28.04.2015 Views

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

้<br />

การประเมินความปวด (Pain Assessment)<br />

ความปวดในผู ้ป่วยมะเร็งมีปัจจัยหลายอย่างมาเกี ่ยวข้อง ทั ้งจากภายในและภายนอกร่างกาย ดังนั ้น<br />

ควรประเมินผู้ป่วยในทุกๆ มิติของความปวด ทั้งด้านการรับรู้ (sensory domain) อารมณ์ (affective<br />

domain) ความเข้าใจและการแปลความหมาย (cognitive - evaluative domain) ในเบื้องต้นนี้<br />

จะกล่าวถึงการประเมินด้านการรับรู้เป็นหลัก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบสาเหตุ ลักษณะ<br />

และระดับความรุนแรงของความปวด ในการประเมินมีข้อพิจารณาในการซักประวัติ การตรวจร่างกาย<br />

และการตรวจทางห้องปฏิบัติการและภาพถ่ายรังสี ดังต่อไปนี ้<br />

1. ประวัติ<br />

1.1 ความปวด<br />

1.1.1 ระดับความรุนแรง การประเมินส่วนใหญ่เป็นนามธรรม ต้องอาศัยผู้ป่วยบอก<br />

และผู้ประเมินต้องเชื่อ การประเมินระดับความรุนแรงของความปวดมีประโยชน์ในการดูแนวโน้มของ<br />

ผลการรักษา การประเมินทำได้หลายวิธี ดังนี<br />

♦ Numerical rating scale (NRS) หรือ Verbal rating scale (VRS)<br />

ให้ผู ้ป่วยตอบคำถาม “คุณมีความปวดมากขนาดไหน ?” จาก 0 คือไม่ปวดเลย ถึง 10 คือปวดมากที ่สุด<br />

ที ่คิดได้ หรือเขียนตัวเลข “ให้วงกลมตัวเลขที ่บอกถึงระดับความปวดของคุณ”<br />

0<br />

ไม่ปวด<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10<br />

ปวดมากที่สุดที่คิดได้<br />

♦ Visual analog scale (VAS) ให้ผู ้ป่วยกากบาทบนเส้นตรงที ่ยาว 10 ซ.ม.<br />

เพื่อบอกถึงระดับความปวด การวัดระดับความปวดของผู้ป่วยให้วัดระยะจากจุดเริ่มต้นที่ไม่ปวดถึง<br />

เครื่องหมายกากบาทเป็นเซนติเมตร<br />

ไม่ปวด<br />

ปวดมากที่สุดที่คิดได้<br />

♦ Categorical scale หรือ Verbal descriptive scale ให้ผู ้ป่วยอธิบายเป็นคำ<br />

“คุณมีความปวดมากขนาดไหน ?”<br />

ไม่ปวดเลย ปวดเล็กน้อย ปวดปานกลาง ปวดมาก<br />

0 1-3 4-6 7-10<br />

6<br />

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาความปวดจากมะเร็ง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!