28.04.2015 Views

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ตารางที ่ 1 ลักษณะที ่แตกต่างกันของ Nociceptive และ Neuropathic pain<br />

Nociceptive pain (somatic and visceral)<br />

♦ constant and well localized<br />

♦ vague in distribution and quality<br />

♦ aching, throbbing, gnawing,<br />

deep dull aching, dragging, squeezing,<br />

pressure - like<br />

Neuropathic pain<br />

♦ may be constant, steady, and<br />

spontaneously maintained, intermittent<br />

♦ shock-like, shooting, lancinating,<br />

electrical, burning, tingling, numbing,<br />

pressing, squeezing, itching, dysesthesia*,<br />

hyperalgesia**, allodynia***,<br />

hyperesthesia****, hyperpathia*****<br />

* Dysesthesia หมายถึง ความรู ้สึกผิดปกติและไม่สบายในส่วนที ่เป็น<br />

** Hyperalgesia หมายถึง ปวดมากกว่าปกติเมื ่อได้รับสิ ่งกระตุ ้นที ่ปกติทำให้เกิดความปวด<br />

*** Allodynia หมายถึง ปวดเมื ่อได้รับสิ ่งกระตุ ้นที ่ปกติไม่ทำให้เกิดความปวด<br />

**** Hyperesthesia หมายถึง รู ้สึกไวต่อการกระตุ ้นมากกว่าปกติ<br />

***** Hyperpathia หมายถึง ปวดมากผิดปกติเมื ่อเพิ ่มตัวกระตุ ้นที ่ทำให้ปวด<br />

1.1.4 ประวัติอื่นๆ เกี่ยวกับความปวด ระยะเวลาที่เริ่มปวด ปวดมานานแค่ไหน<br />

ความถี่ห่างของความปวด รูปแบบของความปวด เช่น ปวดต่อเนื่องตลอดเวลา หรือปวดเป็นพักๆ<br />

การดำเนินโรคของความปวด เช่น คงที่หรือปวดมากขึ้นเรื่อยๆ ปัจจัยที่มีผลต่อความปวดทั้งส่งเสริม<br />

และบรรเทา และอาการอื ่นๆ ที ่พบร่วมกับความปวด เช่น อาการชา กล้ามเนื ้ออ่อนแรงหรือลีบ เป็นต้น<br />

นอกจากนี ้ระยะเวลาที ่ผู ้ป่วยปวดมีความสำคัญในการปรับช่วงเวลาการรักษา ควรประเมินว่าความปวดนั ้น<br />

ต่อเนื่องหรือเป็นพักๆ หรือปวดเพิ่มขึ้นมาอีกแม้ว่าได้รับยาแก้ปวดคงที่แล้ว เรียกความปวดชนิดนี้ว่า<br />

breakthrough pain ส่วนความปวดที่เกิดจากมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเพิ่มจากปกติ เช่น การทำแผล<br />

การทำกายภาพบำบัด การย้ายเตียง เรียกความปวดชนิดนี ้ว่า incident pain ทั ้ง breakthrough pain<br />

และ incident pain ต้องระงับด้วยการเสริมยาแก้ปวดที ่ออกฤทธิ ์เร็ว และให้ผู ้ป่วยได้เมื ่อต้องการ (prn)<br />

1.1.5 ประวัติที่จะชี้นำสาเหตุของความปวด<br />

♦ จากมะเร็งโดยตรง<br />

♦ จากวิธีการหรือหัตถการที่ใช้รักษามะเร็ง<br />

♦ จากสาเหตุอื่นร่วมด้วยหรือสาเหตุที่ไม่เกี่ยวกับมะเร็ง<br />

1.2 ประวัติการรักษาที่ได้รับอยู่<br />

1.2.1 ยาที ่ผู ้ป่วยได้รับทุกชนิด ทั ้งที ่แพทย์สั ่งและซื ้อเอง หรือการรักษาที ่เป็นทางเลือก<br />

1.2.2 ยารักษามะเร็ง<br />

1.2.3 การรักษาโรคอื ่นๆ ที ่สำคัญ และเกี ่ยวข้อง<br />

1.2.4 การตอบสนองต่อการรักษา ทั ้งที ่ได้ผลดี มีอาการแทรกซ้อนหรืออาการแพ้<br />

8<br />

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาความปวดจากมะเร็ง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!