเสียต่อการท างานของ<br />

เราพูด ง่ายๆ คือถ้าเรามองเห็นความส าเร็จที่เราคาดหวังเป็ นปลายทาง และตั ้งใจเดินไปด้วยก าลังขาของตัวเอง อาจต้องเดิน<br />

อ้อมบางจุดที่ทางมันวิบากหน่อย หรือมีอะไรล่อตาล่อใจให้แอบนอนพักกลางทางบ้าง แต่สุดท้ายคนที่มี commitment ก็จะ<br />

ระลึกถึงสิ่งที่ตัวเองต้องการและมุ่งมั่นเดินต่อไปค่ะ เรียกว่าเป็ นข้อแรกและข้อส าคัญที่สุดส าหรับเริ่มต้นท าอะไรซักเรื่อง<br />

เลยนะคะ ก้าวแรกเราต้อง set goal หรือตั ้งเป้ าเสียก่อน<br />

2. Sharing: Share success with those who have helped you หมายถึงเมื่อเราประสบความส าเร็จมาได้ถึงจุด<br />

หนึ ่งแล้ว เราต้องหันกลับไปเอื ้อมมือดึงคนอื่นมาให้ประสบความส าเร็จกับเราด้วย คนที่เห็นแก่ตัวมักจะลืมจุดนี ้นะ ลอง<br />

จินตนาการภาพตอนก าลังปี นเขาอยู่ก็ได้ ถ้าเราขึ ้นไปสูงกว่าเพื่อนหน่อยหนึ ่งแล้ว การหันกลับไปช่วยฉุดเพื่อนขึ ้นมาให้<br />

ประโยชน์หลายอย่าง นอกจากเพื่อนจะรักเราแล้ว หากก้าวต่อไปเราเหยียบพลาดตกเขา อย่างน้อยเพื่อนก็อาจจะช่วยฉุดเรา<br />

ขึ ้นไปบ้าง<br />

3. Motivation: Motivate yourself and others to achieve your dream ค านี ้หมายถึงสร้างแรงบันดาลใจ โดย<br />

ก่อนที่เราจะมีแรงบันดาลใจได้เราต้องมี "ความฝัน" เสียก่อน ความฝันที่ว่านี่ไม่ใช่นอนตีพุงแล้วฝัน แต่เป็ นความมุ่งมั่นใน<br />

อีกไกลพอสมควรที่เรารู้สึกอยากไปให้ถึงตรงนั ้น ต้องยอมรับว่าไม่ใช่ทุกคนที่มีแรงบันดาลใจ (โดยเฉพาะสังคมไทยซึ ่งเรา<br />

มีข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ นั่งอยู่บ้านเฉยๆ ก็ไม่มีใครว่า) ของแบบนี ้เกิดขึ ้นได้เราต้องมองเห็นตัวเองในวันที่ดีกว่านี ้<br />

เก่งกว่านี ้ มีความสุขกว่านี ้ ฯลฯ คือเห็นตัวเองในแง่บวกมากกว่าที่เป็ นอยู่ทุกวันนี ้ แล้วเรารู้สึกว่าอยากทุ่มเทเพื่อให้สิ่งนั ้น<br />

เป็ นจริง การทุ่มเทคนเดียวบางทีก็เหนื่อยเกินไปค่ ดังนั ้นเราต้องบอกให้คนรอบข้างรู้ถึงความฝันของเราด้วย และ motivate<br />

หรือสร้างแรงบันดาลใจให้คนเหล่านั ้นร่วมมือร่วมแรงเพื่อทุกคนจะสามารถเดินไป ถึงความฝันในแบบเดียวกันได้พร้อมๆ<br />

กันค่ะ สรุปว่ามี 2 องค์ประกอบ คือท าให้คนอื่นเชื่อตามความฝันของเรา และกระตุ้นให้คนเหล่านั ้นเกิดแรงบันดาลใจอยาก<br />

ท าให้ฝันนี ้เป็ นจริงนั่นเอง<br />

4. Communication: Communicate with people and show your care แปลตรงตัวคือเราต้อง "สื่อสาร" กับผู้อื่น<br />

ในที่นี ้หมายถึงเวลาคนอื่นท าอะไรแล้ว จะดีจะชั่วเราก็ต้องให้เขารู้ว่าสิ่งที่เขาท ามีคนเห็น มีคนรับรู้ และคนที่ดูก็มี<br />

ความรู้สึกต่อสิ่งที่เขาท าด้วย แต่ปัญหาคือหลายคนไม่รู้จัก "การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์" พูดง่ายๆ คือถ้าเรามีเพื่อน<br />

ร่วมงานท างานพลาด ต่อให้เราหวังดีอยากตักเตือนเขา เราก็ไม่มีศิลปะในการเตือนโดยไม่เสียเพื่อนไป บางคนเลือกที่จะ<br />

เฉย ไม่บอก ไม่สน บอกไปก็โดนด่าขาดทุนอีก หรือบางคนเลือกที่จะต่อว่าข่มขู ่เพราะเชื่อว่าคงท าให้เขาเปลี่ยนพฤติกรรม<br />

ได้ เหมือนที่พ่อแม่เคยท ากับเรา แต่เพื่อนร่วมงานไม่ใช่ลูกเรา เขาไม่จ าเป็ นต้องรับฟังเราหรอกเพราะเราก็ไม่ใช่พ่อแม่เขา


นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา <strong>54230071</strong> กลุ ่ม 2<br />

เสียหน่อย "การ สื่อสารอย่างสร้างสรรค์" จึงหมายถึงหากเขาท าดี เราต้องไม่ลืมที่จะชื่นชม หากเขาท าพลาด เราต้องเข้าไป<br />

ให้ก าลังใจและช่วยเหลือในส่วนที่เราท าได้ (อาจท าได้มากสุดแค่รับฟังซึ ่งนั่นก็มากพอแล้วค่ะ เพื่อนเราอาจจะไม่มีใครซัก<br />

คนรับฟังเขาเลยก็ได้) และแม้ตอนที่เขาไม่ได้ท าอะไรทั ้งนั ้น เราก็ต้องหาโอกาสเหมาะๆ บอกเขาบ้างว่าเรายังใส่ใจเขาอยู่<br />

5. Appreciation: Appreciate and recognize people for their effort and results อันนี ้ต่อเนื่องจากข้อข้างบน<br />

หมายถึงเราต้อง "ชื่นชมในความพยายามและผลแห่งความพยายามของผู้อื่น" คนท าดีอาจจะไม่ได้หวังรางวัลอะไรมากมาย<br />

แต่แค่ท าแล้วมีคนรู้ ท าแล้วมีคนมองเห็นความพยายาม แค่นี ้ก็เพียงพอแล้ว การท าดีแล้วไม่มีคนรับรู้หรือชื่นชมจะเกิด<br />

อะไรขึ ้น ต้องระลึกไว้อย่างนึงว่าไม่ใช่ทุกคนที่จะมีความสามารถในการแยกแยะความ ดี-ชั่วได้ด้วยตัวเอง หลายคนอยาก<br />

ท าดีแต่ไม่รู้ท ายังไงก็เลยพยายามท ามันหลายๆ แบบแล้วดูปฏิกิริยาจากคนรอบข้าง ถ้าเขาชื่นชมก็แปลว่าดี ควรท าต่อ แต่ถ้า<br />

ไม่มีใครสน ทุกคนเฉย เขาก็จะเรียนรู้ว่านี่ไม่ดี ไม่ควรท าต่อ ดังนั ้นหากเราเพิกเฉยต่อสิ่งดีๆ ที่คนอื่นท า เขาก็จะเลิกท าใน<br />

ที่สุดนั่นเอง<br />

6. Celebration: Celebrate your own and other's accomplishment หมายถึงเฉลิมฉลองและป่ าวประกาศให้คน<br />

ทั่วไป (และตัวเอง) รู้ว่าสิ่งที่เราพยายามกันมาตลอด เหน็ดเหนื่อยแทบตาย บัดนี ้บรรลุผลไปขั ้นหนึ ่งแล้ว ไม่จ าเป็ นต้อง<br />

ส าเร็จถึงความฝันแล้วจึงฉลอง เราควรฉลองเป็ นระยะๆ ไม่ถี่และไม่ห่างจนเกินไป สาเหตุที่ต้องฉลองเพราะเวลาที่เรา<br />

ท างานใดงานหนึ ่งไประยะนึงแล้ว เรามักจะหลงทางอยู่กลางมหาสมุทรที่มีแต่งาน รู้แต่ว่าต้องว่ายต่อไปทางนี ้ แต่จ าไม่ได้<br />

ด้วยซ ้าว่าว่ายมาไกลจากจุดเริ่มต้นเท่าไหร่แล้ว และอีกนานแค่ไหนถึงจะไปถึงประภาคารที่อยู่ข้างหน้าเสียที หากปล่อยให้<br />

ว่ายต่อไปเรื่อยๆ บางคนจะเริ่มท้อใจและยอมจมน ้าตาย ทฤษฎีนี ้เรียกว่า Learned helplessness theory (Seligman 1975) ใช้<br />

อธิบายว่าท าไมคนเราถึงเป็ นโรคซึมเศร้า สรุปว่าเพราะเรารู้สึกว่าชีวิตที่ผ่านมาไม่มีอะไรส าเร็จซักอย่าง และรอต่อไปก็ไม่รู้<br />

ว่าเมื่อไหร่มันจะส าเร็จ จนตายอาจจะไม่ส าเร็จก็ได้<br />

7. Listening: Listen to others and learn from their ideas คือรับฟังและเรียนรู้จากไอเดียของผู้อื่น จริงอยู่ว่า<br />

คุณ Sam Walton เป็ นคนเก่งมาก และดีไม่ดีไอเดียของเขาจะกระฉูดเด็ดดวงกว่าไอเดียของคนอื่นที่นั่งร่วมโต๊ะ ประชุมเป็ น<br />

ไหนๆ แต่ถ้าเขาไม่อยากเหนื่อยคนเดียว อยากให้คนอื่นช่วยเขาเหนื่อยบ้าง อยากให้คนอื่นได้น าเสนอสิ่งที่อาจจะเป็ น<br />

จุดอ่อนที่เขาคิดไม่ถึงโดยไม่รู้สึก เกรงหรือกลัวที่จะต้องเสนอแนวคิดต่อหน้าเจ้าพ่อวอลมาร์ทผู้เก่งกาจ เขาจ าเป็ นต้อง<br />

"ฟัง" การฟังอย่างมีประสิทธิภาพเรียกว่า "active listening" หมายถึงไม่ใช่ฟังแบบ passive คือปล่อยให้ผ่านหูไป ต้องฟัง<br />

และมีปฏิกิริยาตอบสนองด้วย เช่น ส่งเสียงหรือท่าทางบอกให้รู้ว่าเราฟังอยู่ อาจจะพยักหน้า หรือบอกว่า "อืม" "ค่ะ" "แล้ว<br />

ยังไงต่อ" หรืออาจจะสรุปความสั ้นๆ ในสิ่งที่ฟังเพื่อให้ผู้พูดรู้สึกว่าคนอื่นก็เข้าใจ เราอาจปรับสิ่งที่ฟังนิดหน่อยและ<br />

เรียงล าดับประโยคให้ดูเข้าใจงานขึ ้นก็ยัง และหากมีบางจุดที่ยังไม่เข้าใจ ก็สามารถถามเพิ่มเพื่อให้คนพูดอธิบาย<br />

รายละเอียด<br />

8. Exceed expectation: Exceed expectations of customers and others แปลว่าท าให้เกินกว่าที่ผู้อื่นคาดหวังค่ะ<br />

มีทฤษฏีว่าด้วยเรื่อง motivation หรือการสร้างแรงบันดาลใจทฤษฎีนึงที่น่าสนใจมาก ชื่อ organizational justice theory


นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา <strong>54230071</strong> กลุ ่ม 2<br />

(Folger 1989) บอกว่าพื ้นฐานของมนุษย์เราไม่รู้หรอกค่ะว่าสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ในมือ เช่น เงินเดือนที่ได้อยู่ทุกเดือน หรือ<br />

สวัสดิการที่ได้รับจากที่ท างาน มันมีค่ามากน้อยแค่ไหนเนื่องจากทุกคนรอบตัวก็ได้เหมือนๆ กันหมด พูดง่ายๆ คือไม่รู้<br />

คุณค่านั่นเอง คนเหล่านี ้จะตัดสินว่าสิ่งที่เขาได้รับมัน "แฟร์" คือยุติธรรมและเหมาะสมกับเขาไหมท าได้ 2 ทาง คือ<br />

distributive justice หมายถึงเทียบกับคนอื่นๆ ที่อยู่ในสถานะเดียวกับเราเช่นท างานต าแหน่งเดียวกัน ถ้าได้น้อยกว่าทั ้งที่<br />

ท างานเท่ากันก็แปลว่าผลตอบแทนนี ้ไม่ยุติธรรม (injustice) ส าหรับเรา อีกทางคือ procedural justice หมายถึงเทียบกับคน<br />

ต่างบริษัท ถ้าเทียบแล้วเราได้ผลตอบแทนน้อยกว่าบริษัทอื่น (แต่ในบริษัทเดียวกันได้พอๆ กัน) ก็หมายถึง distribute ดีแต่<br />

procedure ไม่ดี ผลก็คือแม้เราจะไม่พอใจกับรายได้ของเรานักเพราะได้น้อยกว่าบริษัทอื่น แต่เราก็มี commitment คือยังคง<br />

เต็มใจท างานที่นี่ เพราะอย่างน้อยก็ยังแฟร์กับทุกคนในบริษัท<br />

สรุปว่าจากทฤษฎีนี ้ ความคาดหวัง (expectation) ของคนเราเกิดจาก "การเปรียบเทียบ" ผลของการ<br />

เปรียบเทียบก็ออกมาได้ 3 ทางใหญ่ๆ คือ เป็ นอย่างที่คาดไว้ (คือเทียบแล้วเราก็พอๆ กับคนอื่นหรือพอๆ กับที่คิดเอาไว้<br />

แล้ว), น้อยกว่าที่คาดหวัง (เทียบแล้วเราได้น้อยกว่าแม้ที่จริงอาจจะเยอะกว่าบริษัทอื่นก็ตาม), และมากกว่าที่คาดหวังไว้<br />

(เทียบแล้วเยอะกว่าที่คิด แม้ความจริงจะไม่ได้เยอะมากเมื่อเทียบกับที่อื่นก็ตาม ผู้น า (leader) ที่ดีต้องจัดระดับความ<br />

คาดหวังให้พอเหมาะ ถ้าตั ้งไว้ต ่ามากเพื่อให้ได้ผลตอบแทนนิดเดียวก็ดีใจ คนท าอาจจะท้อ แต่ถ้าตั ้งความคาดหวังไว้สูง<br />

เมื่อได้รับผลตามคาด แทนที่จะดีใจอาจกลายเป็ นเฉยๆ เพราะเทียบกับความตั ้งใจเดิมมันก็ไม่ต่างจากที่คิดเท่าไหร่<br />

9. Frugality: Control expenses and save your way to prosperity หมายถึงรู้จักประหยัดมัธยัสถ์ ค านี ้มี 2<br />

องค์ประกอบใหญ่คือต้อง "ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด" กับ "เก็บออมไว้ยามฉุกเฉิน" การเก็บเงินไม่ใช่ได้มาเท่าไหร่แล้ว<br />

ต้องเก็บให้มากที่สุด ใช้ให้น้อยที่สุด นั่นอาจเข้าข่ายใช้เงินไม่เป็ น หากเป็ นคนที่รู้จักวิธีลงทุนก็อาจจะท าเงินไปลงทุนเพื่อ<br />

ต่อยอดให้มันงอกเงย มากขึ ้น แต่ใช่ว่าทุกคนจะลงทุนเป็ น ยิ่งคนที่ท างานบริษัท มีหน้าที่รับค าสั่งเจ้านายแล้วก็ท าตาม สิ้น<br />

เดือนทีก็รับเงินเดือนที คนพวกนี ้จะลงทุนไม่เป็ นเพราะไม่รู้ว่าท ายังไงเงินจะงอกขึ ้นมาได้นอกจากรอ รับเงินเดือน ดังนั ้น<br />

เขาจึงต้องเก็บหอมรอมริบได้ได้เยอะๆ ใช้ให้น้อยหน่อยเพื่อให้มีเงินเก็บไว้ส าหรับใช้จ่ายในเหตุการณ์คาดไม่ถึงใน<br />

อนาคต<br />

10. Swim upstream: Swim upstream, be different, and challenge the status quo ข้อสุดท้ายคือเราต้องเป็ น<br />

ปลาที่ว่ายทวนน ้า หมายถึงต้องท้าทายสถานะในปัจจุบันของเรา คิดไว้เสมอว่าเราท าได้ดีกว่านี ้ เราไม่จ าเป็ นต้องเหมือน<br />

ใคร ไม่จ าเป็ นต้องไหลไปตามกระแสเหมือนคนอื่น เราต้องว่ายทวนกระแสขึ ้นไปให้ถึงต้นน ้าค่ะ และเมื่อนั ้นเราก็จะ<br />

ควบคุมกระแสน ้าได้ตลอดทั ้งสาย กลายเป็ นคนอื่นที่ต้องว่ายตามกระแสของเราในที่สุด เราเริ่มต้นด้วยการตั ้งเป้ าหมาย คิด<br />

ท า และน าไปใช้ สุดท้ายก็จบตรงที่เราเรียนรู้ภูมิปัญญาทุกอย่างในงานที่เราท าแล้ว เราก็เลือกที่จะ "แตกต่าง" และสร้าง<br />

วัฒนธรรมใหม่ของตัวเองขึ ้นมา นี่คือคุณสมบัติของคนที่สามารถเรียนปริญญาเอกและมี "ดอกเตอร์" น าหน้าชื่อได้นั่นเอง<br />

คือมีสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ขึ ้นมาประดับโลกนี ้ได้ อย่าคิดว่าความรู้รอบตัวเรามันเกิดขึ ้นมาเองตามธรรมชาติและเรา


นางสาววรัญญา จ านงค์อาษา <strong>54230071</strong> กลุ ่ม 2<br />

ไปเด็ดเอาได้ ฟรีๆ เหมือนเด็ดผลไม้จากต้น ทุกอย่างล้วนเกิดจากความพยายามและแนวคิด สรุปได้ว่าเราไปถึงต้นน ้าและ<br />

เป็ นผู้สร้างกระแสน ้าของ ตัวเองขึ ้นมาอย่างแท้จริง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!