28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การศึกษาปัจจัยเสี่ยงด้านสรีรวิทยาและดัชนีมวลกายในกลุ ่มผู ้ที่<br />

มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับที่เข้ารับการตรวจรักษาใน<br />

แผนกโสต ศอ นาสิก<br />

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

( Body Measurements and Body Mass Index<br />

: A predictive factor of Obstructive Sleep Apnea in<br />

Department of Ear Nose Throat in<br />

Phramongkutklao Hospital )<br />

โดย<br />

แพทย์หญิง กฤษณา ไทยทอง<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา<br />

พ.อ.ประสิทธิ ์ มหากิจ<br />

กอง โสต ศอ นาสิกกรรม<br />

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

ปี การศึกษา 2549-2551


ก<br />

คํารับรองจากสถาบันฝึ กอบรม<br />

ข้าพเจ้าขอรับรองว่ารายงานฉบับนี ้เป็นผลงานของ พญ. กฤษณา ไทยทอง ที ่ได้ทําการวิจัย<br />

ขณะรับการฝึกอบรม ตามหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้าน สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา โรงพยาบาล<br />

พระมงกุฎเกล้า ระหว่างปี พ.ศ. 2549-2551 จริง<br />

พันเอก อาจารย์ที ่ปรึกษาหลัก<br />

( ประสิทธิ์ มหากิจ )<br />

พันเอก<br />

ผู้อํานวยการ กองโสต ศอ นาสิกกรรม<br />

( สุรศักดิ์ พุทธานุภาพ ) โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า


ข<br />

บทคัดย่อ<br />

ชื่อเรื่อง : การศึกษาปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีรวิทยาและดัชนีมวลกายในกลุ่มผู้ที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับที ่เข้ารับการตรวจรักษาในแผนกโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

ผู้ดําเนินการวิจัย : พญ. กฤษณา ไทยทอง<br />

อาจารย์ที่ปรึกษา : พ.อ.ประสิทธิ์ มหากิจ<br />

บทนํา : ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นภาวะที ่มีอันตราย หากเป็นขั้นรุนแรงอาจถึงเสียชีวิต<br />

การศึกษาที ่ผ่านมาพบว่ามีหลายปัจจัยเสี ่ยงที ่มีผลต่อภาวะดังกล่าวได้แก่ เพศ อายุ นํ ้าหนักตัวโรคทาง<br />

อายุรกรรมและ การสะสมของไขมันตามร่างกายส่วนต่างๆ เป็นต้น การวินิจฉัยภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับทําได้โดยการทดสอบการนอนด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับ<br />

วัตถุประสงค์ของการวิจัย : ศึกษาปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีระ คือ การสะสมของไขมันตามส่วนต่าง ๆ<br />

ของร่างกายที ่ได้จากการวัดขนาดร่างกายและค่าดัชนีมวลกายในกลุ่มผู้ป่วยที ่เข้ารับการตรวจรักษาใน<br />

คลินิกพิเศษนอนกรนแผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื ่อดูว่าปัจจัยเสี ่ยงใดเป็นปัจจัย<br />

เสี ่ยงที ่สําคัญที ่จะบอกได้ว่าผู้ป่วยน่าจะมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับและการพยากรณ์ความรุนแรง<br />

ของโรค<br />

รูปแบบการวิจัย : Retrospective Cross - sectional Study<br />

วิธีการดําเนินวิจัย : ผู้ป่วยที ่เข้ามาทําการตรวจวินิจฉัยรักษาที ่คลินิกพิเศษนอนกรนในแผนก<br />

โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยมีอาการและอาการแสดงซึ ่งอาจสงสัยได้ว่าเป็นผู้ที ่มีภาวะ<br />

หยุดหายใจขณะนอนหลับ จะได้รับการทดสอบการนอนหลับเพื ่อประเมินภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ<br />

โดยจัดกลุ่มตามระดับความรุนแรงเป็น 4 กลุ่มกลุ่มละ 19 คน คือ กลุ่มที ่1 AHI 0-4.9 ต่อชั่วโมง ถือเป็น<br />

ภาวะปกติ, กลุ่มที ่2 AHI 5-14.9 ต่อชั่วโมง ถือเป็นภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับเล็กน้อย,กลุ่มที ่3<br />

AHI 15-29.9 ต่อชั่วโมง ถือเป็นภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับปานกลาง และกลุ่มที ่4 AHI มากกว่า<br />

30 ต่อชั่วโมง ถือเป็นภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับรุนแรง โดยได้มีการเก็บข้อมูลปัจจัยด้านสรีระ<br />

และนํ ้าหนักตัวของผู้ป่วยแต่ละกลุ่ม 6 หัวข้อ ได้แก่ ดัชนีมวลกายหรือนํ ้าหนักตัวเทียบกับส่วนสูง ( Body<br />

Mass Index : BMI ) ,รอบคอ ( Neck Circumference : NC ) , รอบอก ( Chest Circumference : CC ) ,<br />

รอบเอวต่อรอบสะโพก ( Waist/Hip ratio ), อายุ ( Age ) และแต้มจากแบบประเมินการง่วงนอน ( ESS :<br />

Epworth Sleepiness Scale ) จากนั้นนําข้อมูลที ่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติเพื ่อดูความสัมพันธ์ระหว่างค่า<br />

ต่างๆกับภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับและหาแนวโน้มการทํานายความรุนแรงจากการเปลี ่ยนแปลงของ<br />

ค่าเหล่านั้นโดยใช้วิธี Ordinal Logistic Regression<br />

ผลการวิจัย :ค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย( BMI ) รอบคอ ( NC ) และรอบอก (CC ) ของแต่ละกลุ่ม<br />

มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ และรอบอก (CC )ที่เพิ่มขึ้นทุก 1 เซนติเมตรจะเพิ่มความ<br />

เสี ่ยงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ 1.65 เท่า และเมื ่อนําค่าคงที ่มาสร้างสมการการพยากรณ์พบว่ามี<br />

ความจําเพาะสูงถึง 78.9-89%


ค<br />

สรุปผลการวิจัย : การวัดขนาดร่างกายและหาค่าดัชนีมวลกาย เป็นวิธีที ่ง่ายและราคาถูก สมควร<br />

นํามาใช้ประเมินก่อนการทดสอบการนอนหลับ<br />

คําสําคัญ : ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ ,ปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีรวิทยา,ดัชนีมวลกาย,แบบ<br />

ประเมินการง่วงนอน, เครื ่องทดสอบการนอนหลับ


ง<br />

Abstracts<br />

Title : Body Measurements and Body Mass Index : A predictive factor of Obstructive Sleep<br />

Apnea in Department of Ear Nose Throat in Phramongkutklao Hospital<br />

Name of researchers : Krisana Thaitong,MD<br />

Name of consultant : Prasit Mahakit,MD<br />

Introduction : Obstructive sleep apnea syndrome (OSAS) is a disorder which leads to serious<br />

complication. Age, sex, illness and demographic factors such as body mass index (BMI) and<br />

body fat composition have been found to be important determinants of the AHI. The diagnosis of<br />

OSA can be established by polysomnography.<br />

Objective : To evaluate relationship between body measurements parameters (such as body<br />

mass index (BMI) and body fat composition) and AHI , for predicting the presence and severity of<br />

obstructive sleep apnea syndrome (OSAS).<br />

Study Design : Retrospective Cross - sectional Study was designed.<br />

Materials and Methods : Cross - sectional survey of the patients in snoring clinic,<br />

Phramongkutklao Hospital. Seventy six patients (54 male, 22 female) who underwent<br />

polysomnography between November 2006 and June 2008 were 18-80 years of age. Exclusion<br />

criteria included those patients with severe medical illness. Depend on AHI, all patients were<br />

classified in 4 groups: 1. AHI 0-4.9 / hr , 2. AHI 5-14.9 / hr , 3. AHI 15-29.9 / hr and 4. AHI >30 /<br />

hr. The Body mass index (BMI) , the Epworth Sleepiness Scale ( ESS ),and the Body<br />

measurements parameters such as Neck Circumference ( NC ),Chest Circumference (CC ) and<br />

Waist/Hip ratio were evaluated.<br />

Statistic method : A Ordinal Logistic Regression was used to determine adjusted odd ratio for<br />

risk factor for obstructive sleep apnea syndrome (OSAS).<br />

Result : BMI and the Body measurements parameters such as Neck Circumference ( NC ) and<br />

Chest Circumference (CC ) were found to be significantly correlated with AHI . By combining of a<br />

Ordinal Logistic Regression method ,only chest circumference (CC ) were achieved for severity<br />

of OSAHS.<br />

Conclusion : It was concluded that the BMI and the Body measurements parameters could be<br />

an inexpensive and practical alternative to prePSG tests by high specificity and should be<br />

included in the evaluation of OSAHS patients.<br />

Keywords: Obstructive sleep apnea syndrome (OSAS), Body Measurements and Body Mass<br />

Index, Epworth Sleepiness Scale ( ESS ), Polysomnogram.


จ<br />

กิตติกรรมประกาศ ( Acknowledgement)<br />

ขอขอบคุณ<br />

อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย<br />

พ.อ. ประสิทธิ์ มหากิจ<br />

ผู ้ช่วยนักวิจัย (วิเคราะห์สถิติ)<br />

คุณสุภัค แซ่โง้ว


สารบัญ<br />

หน้า<br />

คํารับรอง<br />

ก<br />

บทคัดย่อภาษาไทย<br />

ข<br />

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

ง<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

จ<br />

สารบัญเรื่อง ฉ<br />

สารบัญแผนภูมิและตาราง<br />

ช<br />

บทที่ 1 หลักการและเหตุผล 1<br />

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 6<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา 10<br />

บทที่ 4 ผลการศึกษา 14<br />

บทที่ 5 การอภิปรายผล 21<br />

บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา 24<br />

เอกสารอ้างอิง 25<br />

ภาคผนวก 26<br />

ก. ใบยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย 26<br />

ข. แบบประเมินการง่วงนอน 29<br />

ช. เอกสารการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย 31<br />


สารบัญแผนภูมิและตาราง<br />

หน้ า<br />

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี ่ยอายุ(Age) ดัชนีมวลกาย (BMI) รอบคอ (NC) รอบอก (CC) 15<br />

รอบเอวต่อสะโพก( W/H ratio) และแต้มจากการประเมินการง่วงนอน (ESS)<br />

ตารางที่ 2 แสดง Ordinal logistic regression เพื ่อหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับ 16<br />

ความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ กับปัจจัยที ่เกี ่ยวข้อง<br />

ตารางที่ 3 แสดงความถูกต้องของการพยากรณ์ระดับความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจ 17<br />

รูปที่ 1 กราฟแท่งแสดงอายุ(Age)ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา 18<br />

รูปที่ 2 กราฟแท่งแสดงค่าดัชนีมวลกาย(BMI)ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา 18<br />

รูปที่ 3 กราฟแท่งแสดงค่ารอบอก (CC) ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา 19<br />

รูปที่ 4 กราฟแท่งแสดงแต้มจากแบบประเมินการง่วงนอน (ESS) ของประชากร 19<br />

ในแต่ละกลุ่มศึกษา<br />

รูปที่ 5 กราฟแท่งแสดงค่ารอบเอวต่อสะโพก (W/H ratio) ของประชากรในแต่ละ 20<br />

กลุ่มศึกษา<br />

รูปที่ 6 กราฟแท่งแสดงค่ารอบคอ (NC) ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา 20<br />


้<br />

1<br />

บทที่ 1 หลักการและเหตุผล<br />

1. ที่มาและความสําคัญของปัญหาที่ทําการวิจัย<br />

โรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทตามสาเหตุของการเกิด<br />

อาการ ได้แก่ ประเภทปิดกั้น (Obstructive Apnea) เกิดจากการปิดกั้นในช่องทางเดินหายใจ พบได้<br />

บ่อยที ่สุดในผู้ป่วยโรคหยุดหายใจขณะนอนหลับ ประเภทประสาทส่วนกลาง (Central Apnea) เกิด<br />

จากการที ่สมองไม่สามารถสั่งการให้กล้ามเนื ้อระบบ หายใจทํางาน และประเภทผสม (Mixed<br />

Apnea) เกิดจากทั้งความผิดปกติจากการสั่งการของสมอง และการปิดกั้นในช่องทางเดินหายใจ<br />

ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ(OSA : Obstructive Sleep Apnea) คืออาการผิดปกติ<br />

ของร่างกายที ่ผู้ป่วยจะมีอาการหยุดหายใจขณะนอนหลับ โดยเกิดจากการที ่ช่องทางเดินหายใจ<br />

ถูกปิดกั้นโดยสิ ้นเชิงจนกระทั่งทําให้เกิดอาการหยุดหายใจเป็นช่วงๆขณะนอนหลับถือเป็นความ<br />

ผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (SDB : Sleep-Disorder Breathing) ที่พบได้บ่อย<br />

จากการศึกษาในต่างประเทศพบว่าอาการนอนกรน ( Snoring ) ซึ ่งเป็นความผิดปกติ<br />

ของการหายใจขณะนอนหลับที ่พบได้บ่อยกว่านั้นมีความสัมพันธ์โดยตรงกับภาวะหยุดหายใจ<br />

ขณะนอนหลับ<br />

หนังสือมาตรฐานที ่ใช้อ้างอิงความรู้ด้าน โสต ศอ นาสิกในต่างประเทศ (Cummings<br />

Otolaryngology Head & Neck Surgery ) ได้มีการจําแนกความผิดปกติของการนอนหลับชนิด<br />

ปฐมภูมิ( Primary sleep disorders) ไว้ดังนี้<br />

1. Dyssomnias เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที ่ทําให้ต้องการการนอนที ่มากขึ ้น<br />

ทดแทน แบ่งสาเหตุการเกิดเป็นสาเหตุภายในและสาเหตุภายนอก สาเหตุภายในนั้น บ่อยครั้ง<br />

ที ่เกิดจากความผิดปกติทางระบบโสต ศอ นาสิก ได้แก่ ภาวะที ่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจมาก<br />

จนมีการหยุดหายใจหรือมีการลดลงของลมหายใจที ่เข้าสู่ปอดขณะนอนหลับ (Obstructive<br />

Sleep Apnea Syndrome : OSAS) จําเป็นต้องให้โสต ศอ นาสิกแพทย์เป็นผู้ประเมิน<br />

2. Parasomniasเป็นความผิดปกติของการนอนหลับที ่ไม่ต้องการการนอนที ่มากขึ ้น<br />

ทดแทนความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (SDB : Sleep-Disorder Dreathing) ที่มี<br />

ความสัมพันธ์กับการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบนหมายรวมถึงภาวะดังนี<br />

1. Primary Snoring เป็นภาวะที ่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ ทําให้มีอาการ<br />

นอนกรน แต่ไม่มีอาการง่วงในเวลากลางวัน เมื ่อทดสอบการนอนหลับ ( Polysomnography :<br />

PGS ) พบว่าจํานวนครั้งของการหยุดหายใจและการหายใจน้อยลงใน 1 ชั่วโมง( AHI ) น้อย<br />

กว่า 5 ครั้งในผู้ใหญ่หรือน้อยกว่า 1 ครั้งในเด็ก<br />

2. Upper Airway Resistance Syndrome: UARS เป็นภาวะที ่มีการอุดกั้น<br />

ทางเดินหายใจ ทําให้มีอาการนอนกรน และมีอาการง่วงในเวลากลางวันมากกว่าปกติเมื ่อ<br />

ทดสอบการนอนหลับ ( Polysomnography : PGS ) พบว่าจํานวนครั้งของการหยุดหายใจและ


่<br />

่<br />

2<br />

การหายใจน้อยลงใน 1 ชั่วโมง( AHI ) น้อยกว่า 5 ครั้งในผู้ใหญ่หรือน้อยกว่า 1 ครั้งในเด็กซึ ่งไม่<br />

แตกต่างกับอาการนอนกรนธรรมดา<br />

อย่างไรก็ตามพบว่ามีการเพิ่มขึ ้นของค่า RERA ( Respiratory Effort-Related Arousal )<br />

คือจํานวนครั้งของภาวะที ่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะนอนหลับเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 10<br />

วินาทีแล้วมีการสะดุ้งตื ่นโดยไม่มีลักษณะการหยุดหายใจ ( Apnea )และการหายใจน้อยลง<br />

( Hypopnea )<br />

3. Obstructive Sleep Apnea Syndrome : OSAS คือ ภาวะที ่มีการอุดกั้นทางเดิน<br />

หายใจมากจนมีการหยุดหายใจหรือมีการลดลงของลมหายใจที ่เข้าสู่ปอดขณะนอนหลับและ<br />

ส่งผลเสียต่อร่างกายในหลายด้าน จัดเป็นกลุ่มอาการหรือภาวะที ่มีอันตราย คือ ทําให้<br />

ประสิทธิภาพการทํางานของสมองลดลง ประสิทธิภาพในการคิด จดจํา สื ่อสาร การเรียนรู้ด้อย<br />

ลง เสี ่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆโดยเฉพาะโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด และถ้ามีการหยุด<br />

หายใจอยู่ในขั้นรุนแรงอาจถึงเสียชีวิต รวมทั้งเสี ่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย<br />

ดังนั้นจึงมีการศึกษาวิจัยต่างๆ เกิดขึ ้นมากมายเพื ่อเข้าใจถึงพยาธิกําเนิดรวมถึงปัจจัย<br />

เสี ่ยงที ่มีผลต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับเพื ่อหาทางป้องกันและเฝ้าระวังก่อนที ่โรคจะ<br />

รุนแรงและยากต่อการรักษาเยียวยา<br />

ปัจจัยเสี ่ยงที ่มีผลต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ มีการศึกษามาแล้วมากมายโดยเฉพาะใน<br />

ต่างประเทศ ปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวที่เป็นที่ยอมรับได้แก่ เพศ ( Sex ) อายุ( Age ) นํ้าหนักตัว( BW )<br />

ดัชนีมวลกาย ( BMI ) รอบเอว ( Waist Circumference) รอบสะโพก ( Hip Circumference) รอบคอ<br />

( Neck Circumference) โคเลสเตอรอลในกระแสเลือด ปริมาณการดื ่มแอลกอฮอล์ ขนาดของ<br />

ทางเดินหายใจ และอีกหลายปัจจัยที ่มีผู้พยายามทําการศึกษา<br />

ผู้ป่วยที ่มีความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (SDB : Sleep-Disorder Breathing)<br />

รวมถึงมีการอุดกั้นทางเดินหายใจมากจนมีการหยุดหายใจหรือมีการลดลงของลมหายใจที ่เข้าสู่ปอด<br />

ขณะนอนหลับ ( Obstructive Sleep Apnea Syndrome : OSAS ) มักจะมาพบแพทย์ด้วยอาการ<br />

นอนกรนเสียงดัง มีการสะดุ้งตื ่นเวลากลางคืน หลังจากตื ่นขึ ้นมาตอนเช้าพบว่าผู้ป่วยไม่รู้สึกแจ่มใส<br />

คล้ายกับไม่ได้พักผ่อน ในตอนกลางวันมักจะมีอาการง่วงนอนผิดปกติ อย่างไรก็ตามอาการต่าง ๆ<br />

ดังกล่าวก็ไม่สามารถบอกได้เป็นที ่แน่นอนว่าผู้ป่วยมีการอุดกั้นทางเดินหายใจมากจนมีการหยุด<br />

หายใจหรือมีการลดลงของลมหายใจที ่เข้าสู่ปอดขณะนอนหลับจริง เมื ่อผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการ<br />

ดังกล่าว แพทย์จะแนะนําให้ผู้ป่วยทําการทดสอบการนอนหลับด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับ<br />

(Polysomnogram :PSG ) ซึ ่งเครื ่องทดสอบการนอนหลับจะรายงานจํานวนครั้งต่อชั่วโมงของการ<br />

หยุดหายใจเกิน10 วินาที ( Apnea Index : AI )และจํานวนครั้งต่อชั่วโมงของการหายใจด้วยแรงลมที<br />

เข้าสู่ปอดลดลงมากกว่า 50 % เกิน10 วินาที ( Hypopnea Index : HI )<br />

การวินิจฉัยภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับนั้น จะประเมินจากค่า AI+ HI = AHI (<br />

Apnea Hypopnea Index ) โดยที<br />

AHIไม่เกิน 5 ครั้ง/ชั่วโมง : ภาวะปกติ


้<br />

3<br />

AHI 5 ถึงไม่เกิน 15 ครั้ง/ชั่วโมง : ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับเล็กน้อย<br />

AHI 15 ถึงไม่เกิน 30 ครั้ง/ชั่วโมง :ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับปานกลาง<br />

AHIตั้งแต่ 30 ครั้ง/ชั่วโมงขึ ้นไป :ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับรุนแรง<br />

สําหรับในประเทศไทยนั้น การทดสอบการนอนหลับด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับมีเฉพาะ<br />

ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที ่มีแพทย์เฉพาะทางด้านโสต ศอ นาสิก หรือโรงพยาบาลที ่เป็นโรงเรียน<br />

แพทย์ ซึ ่งมีจํานวนจํากัดและต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ทําให้การทดสอบการนอนหลับต้องทําเฉพาะในคน<br />

ที ่ถูกประเมินว่ามีความเสี ่ยงสูงที ่จะมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ โดยใช้การตรวจคัดกรองจาก<br />

แบบประเมินอาการง่วงนอนมาตรฐาน ( ESS : Epworth Sleepiness Scale ) โดยให้ผู้รับการ<br />

ประเมินให้คะแนนความง่วงจากเหตุการณ์ดังนี<br />

1.ขณะนั่งอ่านหนังสือ<br />

2.ขณะดูโทรทัศน์<br />

3.ขณะนั่งประชุมหรือดูภาพยนตร์<br />

4.งีบหลับยามบ่าย<br />

5.นั่งในที ่เงียบยามบ่ายที ่ไม่ได้ดื ่มเหล้า<br />

6.ขณะนั่งรถนาน 2 – 3 ชั่วโมง<br />

7.ขณะขับรถติดไฟแดง<br />

8.ขณะนั่งคุยกับเพื ่อน<br />

คะแนน 0 = ไม่เคยง่วง, 1= ง่วงเล็กน้อย, 2 = ง่วงปานกลาง, 3 = ง่วงมาก<br />

ESS ในคนปกติจะมีค่าไม่เกิน 8<br />

จะเห็นได้ว่าแบบประเมินอาการง่วงนอนที ่ใช้คัดกรองผู้ป่วยที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ<br />

เป็นเพียงการประเมินจากประวัติของผู้ป่วยเท่านั้น สําหรับในโรงพยาบาลบางแห่งอาจมีการนําค่า<br />

ดัชนีมวลกาย ประวัติการนอนกรนเสียงดังและการตรวจร่างกายเช่นการมีคอสั้น ลิ ้นใหญ่ มาช่วยใน<br />

การประเมินคัดกรองเพื ่อนําผู้ป่วยหรือผู้ที ่อยู่ในข่ายสงสัยเข้าสู่การทดสอบการนอนหลับ ซึ ่งมีความ<br />

แตกต่างกันออกไปในแต่ละสถาบัน<br />

การศึกษาวิจัยฉบับนี ้เป็นการศึกษาปัจจัยเสี ่ยงต่างๆที ่เคยมีผู้ทําการศึกษามาแล้วใน<br />

ต่างประเทศว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับโดยพบว่าผู้ป่วยที ่มีการสะสมของ<br />

ไขมันมากจะมีอัตราการเสี ่ยงต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับมาก และผู้ป่วยที ่มีดัชนีมวลกายมาก<br />

โดยเฉพาะกลุ่มคนอ้วนที ่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 30 จะมีอัตราเสี ่ยงต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับมากเช่นกัน<br />

แต่สําหรับในคนไทยซึ ่งมีความแตกต่างด้านสรีระกับชาวต่างชาติโดยเฉพาะในประเทศแถบ<br />

ตะวันตกนั้นข้อมูลบางอย่างอาจแตกต่างกัน การศึกษานี ้จะทําการศึกษาว่าในประเทศไทย โดยเฉพาะ<br />

ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ผู้ที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับในระดับความรุนแรงต่างๆ มี<br />

ปัจจัยเสี ่ยงเช่นเดียวกันกับที ่มีการศึกษาในต่างประเทศหรือไม่ โดยจะนําข้อมูลที ่ได้มาเป็นส่วนหนึ ่ง<br />

ในการวินิจฉัยและวางแผนการรักษาหรือบอกการพยากรณ์โรค และหากต่อไปอาจสามารถพัฒนาไป


4<br />

ใช้กับผู้ป่วยที ่ไม่ได้มีการทดสอบการนอนหลับด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับ โดยอาจพยากรณ์<br />

ความรุนแรงของภาวะดังกล่าวได้ด้วย นอกจากนี ้ผู้ศึกษายังมุ่งเน้นเฉพาะปัจจัยด้านสรีระบางอย่าง<br />

จากการวัดขนาดตัวและนํ ้าหนักตัว เนื ่องจากง่ายต่อการคัดกรอง การวัดตัวนั้นทําได้แม้มิใช่บุคลากร<br />

ทางการแพทย์ อุปกรณ์หาได้ง่าย ราคาถูก ใช้เวลาน้อย และเป็นข้อมูลที ่แพทย์ได้จากการตรวจทําให้<br />

แม่นยํากว่าการใช้แบบประเมินอาการง่วงซึ ่งผู้ป่วยเป็นผู้ประเมินเองแต่เพียงอย่างเดียว ทําให้<br />

สามารถคัดกรองผู้มีความเสี ่ยงได้อย่างกว้างขวางและแม่นยํามากขึ ้น<br />

โดยการศึกษานี ้มุ่งสนใจปัจจัยด้านสรีระบางอย่างซึ ่งก็คือ การสะสมของไขมันตามส่วนต่าง ๆ<br />

ของร่างกายโดยการวัดขนาดร่างกายบางส่วน ได้แก่ ขนาดรอบคอ( Neck Circumference) รอบอก<br />

( Chest Circumference) รอบเอว ( Waist Circumference) รอบสะโพก ( Hip Circumference)<br />

ตามหลักการวัดตัวมาตรฐาน ( Body Measurements ) และค่าดัชนีมวลกาย ( Body Mass<br />

Index :BMI ) ซึ ่งได้จากการคํานวณนํ ้าหนักตัวเป็นกิโลกรัมเทียบกับส่วนสูงเป็นตารางเมตร รวมถึง<br />

เปรียบเทียบอายุ( Age ) และเพศ ( Sex ) ของผู้ที ่เข้ารับการทดสอบการนอนหลับด้วยเครื ่องทดสอบ<br />

การนอนหลับและเปรียบเทียบกับค่าที ่ได้จากแบบประเมินอาการง่วง ในผู้ที ่ที ่เข้ารับการตรวจรักษาใน<br />

คลินิกนอนกรน แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยจําแนกเป็น 4 กลุ่มคือกลุ่ม<br />

ปกติ 1 กลุ่ม กับกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับต่างๆอีก 3 กลุ่ม<br />

การให้ผู้ป่วยทดสอบการนอนหลับด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับ ทางแผนก แผนก โสต ศอ<br />

นาสิก จะนัดผู้ป่วยที ่น่าสงสัยว่าจะมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับมาทดสอบโดยรับผู้ป่วยไว้ใน<br />

โรงพยาบาลและค่าใช้จ่ายต่อการทดสอบ 1 ครั้งประมาณ 8,700 บาท<br />

2.วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย<br />

ศึกษาปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีระ คือ การสะสมของไขมันตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที ่ได้จากการ<br />

วัดขนาดร่างกายและค่าดัชนีมวลกายในกลุ่มผู้ป่วยที ่เข้ารับการตรวจรักษาในคลินิกพิเศษนอนกรน<br />

แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื ่อดูว่าปัจจัยเสี ่ยงใดเป็นปัจจัยเสี ่ยงที ่สําคัญที ่จะ<br />

บอกได้ว่าผู้ป่วยน่าจะมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับและการพยากรณ์ความรุนแรงของโรค<br />

3. ประโยชน์ที่จะได้จากการวิจัย<br />

1. เพื ่อนําข้อมูลที ่ได้มาใช้ในการทํานายการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับในประชากร<br />

ไทยทั่วไปที ่เทียบเคียงได้กับงานวิจัยและเฝ้าระวังในผู้ที ่มีปัจจัยเสี ่ยงที ่สําคัญนั้น ๆ<br />

2. เพื ่อประมาณค่าปัจจัยความเสี ่ยงที ่เหมาะสมกับกับสรีระของคนไทยและเปรียบเทียบกับของ<br />

ต่างประเทศ<br />

3. เพื ่อทราบความชุกของผู้ที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ ที ่เข้ารับการตรวจรักษาใน<br />

คลินิกพิเศษนอนกรนแผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

4. ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคในการใช้เครื ่องทดสอบการนอนหลับ ที ่ใช้วินิจฉัย ภาวะหยุด<br />

หายใจขณะนอนหลับ


5<br />

5.เพื ่อนําข้อมูลที ่ได้ไปช่วยตัดสินใจการรักษาและแนะนําผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม<br />

6.สามารถนําข้อมูลที ่ได้ไปพัฒนาเป็นระดับที ่แน่นอนเพื ่อค้นหาผู้ที ่มีโอกาสและปัจจัยเสี ่ยงใน<br />

ผู้ป่วยอื ่น ๆ ที ่อาจมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นระดับความรุนแรงต่าง ๆ โดยไม่ต้องใช้<br />

เครื ่องทดสอบการนอนหลับ เพื ่อประหยัดค่าใช้จ่ายและใช้คัดกรองผู้ป่วยได้ในอนาคต<br />

7.เพื ่อเป็นแนวทางให้ผู้สนใจทําการศึกษาวิจัยต่อยอดต่อไป


่<br />

6<br />

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม<br />

ความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (Sleep-Disorder Breathing)จําแนกเป็นอาการ<br />

นอนกรน (Snoring) และภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ (Obstructive Sleep Apnea:OSA) ภาวะ<br />

หยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นภาวะที ่เกิดขึ ้นโดยมีลักษณะการอุดกั้นบางส่วนหรือทั้งหมดของ<br />

ทางเดินหายใจส่วนบนเป็นพัก ๆ ขณะนอนหลับทําให้เกิดการหยุดหายใจเป็นช่วงๆซึ ่งสามารถตรวจ<br />

พบได้จากค่าของออกซิเจนอิ่มตัวในเลือดที ่ลดลงและการสะดุ้งตื ่นตอนกลางคืน อาการที ่พบในผู้ป่วย<br />

กลุ่มนี ้ได้แก่ อาการง่วงนอนตอนกลางวัน การนอนหลับไม่สนิท อาการอ่อนล้าในการทํางาน อาการ<br />

ปวดศีรษะตอนเช้าหลังตื ่นนอนเป็นต้น ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดปัญหาด้านสังคมและการประกอบอาชีพ<br />

การงาน<br />

มีการศึกษาวิจัยปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีรวิทยาที ่เกี ่ยวข้องกับความผิดปกติของการหายใจขณะนอน<br />

หลับ (Sleep-Disorder Breathing) ทั้งอาการนอนกรน (Snoring) และภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับ (Obstructive Sleep Apnea:OSA) มากมายในต่างประเทศ เช่น<br />

Ward Flemons W, McNicholas WT และคณะ( 1997,Canada) ได้ศึกษาอาการทางคลินิกที<br />

ใช้ทํานายการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ (Obstructive Sleep Apnea:OSA) โดยใช้<br />

เครื ่องทดสอบการนอนหลับ (Polysomnogram) ซึ ่งเป็นวิธีมาตรฐานที ่ใช้วินิจฉัย (standard<br />

diagnostic test)พบว่าอาการทางคลินิกที ่ใช้ทํานายการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับที ่สําคัญ<br />

ได้แก่ ความแตกต่างด้านสรีระเช่น ดัชนีมวลกาย( BMI ) ,รอบแขน( WC ), รอบคอ ( NC ) และการ<br />

หายใจผิดปกติบางอย่างขณะนอนหลับ (การกรน การหยุดหายใจ การไอ การถอนหายใจ) โดยมีผู้ที่<br />

นอนร่วมกับผู้ป่วยเป็นผู้ให้ข้อมูล โดยพบว่าอาการทางคลินิกดังกล่าวมีความไวสูงแต่ความจําเพาะ<br />

เจาะจงปานกลาง<br />

Mortimore IL, Marshall I, Wraith PK, Sellar RJ, Douglas NJ(1998, Scotland, UK ) ได้<br />

ทําการศึกษาเปรียบเทียบปริมาณของไขมันรอบคอที ่ประเมินจากภาพถ่ายคลื ่นแม่เหล็กไฟฟ้า( MRI )<br />

บริเวณคอ และการสะสมของไขมันบริเวณทางเดินหายใจส่วนบน ( local fat deposition )ในผู้ป่วยที<br />

มีภาวะหยุดหายใจและหายใจน้อยลงขณะนอนหลับ (SAHS: Sleep Apnea/Hypopnea Syndrome)<br />

ทั้งกลุ่มคนอ้วนและไม่อ้วน เปรียบเทียบกับกลุ่มคนปกติซึ ่งเป็นกลุ่มควบคุมรวมทั้งหมด 3 กลุ่ม ๆ ละ<br />

9 คน พบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติระหว่างกลุ่มผู้ป่วยไม่อ้วนที ่มีภาวะหยุดหายใจและหายใจ<br />

น้อยลงขณะนอนหลับ กับกลุ่มควบคุม ส่วนกลุ่มผู้ป่วยอ้วนที ่มีภาวะหยุดหายใจและหายใจน้อยลง<br />

ขณะนอนหลับนั้น มีการสะสมของไขมันตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสะสมของ<br />

ไขมันบริเวณคอด้านหน้าและด้านข้างมากกว่ากลุ่มควบคุม ซึ ่งเป็นตําแหน่งทางของเดินหายใจ<br />

ส่วนบน การศึกษานี ้ทําให้พอจะทํานายภาวะดังกล่าวจาการประเมินค่าดัชนีมวลกาย (BMI ) และการ<br />

วัดรอบคอ ( NC :Neck Circumference )<br />

Sergi M, Rizzi M, Comi AL, และคณะ (1999, Italy) ได้ทําการศึกษาภาวะหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับในกลุ่มผู้ป่วยที ่อ้วนปานกลางถึงอ้วนมากจํานวน 27 คน ที ่ปราศจากโรคประจําตัวด้าน


7<br />

ระบบประสาทและระบบไหลเวียน โดยมีการวัดส่วนสูง(Height)ชั่งนํ้าหนัก (BW )วัดรอบเอว ( WC :<br />

Waist Circumference)รอบสะโพก (HC: Hip Circumference )และการเจาะเลือดตรวจวิเคราะห์<br />

ข้อมูลทางโรคเลือด กําหนดค่าจํานวนครั้งของการหยุดหายใจและการหายใจน้อยลงใน 1 ชั่วโมง(<br />

AHI ) > 15 ครั้ง จัดว่ามีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ พบว่าในผู้ป่วยอ้วนนั้นค่า AHI สัมพันธ์กับ<br />

รอบคอและอัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก ( Waist/Hip ratio ) นอกจากนี ้ยังสัมพันธ์กับจํานวนเม็ด<br />

เลือดแดง(RBC & Hb) และความเข้มข้นของเลือด( Hct ) ความชุกของภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับในคนอ้วนเท่ากับ 55 % นอกจากนี ้ยังพบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติของ<br />

ผู้ป่วยระหว่างจํานวนเม็ดเลือดแดง ความเข้มข้นของเลือดและออกซิเจนอิ่มตัวในเลือด ( SaO2) ที่จะ<br />

ลดลงระหว่างนอนหลับ โดยสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ ้นของ AHI ในขณะที ่ผู้ที ่ไม่มีภาวะหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับพบว่าค่าต่าง ๆ ข้างต้นปกติ จึงได้ข้อสรุปว่าค่าต่าง ๆ ดังกล่าวนั้นใช้ทํานายความเสี ่ยงของ<br />

การเกิดภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับได้<br />

George CF, Kab V, Kab P, Villa JJ, Levy AM. (2003, Canada ) ได้ทําการศึกษาถึงความ<br />

ผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (Sleep-Disorder Breathing) ของนักฟุตบอลที ่มีชื ่อเสียง<br />

จํานวน 52 คนที ่สุ่มมาจากทั้งหมดจํานวน 302 คน โดยจัดเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มความเสี ่ยงสูง และกลุ่ม<br />

ความเสี ่ยงตํ ่า นักเตะที ่ถูกสุ่มเลือกขึ ้นมาจะได้รับการทดสอบการนอนหลับและการตรวจร่างกายทาง<br />

สรีระ รวมทั้งรับการประเมินโดยใช้แบบประเมินการง่วงนอน ( ESS : Epworth Sleepiness Scale )<br />

พบว่าแม้ว่านักฟุตบอลส่วนใหญ่จะต้องการการนอนที ่มากขึ ้นในตอนกลางวันมากกว่าคนปกติ แต่<br />

สาเหตุดังกล่าวกลับไม่ได้เกิดจากความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (SDB : Sleep-<br />

Disorder Breathing) เพราะมีเพียง 14 % ของกลุ่มวิจัยเท่านั้นที ่มีความผิดปกติของการหายใจขณะ<br />

นอนหลับ ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาต่อไปในอนาคต<br />

Tishler PV, Larkin EK, Schluchter MD, Redline S. ( 2003 ,USA ) ได้ทําการศึกษาถึง<br />

ความเสี ่ยงสําคัญที ่ทําให้เกิดความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (SDB : Sleep-Disorder<br />

Breathing) ของประชากรใน Cleveland โดยมีการติดตามประเมินความเสี ่ยงสําคัญเป็นเวลา 5 ปี<br />

เพื ่อเฝ้าดูว่าปัจจัยอะไรบ้างที ่เป็นความเสี ่ยงสําคัญที ่ทําให้การเกิดความผิดปกติของการหายใจขณะ<br />

นอนหลับ จากการศึกษาพบว่าปัจจัยที ่เป็นความเสี ่ยงสําคัญได้แก่ อายุ (Age) เพศ ( Sex ) ดัชนีมวล<br />

กาย ( BMI ) รอบเอวต่อรอบสะโพก ( W/H ratio ) และ ความเข้มข้นของโคเลสเตอรอลในกระแส<br />

เลือด ( serum cholesterol concentration )<br />

Tashkandi Y, Badr MS, Rowley JA ( 2005,USA ) ได้ทําการศึกษาจากประชากรสูงอายุทั้ง<br />

ชายและหญิงจํานวน 501 คน (ผู้ชาย 218 ผู้หญิง 283) ซึ ่งได้รับการทดสอบการนอนหลับด้วยเครื ่อง<br />

ทดสอบการนอนหลับ ( Polysomnography )พบว่าปัจจัยสําคัญที ่ทําให้อัตราการหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับในผู้ชายเพิ่มขึ ้นได้แก่ ดัชนีมวลกาย ( BMI ) ,รอบคอ ( NC :Neck Circumference )และสัดส่วน<br />

ของการนอนหลับในแต่ละคืน ต่อจํานวนเวลานอนทั้งหมด ( percentage time spent in the supine<br />

position: %TST-supine ) โดยในผู้ชายนั้นค่าจํานวนครั้งของการหยุดหายใจและการหายใจน้อยลงใน


่<br />

่<br />

8<br />

1 ชั่วโมง( AHI ) ที ่มากขึ ้นเป็นผลมาจากค่าจํานวนครั้งของการหยุดหายใจใน 1 ชั่วโมง( AI ) ที่<br />

เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับในผู้หญิง<br />

Hui DS, Chan JK.และคณะ ( 1999,Hong Kong )ได้การศึกษาความชุกของการนอนกรนและ<br />

ภาวะความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (SDB : Sleep-Disorder Breathing) ในประชากร<br />

วัย<br />

ผู้ใหญ่ตอนต้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการใช้แบบสอบถามและการใช้เครื ่อง<br />

ทดสอบการนอนหลับชนิดนํากลับไปทดสอบที ่บ้าน ( MESAM IV device : Madaus Medizin-<br />

Elektronik; Freiburg, Germany ) จากประชากร 1,910 คนที ่ส่งข้อมูลกลับมาทางอีเมลล์ พบว่าการที<br />

ดัชนีมวลกาย ( BMI ) เพิ่มขึ ้นจะมีผลให้มีอาการนอนกรน( Snoring ) มากขึ ้น แต่ไม่พบความสัมพันธ์<br />

ระหว่างระยะเวลาการนอนกรนที ่มากขึ ้นกับภาวะความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ<br />

การศึกษาดังกล่าวยังพบว่าการนอนกรนพบได้บ่อยแต่ภาวะที ่มีการหายใจผิดปกติกลับพบได้น้อย<br />

นอกจากนี ้การใช้แบบสอบถามเรื ่องการนอนกรนนั้น ไม่ช่วยในการทํานายการเกิดภาวะความผิดปกติ<br />

ของการหายใจขณะนอนหลับได้<br />

Dancey DR, Hanly PJ.และคณะ ( 2003,Canada ) ได้ทําการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของ<br />

ความกว้างรอบคอ( NC :Neck Circumference ) ที ่มีต่อความรุนแรงของการหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับ( Sleep Apnea ) จากผู้ป่วยที ่เข้ารับการตรวจรักษาในคลินิกการนอนหลับผิดปกติ ( Sleep<br />

Clinic )จํานวน 3,942 คน (ชาย 2,753 หญิง 1,189) พบว่าสัดส่วนของความกว้างรอบคอต่อความสูง<br />

( Neck/Height ratio : NHR ) นั้นเป็นปัจจัยที ่สําคัญที ่สุดที ่ใช้ทํานายความรุนแรงของการหยุดหายใจ<br />

ขณะนอนหลับ โดยที ่ในผู้ชายนั้นพบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจนมากกว่าในผู้หญิง<br />

Khoo SM, Tan WC.และคณะ ( 2004,Singapore ) ได้ทําการศึกษาปัจจัยเสี ่ยงของภาวะ<br />

ความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับ (SDB : Sleep-Disorder Breathing) ในประชากรทั่วไป<br />

จํานวน 2,298 คน อายุระหว่าง 20 – 75 ปี โดยการสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม แล้วจําแนกเป็น<br />

กลุ่มนอนกรนธรรมดา( Habitual Snoring) , กลุ่มนอนกรนที ่มีการหยุดหายใจ( Apnoeic Snoring :<br />

SDB I) และกลุ่มนอนกรนที ่มีการหยุดหายใจร่วมกับการง่วงนอนอย่างมากในตอนกลางวัน<br />

( Apnoeic Snoring or Snoring with Diurnal Hypersomnia : SDB II) โดยได้ทําการชั่งนํ ้าหนัก<br />

( BW ) วัดส่วนสูง( Height ) วัดความกว้างรอบคอ ( NC :Neck Circumference ) และซักประวัติการ<br />

สูบบุหรี ่ จากการศึกษาพบว่าปัจจัยเสี ่ยงของภาวะความผิดปกติของการหายใจขณะนอนหลับนั้น<br />

เหมือนกันกับปัจจัยเสี ่ยงที ่ทําให้เกิดอาการนอนกรน ได้แก่ อายุมากกว่า 60 ปี มีประวัติครอบครัว<br />

ดัชนีมวลกาย ( BMI ) ความกว้างรอบคอ( NC :Neck Circumference ) และมีประวัติการสูบบุหรี<br />

Ocasio-Tascón ME, Alicea-Colón E.และคณะ ( 2006,Puerto Rico )ได้ทําการศึกษาหาว่า<br />

ปัจจัยใดบ้างที ่มีความเสี ่ยงต่อภาวะที ่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจมากจนมีการหยุดหายใจหรือมีการ<br />

ลดลงของลมหายใจที ่เข้าสู่ปอดขณะนอนหลับ (Obstructive Sleep Apnea Syndrome : OSAS) มาก<br />

ที ่สุด โดยมีการใช้ดัชนีมวลกาย( BMI ) และแบบประเมินการง่วงนอน ( ESS : Epworth Sleepiness<br />

Scale ) เป็นหนึ ่งในปัจจัยเสี ่ยง โดยกําหนดค่าเฉลี ่ยดัชนีมวลกาย( mean BMI ) ในคนที ่อายุ 64 ปี =


้<br />

่<br />

9<br />

25 kg/m² และกําหนดแต้มเฉลี ่ยแบบประเมินการง่วงนอน(mean ESS ) = 8 จากการศึกษาพบว่า<br />

ปัจจัยที่มีความเสี่ยงมากที่สุด ได้แก่ภาวะซึมเศร้า( Depression) , การนอนไม่หลับ (Insomnia ),<br />

อาการง่วงนอนเวลากลางวัน(Narcolepsy Symptoms ) และแต้มจากแบบประเมินการง่วงนอน(<br />

ESS ) > 12<br />

Namyslowski G, Scierski W.และคณะ ( 2005,Poland )ได้ศึกษาประเมินความสัมพันธ์<br />

ระหว่างดัชนีมวลกาย( BMI ) และค่าการรบกวนการหายใจขณะนอนหลับ ( RDI: Respiratory<br />

Disturbance Index ) ในผู้ป่วยนํ ้าหนักเกินมาตรฐานและผู้ป่วยโรคอ้วน ค่า RDI คือผลรวมของ<br />

จํานวนครั้งของการหยุดหายใจและการหายใจน้อยลงใน 1 ชั่วโมง( AHI ) กับจํานวนครั้งของภาวะที<br />

เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจขณะนอนหลับเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 10 วินาทีแล้วมีการสะดุ้งตื ่น<br />

โดยไม่มีลักษณะการหยุดหายใจ ( Apnea )และการหายใจน้อยลง( Hypopnea ) ( RDI = AHI +<br />

RERA: Respiratory Effort-Related Arousal )ที ่ชัดเจน โดยมีผู้ป่วยจํานวน 106 คน ได้รับการ<br />

บันทึกดัชนีมวลกายและให้ทดสอบการนอนหลับโดยเครื ่องทดสอบการนอนหลับ<br />

(Polysomnography) พบว่าค่าดัชนีมวลกายที ่มากขึ ้นมีความสัมพันธ์กับค่าการรบกวนการหายใจ<br />

ขณะนอนหลับที ่สูงขึ ้นในผู้ป่วยกลุ่มนี<br />

Sharma SK, Kumpawat S.และคณะ ( 2006,India )ได้ทําการศึกษาภาวะความชุกและปัจจัย<br />

เสี ่ยงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ (Obstructive Sleep Apnea:OSA) ในประชากรอินเดีย<br />

จํานวน 2,400 คน พบว่ามีปัจจัยหลายอย่างที ่มีผลต่อการเกิดภาวะดังกล่าว เช่นเดียวกับที ่มี<br />

การศึกษาในประเทศแถบตะวันตก ได้แก่ ผู้ชายอายุมาก ( Male gender ), อายุ ( Age ), ดัชนีมวล<br />

กาย ( BMI )และรอบเอวต่อรอบสะโพก ( W/H ratio ) เป็นปัจจัยเสี ่ยงสําคัญที ่ทําให้เกิดภาวะ<br />

หยุดหายใจขณะหลับ


10<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

1. แบบแผนการวิจัย<br />

Retrospective Cross - sectional Study<br />

2. ลักษณะตัวอย่างหรือประชากรที่ทําการศึกษา<br />

ก. ประชากรเป้ าหมาย<br />

ผู้ป่วยที ่มารักษาที ่คลินิกพิเศษ คือ คลินิกนอนกรนที ่สงสัยว่ามีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ<br />

ในแผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

ข. การเลือกตัวอย่าง<br />

เกณฑ์คัดเลือกผู้ป่วยเข้าโครงการวิจัย<br />

1. ผู้ป่วยที ่สงสัยว่ามีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ อายุระหว่าง 20 ถึง 70 ปีที่มารับการ<br />

ตรวจวินิจฉัยรักษาตั้งแต่ ม.ค. 2549 ถึง มิ.ย. 2551<br />

2. ผู้ป่วยเดิมมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงไม่มีโรคทางอายุรกรรมที ่รุนแรงและมีผลต่อการรักษา<br />

3. ผู้ป่วยยินยอมเข้าร่วมทําการวิจัยโดยทราบถึงจุดมุ่งหมายและลักษณะ รวมทั้งประโยชน์และ<br />

ความเสี ่ยงต่าง ๆ จากการทําวิจัย โดยให้เซ็นต์ใบยินยอมทําการวิจัย<br />

เกณฑ์คัดเลือกผู้ป่วยออกจากโครงการวิจัย<br />

1. ผู้ป่วยที ่มีโรคทางอายุรกรรมที ่รุนแรงและมีผลต่อการรักษา เช่น โรคเบาหวาน โรคภูมิต้านทาน<br />

บกพร่อง โรคทางระบบไหลเวียนและหายใจและโรคทางสมองเป็นต้น<br />

2. ผู้ป่วยที ่ไม่สามารถปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทย์และเจ้าหน้าที ่ เช่น ผู้ป่วยโรคจิตประสาท<br />

3. ผู้ป่วยที ่จําเป็นต้องใช้ยาอื ่นที ่มีผลต่อการกดการหายใจนอกเหนือจากที ่กําหนดไว้ในการวิจัย<br />

ค. ขนาดตัวอย่าง<br />

การคํานวณขนาดตัวอย่าง<br />

จากการศึกษา ของ Oguz Ogretmenoglu และคณะ เรื ่อง “Body fat Composition: A<br />

Predictive Factor for Obstructive Sleep Apnea’ พบว่าค่าเฉลี่ยของ BMI ในกลุ่มปกติ เท่ากับ<br />

25.2±1.5 และในส่วนของค่าเฉลี ่ยของ BMI ในกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับมีค่าเฉลี ่ย<br />

27.4±2.6<br />

สูตรคํานวณขนาดตัวอย่าง


11<br />

= 19<br />

27.4±2.6<br />

ดังนั้น การวิจัยครั้งนี ้ใช้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 19 ราย<br />

หมายเหตุ<br />

ในกลุ่มปกติ เท่ากับ 25.2±1.5<br />

ในกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับมีค่าเฉลี ่ย<br />

2.2<br />

ระดับความเชื ่อมั่น 95%, α = 0.05,<br />

อํานาจการทดสอบ ,<br />

Z = 1.96<br />

α<br />

σ<br />

( n − 1) s + ( n −1)<br />

s<br />

2 2<br />

2 2 1 1 2 2<br />

= sp<br />

=<br />

( n1− 1) + ( n2<br />

−1)<br />

= 6.02<br />

3. วิธีดําเนินการวิจัย<br />

ผู้ป่วยที ่สงสัยว่ามีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับที ่เข้ามาทําการตรวจวินิจฉัยรักษาที ่คลินิก<br />

พิเศษนอนกรนในแผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โดยมีอาการและอาการแสดง<br />

ได้แก่<br />

• ผู้ป่วยนํ ้าหนักตัวเทียบกับส่วนสูงมาก อยู่ในเกณฑ์อ้วนหรือมีลักษณะค่อนข้างอ้วนเตี ้ย<br />

• ผู้ป่วยนอนกรน โดยถามจากญาติ หรือผู้ที ่นอนใกล้ชิด<br />

• มีอาการง่วงนอนมากในเวลากลางวัน<br />

• ตื ่นเช้าไม่แจ่มใส รู้สึกว่าพักผ่อนไม่เพียงพอทั้งที ่จํานวนชั่วโมงของการนอนหลับอยู่ในเกณฑ์<br />

ปกติ ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง<br />

• เคยหยุดหายใจขณะนอนหลับ โดยมีการสะดุ้งตื ่นหรือหยุดหายใจเป็นพัก ๆ ขณะนอนหลับ<br />

ซึ ่งสังเกตโดยญาติและผู้ที ่นอนใกล้ชิด<br />

• ผู้ป่วยที ่มีกรามค่อนข้างสั้น หรือมีลิ ้นคับปากหรือมีลิ ้นไก่ยาวปิดกั้นทางเดินหายใจ<br />

และอาการแสดงเหล่านี ้จัดเป็นอาการที ่ทําให้สงสัยว่าผู้ป่วยอาจมีภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับและเป็นปัญหาที ่นําผู้ป่วยมาพบแพทย์ หรือแม้แต่ผู้ป่วยที ่มาพบแพทย์ด้วยปัญหาอื ่น แต่มี<br />

อาการและอาการแสดงในปัญหาที ่กล่าวข้างต้น ก็อาจสงสัยได้ว่าเป็นผู้ที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับ ซึ ่งจะให้ผู้ป่วยมาทําการทดสอบการนอนหลับเพื ่อดูว่ามีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับหรือไม่


้<br />

่<br />

12<br />

อย่างไร รุนแรงเพียงใด โดยจัดกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี ้เข้ากลุ่มการศึกษาจากนั้นก็นําผลการทดสอบที ่ได้มา<br />

วิเคราะห์เทียบกับปัจจัยด้านสรีระและนํ ้าหนักตัว โดยระดับความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับมี 4 ขั้น ดังนี<br />

1. 0-4.9 ต่อชั่วโมง ถือเป็นภาวะปกติ<br />

2. 5-14.9 ต่อชั่วโมง ถือเป็นภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับเล็กน้อย<br />

3. 15-29.9 ต่อชั่วโมง ถือเป็นภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับปานกลาง<br />

4. มากกว่า 30 ต่อชั่วโมง ถือเป็นภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับรุนแรง<br />

หัวข้อที่ทําการศึกษาดังนี้<br />

1. ดัชนีมวลกายหรือนํ ้าหนักตัวเทียบกับส่วนสูง ( Body Mass Index : BMI ) มีหน่วย<br />

เป็น กิโลกรัมต่อตารางเมตร ( kg/m² )<br />

2. รอบคอ ( Neck Circumference : NC ) มีหน่วยเป็นเซนติเมตร (cm)<br />

3. รอบอก ( Chest Circumference : CC ) มีหน่วยเป็นเซนติเมตร (cm)<br />

4. รอบเอวต่อรอบสะโพก ( Waist/Hip ratio )<br />

5. อายุ ( Age ) มีหน่วยเป็นปี ( Year )<br />

6. แต้มจากแบบประเมินการง่วงนอน ( ESS : Epworth Sleepiness Scale )<br />

7. จํานวนครั้งของการหยุดหายใจและการหายใจน้อยลงใน 1 ชั่วโมง ( Apnea<br />

Hypopnea Index : AHI ) มีหน่วยเป็นครั้ง/ชั่วโมง<br />

จากนั้นนําข้อมูลที ่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติเพื ่อดูความสัมพันธ์ระหว่างค่าต่างๆที<br />

ทําการศึกษาดังกล่าวข้างต้นโดยเน้นที ่ความสัมพันธ์ของค่าดัชนีมวลกาย( Body Mass Index : BMI )<br />

กับจํานวนครั้งของการหยุดหายใจและการหายใจน้อยลงใน 1 ชั่วโมง ( Apnea Hypopnea Index :<br />

AHI ) โดยแบ่งกลุ่มศึกษาออกเป็น 4 กลุ่ม<br />

1. กลุ่มที ่ค่า AHI ที ่ได้จากการทดสอบการนอนหลับไม่เกิน 5 ครั้ง/ชั่วโมง : ถือเป็น<br />

กลุ่มปกติ<br />

2. กลุ่มที ่ค่า AHI ที ่ได้จากการทดสอบการนอนหลับ 5 ถึงไม่เกิน 15 ครั้ง/ชั่วโมง :ถือ<br />

เป็นกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับเล็กน้อย<br />

3. กลุ่มที ่ค่า AHI ที ่ได้จากการทดสอบการนอนหลับ15 ถึงไม่เกิน 30 ครั้ง/ชั่วโมง :ถือ<br />

เป็นกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับปานกลาง<br />

4. กลุ่มที ่ค่า AHI ที ่ได้จากการทดสอบการนอนหลับตั้งแต่ 30 ครั้ง/ชั่วโมงขึ ้นไป : ถือ<br />

เป็นกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับรุนแรง<br />

โดยวางแผนให้มีจํานวนศึกษาในแต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 19 คน จากนั้นทําการศึกษาวิเคราะห์<br />

เปรียบเทียบ Age,Sex,BMI,NC,CC,W/H ratioและESS เพื ่อหาข้อสรุปความสัมพันธ์ของค่าต่างๆกับ


13<br />

การมีหรือไม่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับและหาแนวโน้มการทํานายความรุนแรงของภาวะหยุด<br />

หายใจกับการเปลี ่ยนแปลงของค่าต่างๆเหล่านั้น<br />

4. การเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

ข้อมูลจะได้รับการบันทึกในแบบฟอร์มเก็บข้อมูลตามแบบประเมิน<br />

5. การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

1. การวิเคราะห์ลักษณะข้อมูลทั่วไปใช้ค่าเฉลี ่ย และส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน หรือร้อยละ<br />

2. การเปรียบเทียบความแตกต่างของ BMI ระหว่างกลุ่มที ่ปกติ กับกลุ่มที ่มีภาวะการหยุด<br />

หายใจ โดยวิธี t – test หรือ Mann-Whitney U test ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05


14<br />

บทที่ 4 ผลการศึกษา<br />

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล<br />

การวิจัยครั้งนี ้ได้เก็บข้อมูลจากแฟ้มเวชระเบียนผู้ป่วยและแบบประเมินการง่วงนอน (ESS)<br />

โดยผู้ป่วยที ่เข้ารับการตรวจรักษาที ่คลินิกพิเศษนอนกรนแผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระ<br />

มงกุฎเกล้าโดยแบ่งกลุ่มศึกษาตามระดับความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับซึ่งมี 4 กลุ่ม<br />

คือ กลุ่มภาวะปกติ (AHI 0-4.9 / hr :AHI I) ,ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับเล็กน้อย (AHI 5-14.9 /<br />

hr :AHI II) ,ระดับปานกลาง(AHI 15-29.9 / hr :AHI III) และระดับรุนแรง (AHI >30 / hr : AHI IV)<br />

กับปัจจัยทั้ง 6 อย่าง ได้แก่ อายุ ( Age ) , ดัชนีมวลกายหรือนํ ้าหนักตัวเทียบกับส่วนสูง ( Body<br />

Mass Index : BMI ), รอบคอ ( Neck Circumference : NC ), รอบอก ( Chest Circumference :<br />

CC ),รอบเอวต่อรอบสะโพก ( Waist/Hip ratio ) และแต้มจากการประเมินการง่วงนอน( ESS ) ซึ ่ง<br />

แต่ละระดับความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับได้กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 19 ราย รวมเป็น<br />

76 ราย ประกอบด้วยเพศชาย 55 ราย เพศหญิง 21 ราย อายุเฉลี ่ย 48.5 ปี (range 26 - 69) เมื ่อทํา<br />

การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี ่ยในแต่ละปัจจัยทั้ง 6 ปัจจัย พบว่าระดับความรุนแรงทั้ง 4<br />

กลุ่มมีค่าเฉลี ่ยที ่แตกต่างกันเพียง 3 ปัจจัยคือ ดัชนีมวลกาย ( Body Mass Index : BMI ), รอบคอ (<br />

Neck Circumference : NC )และ รอบอก ( Chest Circumference : CC ) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%<br />

โดยในกลุ่มของภาวะหยุดหายใจระดับรุนแรง (AHI >30 / hr : AHI IV) มีค่าเฉลี ่ยปัจจัยดัชนีมวลกาย<br />

(BMI) รอบคอ (NC) และรอบอก (CC) มีเท่ากับ 28.9 ( range 21.8-43.1) ,17.5 ( range 13.5-24.0) และ<br />

38.0 ( range 33.0-44.0) ตามลําดับ ซึ ่งมีค่าเฉลี ่ยมากกว่ากลุ่มอื ่นๆในทุกปัจจัย แสดงดังตารางที ่1


ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี ่ยอายุ(Age) ดัชนีมวลกาย (BMI) รอบคอ (NC) รอบอก (CC) รอบเอวต่อสะโพก(W/H<br />

ratio) และแต้มจากการประเมินการง่วงนอน (ESS)<br />

Total<br />

(n=76)<br />

Median<br />

(min-max)<br />

Age 48.5<br />

(26.0-69.0)<br />

Body Mass Index 25.7<br />

(kg/m 2 )<br />

(17.9-43.1)<br />

Neck<br />

16.0<br />

Circumference (12.0-24.0)<br />

(cm)<br />

Chest<br />

Circumference<br />

(cm)<br />

36.0<br />

(31.5-44.0)<br />

Waist/Hip ratio 0.91<br />

(0.73-1.06)<br />

ESS 10.0<br />

(1.0-20.0)<br />

a<br />

Kruskal-Wallis Test, α = 0.05<br />

AHI I<br />

(n=19)<br />

Median<br />

(min-max)<br />

46.0<br />

(27.0-68.0)<br />

24.2<br />

(19.8-37.2)<br />

15.0<br />

(14.0-18.0)<br />

34.0<br />

(32.0-36.5)<br />

0.92<br />

(0.81-0.97)<br />

7.0<br />

(2.0-15.0)<br />

AHI II<br />

(n=19)<br />

Median<br />

(min-max)<br />

47.0<br />

(26.0-67.0)<br />

25.2<br />

(17.9-38.3)<br />

16.0<br />

(12.0-18.0)<br />

36.0<br />

(31.5-38.0)<br />

0.86<br />

(0.73-0.97)<br />

11.0<br />

(2.0-18.0)<br />

AHI III<br />

(n=19)<br />

Median<br />

(min-max)<br />

49.0<br />

(27.0-69.0)<br />

26.1<br />

(22.9-35.7)<br />

16.0<br />

(14.0-19.0)<br />

36.0<br />

(33.0-39.0)<br />

0.93<br />

(0.81-1.00)<br />

13.0<br />

(1.0-18.0)<br />

AHI IV<br />

(n=19)<br />

Median<br />

(min-max)<br />

52.0<br />

(34.0-65.0)<br />

28.9<br />

(21.8-43.1)<br />

17.5<br />

(13.5-24.0)<br />

38.0<br />

(33.0-44.0)<br />

0.91<br />

(0.82-1.06)<br />

12.0<br />

(1.0-20.0)<br />

p-value a<br />

0.360<br />

0.020<br />

0.002<br />

< 0.001<br />

0.076<br />

0.091<br />

15


ตารางที่ 2 แสดง Ordinal logistic regression เพื ่อหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรุนแรงของ<br />

ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ กับปัจจัยที ่เกี ่ยวข้อง<br />

B SE Wald p-value Odd<br />

Ratio<br />

Lower Upper<br />

Body Mass Index (kg/m 2 ) 0.036 0.059 0.364 0.547 1.04 -0.080 0.152<br />

Neck Circumference (cm) 0.078 0.185 0.177 0.674 1.08 -0.285 0.440<br />

Chest Circumference<br />

(cm)<br />

0.502 0.135 13.859 < 0.001 1.65 0.238 0.766<br />

Waist/Hip ratio -0.018 3.838 0.000 0.996 0.98 -7.541 7.505<br />

ESS 0.028 0.050 0.326 0.568 1.03 -0.069 0.126<br />

16<br />

ผลการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับ กับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังแสดงในตารางที่ 2 พบว่าเฉพาะ ปัจจัยรอบอก (CC) เท่านั้นมี<br />

ความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

โดยปัจจัยรอบอก (CC) ที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 1 เซนติเมตร จะมีความเสี ่ยงต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับ ที่ระดับรุนแรงกว่าถึง 1.65 เท่าของผู้ป่วยที ่มีรอบคอน้อยกว่า (coefficient =<br />

0.502 ,95%CI : -7.541 - 7.505)<br />

จากตารางที ่ 2 สามารถสร้างสมการและนําสมการที ่ได้มาทําการพยากรณ์ผู้ป่วยที ่มีความ<br />

เสี ่ยงที ่จะมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ แสดงผลดังตารางที ่ 3<br />

Z 1 = 18.919+0.036 BMI+0.078 NC + 0.502 CC – 0.018 WH+0.028 ESS<br />

Z 2 = 20.423+0.036 BMI+0.078 NC + 0.502 CC – 0.018 WH+0.028 ESS<br />

Z 3 = 21.992+0.036 BMI+0.078 NC + 0.502 CC – 0.018 WH+0.028 ESS


่<br />

่<br />

17<br />

ตารางที่ 3 แสดงความถูกต้องของการพยากรณ์ระดับความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจ<br />

ระดับความรุนแรง Sensitivity Specificity<br />

0-4.9 73.7 78.9<br />

5-14.9 21.1 89.0<br />

15-29.9 26.3 78.9<br />

>=30 78.9 85.9<br />

เมื ่อทําการพยากรณ์ข้อมูลโดยนําปัจจัยที ่ศึกษาเข้าสมการและตรวจสอบความถูกต้องของ<br />

การพยากรณ์ แล้วพยากรณ์ว่าผู้ป่วยมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับอยู่ในกลุ่มใดโดยผลการ<br />

พยากรณ์จะออกมาในรูปตัวเลขระหว่างกลุ่ม 1-4 แล้วเปรียบเทียบกับผลการทดสอบการนอนหลับที<br />

ได้จากการทดสอบการนอนหลับจริงพบว่า ในกลุ่มภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับรุนแรง<br />

(AHI >30 / hr : AHI IV) มีความไว( Sensitivity) ของการทดสอบสูงสุดเท่ากับ 78.9% รองลงมาคือ<br />

กลุ่มที่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับแบบปกติ (AHI 0-4.9 / hr :AHI I) เท่ากับ 73.7% ส่วนกลุ่มที<br />

มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับปานกลาง(AHI 15-29.9 / hr :AHI III) และระดับเล็กน้อย (AHI<br />

5-14.9 / hr :AHI II) ในการพยากรณ์พบค่าความไวค่อนข้างตํ่าเท่ากับ 26.3 %และ21.1% ตามลําดับ<br />

ส่วนความจําเพาะ( Specificity) ของการทดสอบ พบว่าการพยากรณ์ในกลุ่มมีภาวะหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับอยู่ในระดับเล็กน้อยจะมีความจําเพาะที ่มากที ่สุดเท่ากับ 89.0% รองลงมาคือ ระดับรุนแรง<br />

เท่ากับ 85.9% ส่วนกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับปกติ และระดับปานกลาง มี<br />

ความจําเพาะเท่ากันคือ 78.9%


18<br />

Age(yrs)<br />

30 40 50 60 70<br />

0-4.9 5-14.9 15-29.9 >=30<br />

รูปที่ 1 กราฟแท่งแสดงอายุ(Age)ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา<br />

AHI(/hr)<br />

BMI( kg/m² )<br />

20 25 30 35 40 45<br />

0-4.9 5-14.9 15-29.9 >=30<br />

AHI(/hr)<br />

รูปที่ 2 กราฟแท่งแสดงค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา


19<br />

CC(cm)<br />

30 35 40 45<br />

0-4.9 5-14.9 15-29.9 >=30<br />

รูปที่ 3 กราฟแท่งแสดงค่ารอบอก (CC) ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา<br />

AHI(/hr)<br />

ESS<br />

0 5 10 15 20<br />

0-4.9 5-14.9 15-29.9 >=30<br />

AHI(/hr)<br />

รูปที่ 4 กราฟแท่งแสดงแต้มจากแบบประเมินการง่วงนอน (ESS) ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา


20<br />

WH<br />

.7 .8 .9 1 1.1<br />

0-4.9 5-14.9 15-29.9 >=30<br />

AHI(/hr)<br />

รูปที่ 5 กราฟแท่งแสดงค่ารอบเอวต่อสะโพก (W/H ratio) ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา<br />

NC(cm)<br />

10 15 20 25<br />

0-4.9 5-14.9 15-29.9 >=30<br />

รูปที่ 6 กราฟแท่งแสดงค่ารอบคอ (NC) ของประชากรในแต่ละกลุ่มศึกษา<br />

AHI(/hr)


21<br />

บทที่ 5 อภิปรายผล<br />

ปัจจุบันเป็นที ่ยอมรับว่าปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีระวิทยาเกี ่ยวข้องกับความผิดปกติของการหายใจ<br />

ขณะนอนหลับ (Sleep-Disorder Breathing) ทั้งอาการนอนกรน (Snoring) และการหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับ (Obstructive Sleep Apnea:OSA) มีการศึกษาวิจัยเกิดขึ้นมากมายในต่างประเทศ ส่วน<br />

ใหญ่เพื ่อหาปัจจัยสําคัญที่สุดที่เกี่ยวข้องกับภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับเพื ่อนํามาซึ ่งการลดความ<br />

เสี ่ยงโดยลดปัจจัยนั้นๆ แต่ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจนตรงกันว่าแท้จริงแล้วปัจจัยเสี่ยงตัวใดหรือกลุ่มใด<br />

เป็นตัวการสําคัญที ่สุดที ่มีผลต่อการหยุดหายใจขณะนอนหลับ ทั้งนี ้อาจเนื ่องมาจากความแตกต่าง<br />

ของแบบแผนการวิจัย รวมถึงความแตกต่างด้านสรีรวิทยาและพฤติกรรมของแต่ละเชื ้อชาติก็เป็นได้<br />

การศึกษาวิจัยครั้งนี ้ผู้วิจัยได้ทําการศึกษาปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีระ คือ การสะสมของไขมันตาม<br />

ส่วนต่างๆ ของร่างกายที ่ได้จากการวัดขนาดร่างกายและค่าดัชนีมวลกายในกลุ่มผู้ป่วยที ่เข้ารับการ<br />

ตรวจรักษาในคลินิกพิเศษนอนกรนแผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโดยมุ่งหวังจะ<br />

ได้ตัวอย่างข้อมูลทางด้านสรีระวิทยาและการสะสมของไขมันของประชากรไทย แล้วนํามาวิเคราะห์<br />

ความแตกต่างเพื ่อนําไปใช้ประโยชน์ในการพยากรณ์ภาวะดังกล่าวในประชากรไทยกลุ่มอื ่น ๆ ซึ ่งมี<br />

ความคล้ายกันทั้งด้านสรีรวิทยา และพฤติกรรมมากกว่าข้อมูลจากต่างประเทศ<br />

จากผลการศึกษาจะเห็นได้ว่าปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีระวิทยา 3 ปัจจัย คือ ดัชนีมวลกาย (BMI)<br />

รอบคอ (NC) และรอบอก (CC) มีความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจ<br />

ขณะนอนหลับอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ในขณะที ่ไม่พบว่ามีค่ารอบเอวต่อสะโพก (W/H ratio) และ<br />

แต้มจากแบบประเมินการง่วงนอน (ESS) ที ่แตกต่างกัน โดยที ่อายุของประชากรที ่ศึกษาไม่แตกต่าง<br />

กัน นั่นย่อมแสดงให้เห็นว่าเมื ่อปัจจัยเสี ่ยง 3 ประการเปลี ่ยนแปลงไปก็น่าจะมีการเปลี ่ยนแปลงความ<br />

รุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับด้วย ซึ ่งเป็นไปในแนวเดียวกับที ่เคยมีการศึกษาใน<br />

ต่างประเทศ ส่วนแต้มจากแบบประเมินการง่วงนอน (ESS) นั้นไม่แตกต่างกันซึ ่งเป็นไปได้ว่าการให้<br />

คะแนนเป็นแต้มได้จากการประเมินจากอาการที่ผู้ป่วยเป็นผู้ประเมินเอง มีหัวข้อที่ประเมินเพียง 8<br />

เหตุการณ์ และมีคะแนนเพียง 0,1,2 และ 3 ให้เลือก ทําให้ผลคะแนนที ่ได้ไม่แตกต่างกันมากในกลุ่ม<br />

ศึกษาแต่ละกลุ่ม โดยผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตุว่า แม้แต่ในกลุ่มที ่จํานวนครั้งของการหยุดหายใจและการ<br />

หายใจน้อยลงใน 1 ชั่วโมง ( Apnea Hypopnea Index : AHI


22<br />

ส่วนค่ารอบเอวต่อสะโพก (W/H ratio) นั้นโดยปกติถ้าแยกศึกษาเป็นรอบเอว( W) หรือ รอบ<br />

สะโพก(H) ตัวใดตัวหนึ่งก็ อาจมีความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มวิจัยได้ แต่การนําค่าทั้งสองมาเป็น<br />

อัตราส่วนกันนั้น แม้ว่าจะมีการเพิ่มขึ ้นของรอบเอว( W) ก็อาจทําให้ค่าอัตราส่วนเปลี ่ยนไปไม่มาก<br />

เป็นผลให้ค่าอัตราส่วนรอบเอวต่อสะโพก (W/H ratio) ไม่แตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม<br />

อย่างไรก็ตามการวิจัยครั้งนี ้ผู้วิจัยยังนําข้อมูลที ่ได้มาทําการศึกษาวิเคราะห์ต่อไปอีกถึงการ<br />

พยากรณ์ความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ โดยวิธีOrdinal Logistic Regression<br />

พบว่าเฉพาะค่ารอบอก (CC) เท่านั้นที ่หากมีการเปลี่ยนแปลงแล้วจะมีความสัมพันธ์กับการ<br />

เปลี ่ยนแปลงของระดับความรุนแรง โดยพบว่าค่ารอบอก (CC) ที่เพิ่มขึ้นทุก 1 เซนติเมตรจะมีความ<br />

เสี ่ยงต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับเพิ่มขึ ้น 1.65 เท่า<br />

เมื ่อนําข้อมูลจากค่าเฉลี ่ยของปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีระและการสะสมของไขมันมาพิจารณาร่วมกับ<br />

ข้อมูลวิธี Ordinal Logistic Regression ทําให้ได้ข้อมูลสําคัญว่าปัจจัยเสี่ยงที่สําคัญที่สุดที่มีผลต่อ<br />

ภาวะและความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับคือ ขนาดของรอบอก (CC) ซึ ่งหากไม่ใช้วิธี<br />

นี ้ทําการศึกษาต่อจากข้อมูลที ่ได้ข้างต้นก็อาจสรุปว่าทั้งค่าดัชนีมวลกาย (BMI) รอบคอ (NC) และรอบ<br />

อก (CC) มีความสัมพันธ์ต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับเพราะมีความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม<br />

ศึกษา แต่เมื ่อทําการศึกษาโดยวิธีดังกล่าวแล้วกลับพบว่าค่าดัชนีมวลกาย (BMI) และรอบคอ (NC)<br />

นั้นจะบอกได้เพียงว่าผู้ป่วยน่าจะมีหรือไม่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับหรืออาจจะพอบอกได้ว่ามี<br />

ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับในระดับความรุนแรงใดเพราะค่าเฉลี ่ยของดัชนีมวลกาย (BMI) และ<br />

รอบคอ (NC) ที ่ได้มีความแตกต่างกันตามระดับความรุนแรงต่างๆของภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับ ซึ ่งถ้าเปรียบเทียบกับผลจากงานวิจัยอื ่น ๆของต่างประเทศก็เป็นไปในแนวเดียวกัน งานวิจัย<br />

ส่วนใหญ่มักจะเพียงสรุปผลเพียงเท่านั้น แต่เมื ่อผู้วิจัยนําวิธี Ordinal Logistic Regression มาใช้ใน<br />

การวิเคราะห์ร่วมกันทําให้ทราบว่าแม้ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) และรอบคอ (NC) จะสัมพันธ์กับภาวะ<br />

หยุดหายใจขณะนอนหลับแต่การเพิ่มขึ ้นของค่าปัจจัยดังกล่าวก็ไม่สัมพันธ์กับการเพิ่มระดับความ<br />

รุนแรงของภาวะหยุดหายใจ<br />

การวิจัยในครั้งนี ้ผู้วิจัยได้นําเสนอสมการที ่นํามาใช้พยากรณ์ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ<br />

ดังแสดงไว้ในบทก่อน โดยนําข้อมูลที ่ได้มาทําการพยากรณ์แล้วตรวจสอบความถูกต้องของการ<br />

พยากรณ์จะพบว่า ความจําเพาะ( Specificity) สูงแต่ความไว( Sensitivity) ไม่แน่นอน โดยกลุ่มที่มี<br />

ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับระดับเล็กน้อยมีความไวตํ่าที่สุดคือ 21.1% แต่กลับมีความจําเพาะ<br />

สูงสุดถึง 89.0 % ส่วนในกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจระดับรุนแรงนั้นพบว่า มีความไวสูงที่สุดถึง 78.9 %<br />

ทั้งยังมีความจําเพาะสูงถึง 85.9%<br />

โดยหากนําสมการการพยากรณ์ไปใช้จริงในทางคลินิกก็น่าจะประยุกต์ใช้ในแง่ว่า ถ้าสมการ<br />

พยากรณ์ว่าน่าจะมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับโดยเฉพาะในกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับระดับเล็กน้อยและกลุ่มที ่มีภาวะหยุดหายใจระดับรุนแรงก็ถือว่ามีความเป็นไปได้สูงที ่ผู้ป่วยจะมี


23<br />

ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับในกลุ่มนั้นๆจริง แต่ถ้าพยากรณ์ว่าน่าจะไม่มีภาวะหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับก็ยังไม่สามารถแยกภาวะนี ้ออกไปได้<br />

ดังนั้นการหาค่าดัชนีมวลกายและวัดขนาดร่างกายโดยใช้สายวัดตัวธรรมดาจึงเป็นวิธีที ่ง่ายและ<br />

ราคาถูก สมควรนํามาใช้ประเมินก่อนการทดสอบการนอนหลับ อย่างไรก็ตามคงต้องมีการศึกษา<br />

ต่อไปในประชากรศึกษาที ่มากขึ ้นเพื ่อความแม่นยําของค่าคงที ่ของสมการการพยากรณ์ซึ ่งอาจได้<br />

สมการที ่มีความไวสูงขึ ้นและสามารถนําไปใช้ได้จริงโดยเฉพาะในโรงพยาบาลหรือคลินิกที ่ไม่มีเครื ่อง<br />

ทดสอบการนอนหลับเพื ่อคัดกรองผู้ป่วยก่อนจะส่งต่อมายังโรงพยาบาลที ่มีเครื ่องทดสอบการนอน<br />

หลับซึ ่งจะน่าจะมีความแม่นยํามากกว่าการใช้แต้มประเมินอาการง่วงนอน (ESS) ที่ใช้กันอยู่ใน<br />

ปัจจุบัน


24<br />

บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา<br />

ปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีระ คือ การสะสมของไขมันตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที ่ได้จากการวัด<br />

ขนาดร่างกายและค่าดัชนีมวลกายในกลุ่มผู้ป่วยที ่เข้ารับการตรวจรักษาในคลินิกพิเศษนอนกรนแผนก<br />

โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าที ่สัมพันธ์กับภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับและมีความ<br />

แตกต่างกันตามระดับความรุนแรงต่างๆของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับได้แก่ค่าดัชนีมวลกาย<br />

(BMI) รอบคอ (NC) และรอบอก (CC) โดยมีความแตกต่างกันของค่าเฉลี ่ยในแต่ละกลุ่มศึกษาอย่างมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ<br />

ปัจจัยเสี ่ยงสําคัญที ่หากมีการเพิ่มขึ ้นจะเพิ่มความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ<br />

และใช้พยากรณ์ความรุนแรงของโรคคือค่ารอบอก (CC) โดยพบว่าค่ารอบอกที ่เพิ่มขึ ้นทุก 1<br />

เซนติเมตรจะมีความเสี ่ยงต่อภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับเพิ่มขึ ้น 1.65 เท่า<br />

การพยากรณ์โรคโดยนําปัจจัยที ่ศึกษาเข้าสมการการพยากรณ์และตรวจสอบความถูกต้อง<br />

ของการพยากรณ์พบว่า มีความไว( Sensitivity) อยู่ในระดับ 21.1 – 78.9 % และมีความจําเพาะ<br />

( Specificity) อยู่ในระดับ 78.9 – 89 %<br />

การวัดขนาดร่างกายและหาค่าดัชนีมวลกาย เป็นวิธีที ่ง่ายและราคาถูก สมควรนํามาใช้<br />

ประเมินก่อนการทดสอบการนอนหลับ


25<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

1. Byron J. Bailey . Head & Neck Surgery- Otolaryngology . Fourth edition,2006.<br />

2. Charles W. Cummings. Otolaryngology Head & Neck Surgery. Fourth edition,2005.<br />

3. Dancey DR, Hanly PJ, et all. Gender differences in sleep apnea: the role of neck<br />

circumference. Chest. 2003 May;123(5):1544-50.<br />

4. George CF, Kab V, et all. Sleep and breathing in professional football players . Sleep<br />

Med. 2003 Jul;4(4):317-25.<br />

5. Hui DS, Chan JK, et all. Prevalence of snoring and sleep-disordered breathing in a<br />

student population. Chest. 1999 Dec;116(6):1530-6.<br />

6. Khoo SM, Tan WC, et all. Risk factors associated with habitual snoring and sleepdisordered<br />

breathing in a multi-ethnic Asian population: a population-based study. Respir<br />

Med. 2004 Jun;98(6):557-66.<br />

7. Mortimore IL, Marshall I, et all. Neck and total body fat deposition in nonobese and<br />

obese patients with sleep apnea compared with that in control subjects. Am J Respir Crit<br />

Care Med. 1998 Jan;157(1):280-3.<br />

8. Namysłowski G, Scierski W, et all. Sleep study in patients with overweight and obesity. J<br />

Physiol Pharmacol. 2005 Dec;56 Suppl 6:59-65.<br />

9. Ocasio-Tascón ME, Alicea-Colón E, et all. The veteran population: one at high risk for<br />

sleep-disordered breathing. Sleep Breath. 2006 Jun;10(2):70-5.<br />

10. Oğretmenoğlu O, Süslü AE, et all. Body fat composition: a predictive factor for<br />

obstructive sleep apnea. Laryngoscope. 2005 Aug;115(8):1493-8.<br />

11. Sergi M, Rizzi M, Comi AL, et all. Sleep Apnea in Moderate-Severe Obese Patients.<br />

Sleep Breath. 1999;3(2):47-52.<br />

12. Sharma SK, Kumpawat S, Banga A, Goel A. Prevalence and risk factors of obstructive<br />

sleep apnea syndrome in a population of Delhi, India. Chest. 2006 Jul;130(1):149-56.<br />

13. Tashkandi Y, Badr MS, Rowley JA. Determinants of the apnea index in a sleep center<br />

population. Sleep Breath. 2005 Dec;9(4):181-6.<br />

14. Tishler PV, Larkin EK, et all. Incidence of sleep-disordered breathing in an urban adult<br />

population: the relative importance of risk factors in the development of sleep-disordered<br />

breathing. JAMA. 2003 May 7;289(17) :2230-7.<br />

15. Ward Flemons W, McNicholas WT,et all. Clinical prediction of the sleep apnea<br />

syndrome. Sleep Medicine Reviews.1997 Nov;1(1):19-32.


26<br />

ภาคผนวก<br />

เอกสารชี้แจงข้อมูลแก่ผู ้เข้าร่วมโครงการวิจัยและหนังสือแสดงความยินยอม<br />

ก.ใบยินยอมเข้าร่วมทําการวิจัย<br />

การศึกษาปัจจัยเสี ่ยงด้านสรีรวิทยาและดัชนีมวลกายในกลุ่มผู้ที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับที ่เข้ารับการตรวจรักษาในแผนก โสด ศอ นาสิก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

ผู้ดําเนินการวิจัย :<br />

พญ.กฤษณา ไทยทอง ผู้วิจัย<br />

พ.อ.ประสิทธิ์มหากิจ อาจารย์ที ่ปรึกษา<br />

สถานที่ทําการวิจัยและสถานที่ที่ผู ้เข้าร่วมวิจัยสามารถติดต่อได้<br />

กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

เนื ่องด้วยปัจจุบันภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ มีอุบัติการณ์เพิ่มมากขึ ้น ซึ ่งอาจเนื ่องมาจาก<br />

ประชากรในปัจจุบันมีแนวโน้มทางโภชนาการที ่ก่อภาวะอ้วนมากขึ ้นและเทคโนโลยีทางการแพทย์<br />

ทันสมัยขึ ้นสามารถวินิจฉัยได้แม่นยําและแพร่หลายกว่าแต่ก่อน ปัจจัยเสี ่ยงต่าง ๆ ที ่มีผลต่อกลุ่ม<br />

อาการหยุดหายใจขณะนอนหลับ มีการศึกษาก่อนหน้านี ้มากมาย ปัจจัยเสี ่ยงดังกล่าวได้แก่ เพศ อายุ<br />

นํ ้าหนักตัว รอบเอว รอบสะโพก รอบคอ รอบอก โคเลสเตอรอลในกระแสเลือด ปริมาณการดื ่ม<br />

แอลกอฮอล์ ขนาดของทางเดินหายใจ และอีกหลายปัจจัยที ่มีผู้พยายามทําการศึกษา<br />

ปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าวถือเป็นข้อมูลที ่ได้จากผู้ป่วยที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับซึ ่งเป็น<br />

กลุ่มอาการหรือภาวะที ่มีอันตราย คือ ทําให้ประสิทธิภาพการทํางานของสมองลดลง และถ้ามีการ<br />

หยุดหายใจอยู่ในขั้นรุนแรงอาจถึงเสียชีวิต ผู้ป่วยมักจะมาพบแพทย์ด้วยอาการกรนเสียงดัง มีการ<br />

สะดุ้งตื ่นเวลากลางคืน หลังจากตื ่นขึ ้นมาตอนเช้าพบว่าผู้ป่วยไม่รู้สึกแจ่มใส คล้ายกับไม่ได้พักผ่อน<br />

ในตอนกลางวันมักจะมีอาการง่วงนอนผิดปกติ อย่างไรก็ตามอาการต่าง ๆ ดังกล่าวไม่สามารถบอก<br />

ได้เป็นที ่แน่นอนว่าผู้ป่วยมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับจริง เมื ่อผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการ<br />

ดังกล่าว แพทย์จะแนะนําให้ผู้ป่วยทําการทดสอบการนอนด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับ<br />

(Polysomnogram) ซึ ่งเครื ่องทดสอบการนอนหลับจะรายงานว่าผู้ป่วยมีการหยุดหายใจน้อยเป็น<br />

จํานวนครั้งต่อชั่วโมง โดยที ่คนปกติจะมีภาวะหยุดหายใจหรือหายใจน้อยไม่เกิน 5 ครั้งต่อชั่วโมง ถ้า<br />

มีการหยุดหายใจตั้งแต่ 5 ถึงไม่เกิน 15 ครั้งต่อชั่วโมง ถือเป็นกลุ่มผู้ป่วยที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะ<br />

นอนหลับเล็กน้อยถ้ามีการหยุดหายใจขณะนอนหลับปานกลาง และหากมีการหยุดหายใจตั้งแต่ 30<br />

ครั้งต่อชั่วโมงขึ ้นไป ถือเป็นกลุ่มผู้ป่วยที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับรุนแรง<br />

การศึกษานี ้เป็นการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที ่เคยมีผู้ทําการศึกษามาแล้วในต่างประเทศว่ามีผล<br />

แตกต่างชัดเจนระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที ่มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับกับกลุ่มคนปกติ โดยการศึกษา


27<br />

นี ้มุ่งสนใจปัจจัยด้านสรีระซึ ่งก็คือ การสะสมของไขมันตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและนํ ้าหนักตัว<br />

เทียบกับส่วนสูง โดยการศึกษาในต่างประเทศพบว่าผู้ป่วยที ่มีการสะสมของไขมันมากจะมีอัตราเสี ่ยง<br />

ต่อภาวการณ์หยุดหายใจขณะนอนหลับมากและผู้ป่วยที ่มีนํ ้าหนักตัวเทียบกับส่วนสูงมาก ( BMI )<br />

โดยเฉพาะกลุ่มคนอ้วนที ่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 30 จะมีอัตราเสี ่ยงของภาวะหยุดหายใจขณะนอน<br />

หลับมากเช่นกัน เหตุที ่การศึกษานี ้มุ่งเน้นเฉพาะปัจจัยด้านสรีระและนํ ้าหนักตัวนั้นเนื ่องจากง่ายต่อ<br />

การวัดโดยแม้มิใช่บุคลากรทางการแพทย์ ทําให้สามารถคัดกรองผู้มีความเสี ่ยงได้อย่างกว้างขวาง<br />

กว่าที ่จะใช้เฉพาะในโรงพยาบาล<br />

การศึกษานี ้จะทําการศึกษาว่าในประเทศไทย โดยเฉพาะในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้ามี<br />

ข้อมูลเช่นเดียวกันกับที ่มีการศึกษาในต่างประเทศหรือไม่ โดยจะนําข้อมูลที ่ได้มาเป็นส่วนหนึ ่งในการ<br />

วินิจฉัยและวางแผนการรักษาหรือบอกการพยากรณ์โรค และหากต่อไปอาจสามารถพัฒนาไปใช้กับ<br />

ผู้ป่วยที ่ไม่ได้มีการทดสอบการนอนหลับด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับก็ยังสามารถบอกได้คร่าว ๆ<br />

ว่าน่าจะมีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับหรือไม่ และรุนแรงเพียงใด การให้ผู้ป่วยทดสอบการนอน<br />

ด้วยเครื ่องทดสอบการนอนหลับ ทางแผนก โสด ศอ นาสิก จะนัดผู้ป่วยทุกคนที ่สงสัยมาทดสอบโดย<br />

รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลและค่าใช้จ่ายต่อการทดสอบ 1 ครั้งประมาณ 8,700 บาท<br />

กรณีที ่ท่านปฏิเสธเข้าร่วมการวิจัย ท่านยังคงได้รับการวินิจฉัยและรักษาโดยวิธีดั้งเดิมตามวิธี<br />

มาตรฐานทุกประการ กรณีที ่ท่านไม่สามารถเข้าร่วมโครงการวิจัยต่อ หรืออาจเข้าร่วมระยะหนึ ่ง ท่าน<br />

สามารถถอนตัวได้ตลอดเวลาโดยไม่มีเงื ่อนไข<br />

ขณะทําการวิจัยนี ้ หากมีข้อมูลใหม่เกี ่ยวข้องกับการวิจัย ทางผู้วิจัยจะแจ้งแก่ผู้เข้าร่วมวิจัยให้<br />

เร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้<br />

กรณีท่านอ่านข้อมูลการวิจัยแล้ว สมัครใจเข้าร่วมการวิจัยดังกล่าว กรุณาเซ็นชื ่อกํากับใน<br />

เอกสารยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัยด้วย<br />

หากท่านมีข้อสงสัยในรายงานเข้าร่วมโครงการวิจัยนี ้ โปรดติดต่อ<br />

พญ.กฤษณา ไทยทอง กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

โทร. 02-3547600 ต่อ 93170 มือถือ 086-3092796<br />

นายแพทย์ ประสิทธิ์ มหากิจ กองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า<br />

โทร 02-3547600 ต่อ 93170<br />

อนึ ่ง ถ้าท่านมีปัญหาหรือมีข้อร้องเรียนกับโครงการวิจัยนี ้ สามารถติดต่อกับคณะกรรมการ<br />

พิจารณางานวิจัยวิทยาลัยแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โทร 02-3547600 ต่อ 93170


28<br />

่<br />

่<br />

ลายเซ็นผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย<br />

( )<br />

วันที่<br />

ลายเซ็น/ชื ่อผู้วิจัย<br />

( )<br />

วันที่<br />

ลายเซ็น/ชื ่อพยานคนที 1<br />

( )<br />

วันที่<br />

ลายเซ็น/ชื ่อพยานคนที 2<br />

( )<br />

วันที่


แบบประเมินอาการง่วงนอน<br />

29


เอกสารการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย<br />

31

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!