28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทที่ 5 อภิปรายผล<br />

ผู้ ป่ วย Deep neck infection ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พบอุบัติการณ์ร้อยละ 9.50<br />

ของผู ้ป่ วยที่นอนโรงพยาบาลในแผนกโสต ศอ นาสิก ซึ่งใกล้เคียงกับ pilot study ที่ได้ร้อยละ 10<br />

แต่เมื่อเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลชัยภูมิที่มีอุบัติการณ์ร้อยละ 21 1 ถือว่าต่างกันมากถึงสองเท่า<br />

อาจเนื่องจากประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจํานวนมากกว่ามาก จากการศึกษานี ้พบ<br />

ผู ้ป่ วยตั ้งแต่อายุ 5-93 ปี อายุเฉลี่ย 36.86 ปี ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุดคือ 21-30 ปี (24.62%) ซึ่ง<br />

สอดคล้องกับข้อมูลจากโรงพยาบาลอื่นๆ 1-4 ที่พบผู ้ป่ วยอยู่ในวัยทํางานมากที่สุด<br />

ตําแหน่งที่มีการอักเสบติดเชื ้อมากที่สุดในการศึกษานี ้คือ peritonsillar space (29.23%)<br />

รองลงมาคือ Submandibular space (20%) เมื่อเปรียบเทียบกับ โรงพยาบาลขอนแก่น 2 พบ<br />

Submandibular space มากที่สุด 32.49% รองลงมาคือ Parotid space 25.1% , โรงพยาบาล<br />

รามาธิบดี4 พบ Masticator space และ submandibular space มากที่สุด(27.4%) จะเห็นได้<br />

ว่า Submandibular space infection พบได้บ่อยทั ้งในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ,<br />

Parotid space abscess พบได้น้อยใน ภาคกลาง แต่พบเป็ นอันดับต้นๆใน ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ และเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลกับประเทศแถบเอเชียด้วยกัน (Huang TT,et al 7<br />

ประเทศไต้หวันและ Lee JK ,et al 6 ประเทศเกาหลี) พบ parapharyngeal space มากที่สุด ตาม<br />

ด้วย Submandibular space<br />

CT scan เป็ นเครื่องมือสําคัญในการช่วยวินิจฉัย deep neck infection 7,9 เนื่องจาก<br />

สามารถแยกฝี หนองกับ cellulitis ได้<br />

6,7 นอกจากนั ้นยังบอกขอบเขตการลุกลามของโรคและเป็ น<br />

แนวทางในการวางแผนรักษาได้ แต่ไม่จําเป็ นต้องทําทุกรายเช่น รายที่ดูดเจาะได้หนองชัดเจน แต่<br />

อาจทําCT scan เมื่ออาการของผู ้ป่ วยไม่ดีขึ ้นหลังรักษา 24-48 ชั่วโมง เช่นเดียวกันหากดูดเจาะ<br />

ไม่ได้หนองอาจลองให้ยาปฏิชีวนะไปก่อนและเฝ้ าติดตามอาการ หากผู ้ป่ วยไม่ดีขึ ้นภายใน 24-48<br />

ชั่วโมงแนะนําให้ทํา CT scan 8,9<br />

สาเหตุของการอักเสบติดเชื ้อที่พบมากที่สุดจากการศึกษานี ้และการศึกษาอื่นๆ ทั ้งในและ<br />

ต่างประเทศ พบเหมือนกัน คือติดเชื ้อที่ฟัน (31%-80%) 1-4,5-7,9 รองลงมาคือทอนซิลอักเสบ 5 บาง<br />

รายไม่ทราบสาเหตุในการศึกษานี ้พบ13.85% ซึ่งพบน้อยกว่าการศึกษาอื่นๆ (25%-73%) 5-7<br />

จากการศึกษานี ้จะเห็นได้ว่าตําแหน่งที่พบการอักเสบมากที่สุด คือ Peritonsillar infection<br />

กับสิ่งที่คิดว่าน่าจะเป็ นสาเหตุที่พบมากที่สุด คือฟันผุ ไม่มีค่อยมีความเกี่ยวข้องกัน เนื่องจากส่วน<br />

ใหญ่ peritonsillar abscess มักมีสาเหตุมาจากทอนซิลอักเสบ 8 จากการศึกษาของ Galioto NJ. 8<br />

ที่สันนิษฐานว่าเมื่อเกิดทอนซิลอักเสบทําให้ Weber’s glands (กลุ่ม mucous salivary glands ที่<br />

อยู่เหนือต่อทอนซิลบริเวณเพดานอ่อนและมีท่อเชื่อมระหว่างต่อมนํ ้าลายกับทอนซิล) เกิดการ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!