28.04.2015 Views

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

♦ พิจารณาให้ยาแก้ปวดในกลุ ่ม coanalgesics ร่วมด้วย เพื ่อทำให้สามารถลดขนาดของ<br />

ยา opioids ลงได้<br />

♦ พิจารณาใช้ยาต้านอาการคลื ่นไส้อาเจียนในกลุ ่ม 5-HT3 antagonist เช่น ondansetron<br />

8 มิลลกรัม วันละ 3 ครั ้ง หรือ granisetron 2 มิลลิกรัม วันละครั ้ง โดยการรับประทาน<br />

4. ถ้าอาการคลื่นไส้ยังคงอยู่แม้ว่าจะเปลี่ยนชนิดของ opioids หรือได้ปฏิบัติตามที่กล่าวมา<br />

ข้างต้น ให้ประเมินสาเหตุและความรุนแรงของอาการคลื่นไส้อีกครั้ง อาจพิจารณาให้ opioids ทาง<br />

intrathecal หรือ epidural route<br />

4. Delirium เมื ่อได้รับยา opioids ไปนานๆ ผู ้ป่วยอาจมี cognitive failure คือมีอาการ มึนงง<br />

สับสน ความจำเสื ่อม สมองไม่แจ่มใส สติปัญญาถดถอย เชื ่องช้า เพ้อ ฝันเฟื ่อง ฯลฯ<br />

การรักษา ได้แก่<br />

1. ประเมินหาสาเหตุอื ่นของ delirium เช่น ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง, CNS metastases,<br />

ยาทางจิตประสาทชนิดอื ่นที ่ให้ร่วม โดยเฉพาะยาที ่มีฤทธิ ์ anticholinergic effects<br />

2. เปลี ่ยนชนิดของ opioids<br />

3. ให้ยาแก้ปวดชนิด coanalgesics ร่วมด้วย เพื ่อลดขนาดยา opioids ลง<br />

4. ให้ haloperidol โดยการรับประทาน 0.5-2 มิลลิกรัม ทุก 4-6 ชั ่วโมง หรืออาจพิจารณา<br />

ให้ยา neuroleptic drugs ตัวอื่นๆ ก็ได้ แต่ควรระวังอาการข้างเคียง extrapyramidal side effects<br />

จากการใช้ยาในกลุ่มนี้<br />

5. จัดการสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยให้ปราศจากอันตราย แก้สาเหตุ และอาจให้ยา sedatives<br />

หรือ tranquilizers<br />

5. Myoclonus มักเกิดในผู้ป่วยที่ได้รับ opioids มาเป็นเวลานานพอสมควร และมักพบว่าจะ<br />

เกิดกับการใช้ morphine ชนิดรับประทานมากกว่าชนิดฉีด จึงคาดว่า myoclonus อาจเกิดจากผลของ<br />

morphine metabolite ที ่อาจมีปริมาณสูงจนทำให้เกิด myoclonus ขึ ้นได้ ยาที ่ใช้ลดอาการ myoclonus<br />

ได้แก่ baclofen, diazepam, clonazepam, midazolam และ sodium valproate ในกรณีที่มีอาการ<br />

รุนแรงมาก ควรเปลี ่ยนยา opioids<br />

6. อาการข้างเคียงที ่พบได้ไม่บ่อย ได้แก่ คัน กดการหายใจ<br />

การใช้ NSAIDs และ paracetamol<br />

การใช้ NSAIDs และ paracetamol ให้เลือกใช้ยา NSAIDs ตัวใดก็ได้ที ่ผู ้ป่วยเคยใช้แล้วได้ผล<br />

และสามารถทนต่ออาการข้างเคียงได้ หากผู ้ป่วยไม่เคยได้รับยาในกลุ ่มนี ้มาก่อน ให้พิจารณาเลือกใช้ยา<br />

NSAIDs ตัวใดก็ได้ (ได้ทั้งชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือชนิดรับประทาน) ในขนาดที่ให้ฤทธิ์แก้ปวด<br />

เท่ากับ ibuprofen ในขนาดยาสูงสุด<br />

24<br />

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาความปวดจากมะเร็ง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!