28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การอักเสบติดเชื ้ อในช่องเยื่อหุ้มคอชั ้นลึกของโรงพยาบาล<br />

ภูมิพลอดุลยเดช<br />

Deep neck infection in Bhumibol Adulyadej<br />

Hospital<br />

โดย<br />

แพทย์หญิงรัศมี ซิ ่งเถียรตระกูล<br />

การวิจัยนี ้ถือเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาและการฝึ กอบรมตามหลักสูตร<br />

เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม<br />

สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา ของแพทยสภา พุทธศักราช 2550<br />

ลิขสิทธิ ์ของสถาบันฝึ กอบรม<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช


คํารับรองจากสถาบันฝึ กอบรม<br />

ข้าพเจ้าขอรับรองว่ารายงานฉบับนี ้เป็นผลงานของ แพทย์หญิงรัศมี ซิ ่งเถียรตระกูล<br />

ที ่ได้ทําการวิจัยขณะรับการฝึกอบรม ตามหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านและแพทย์ใช้ทุน<br />

สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2551 จริง<br />

...................................................................... อาจารย์ที ่ปรึกษาหลัก<br />

( นาวาอากาศโทหญิงกรองกาญจน์ ว่องคงคากุล )<br />

...................................................................... อาจารย์ที ่ปรึกษาร่วม<br />

(....................................................................)<br />

...................................................................... อาจารย์ที ่ปรึกษาร่วม<br />

(....................................................................)<br />

...................................................................................<br />

( นาวาอากาศเอกอรรถพล พัฒนครู )<br />

หัวหน้าภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช


บทคัดย่อภาษาไทย<br />

การอักเสบติดเชื้อในช่องเยื ่อหุ ้มคอชั้นลึกของโรงพยาบาลภูมิ<br />

พลอดุลยเดช<br />

รัศมี ซิ่งเถียรตระกูล, พบ. , นท.หญิงกรองกาญจน์ ว่องคงคากุล, พบ<br />

บทนํา : การอักเสบในช่องเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก(Deep neck infection) ที่เกิดกับผู ้คนจํานวนหนึ่งได้<br />

สร้างความเจ็บปวดทรมานทั ้งทางร่างกายและจิตใจแก่ผู ้ป่ วยและญาติเป็ นอย่างมาก ทาง<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช แผนกโสต ศอ นาสิกกรรม ก็ได้มีโอกาสดูแลผู ้ป่ วยที่เข้ามารับการ<br />

รักษาด้วยภาวะ Deep neck infection นี ้อย่างต่อเนื่อง จึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาข้อมูลของ<br />

ผู ้ป่ วยที่เกิดการอักเสบในเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก เพื่อเป็ นข้อมูลพื ้นฐานในการป้ องกันการเกิดโรคต่อไป<br />

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ของการอักเสบในช่องคอชั ้นลึก ของผู ้ป่ วยที่นอน<br />

โรงพยาบาล แผนกกอง โสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

รูปแบบและวิธีการศึกษา : เป็ นการศึกษาแบบเชิงพรรณนา (Descriptive study) โดยทําการ<br />

เก็บรวบรวมข้อมูลด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์และตัวแปรอื่นๆ เช่น อายุ, เพศ, โรคประจําตัว<br />

และ สาเหตุที่ทําให้เกิดโรค ในช่วงเดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551<br />

ผลการศึกษา : จํานวนผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์การศึกษามีทั ้งหมด 65 ราย เป็ นชาย 44 ราย (67.69%)<br />

และหญิง 21 ราย(32.31%) พบมาก ที่สุดช่วงอายุ 21-30 ปี อุบัติการณ์ของการอักเสบในช่องเยื่อ<br />

หุ ้มคอชั ้นลึกของผู ้ป่ วยที่นอนโรงพยาบาล แผนกกองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลย<br />

เดช คิดเป็ น ร้อยละ 9.50 ตําแหน่งของโรคที่พบได้บ่อยที่สุดคือ Peritonsillar space จํานวน 19<br />

ราย (29.23 %) รองลงมาคือ submandibular space 13 ราย (20%) เชื ้อโรคที่ก่อโรคพบมากสุด<br />

คือ Klebsiella pneumoniae และมักพบในผู ้ป่ วยที่เป็ นเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ ้นกับผู ้ป่ วย<br />

16 ราย(24.62%) พบมากสุดคือ ภาวะทางเดินหายใจอุดตัน มีผู ้ป่ วยเสียชีวิตหนึ่งรายจากภาวะ<br />

ติดเชื ้อในกระแสโลหิต และปอดอักเสบ


สรุปผลการศึกษา: การอักเสบในช่องเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึกยังคงเป็ นปัญหาสําคัญที่พบได้ทั่วทุก<br />

ภูมิภาคของประเทศไทย การให้ความรู ้ในการป้ องกันตนเองเช่นในการดูแลสุขภาพปากและฟัน<br />

เป็ นสิ่งสําคัญ นอกจากนี ้การวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็วยังเป็ นหัวใจสําคัญในการ<br />

ลดภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายแก่ชีวิตได้<br />

คําสําคัญ : Deep neck infection, Submandibular space, Peritonsillar abscess


Abstract<br />

Deep neck infection in Bhumibol Adulyadej Hospital<br />

Rusamee Singthientrakool, M.D.<br />

Introduction: Deep neck infection (DNI) is a serious illness for patient and their families.<br />

Deep neck infection remain to be problematic in Bhumibol Adulyadej Hospital.<br />

Objectives: To find out incidence of inpatient disease with deep neck infection in<br />

department of otolaryngology - Bhumibol Adulyadej Hospital.<br />

Materials and Methods: We conducted a retrospective and descriptive study of 65<br />

inpatients with deep neck infection in department of otolaryngology, Bhumibol Adulyadej<br />

Hospital between January 2005 and June 2008<br />

Results: Deep neck infection occurred at any ages which peak incidence during 21-30<br />

year of age. Incidence rate of deep neck infection in department of otolaryngology,<br />

Bhumibol Adulyadej Hospital is 9.5%. More common in male than female about 2 time.<br />

Peritonsillar space was the most common(29.23 %) and submandibular space infection<br />

was the second most common (20%). The most common pathogen from culture was<br />

Klebsiella pneumoniae . Complication rate was 24.62% , airway distress was the most<br />

common complication and one patient died from sepsis with hospital acquired<br />

pneumonia.<br />

Conclusion: Deep neck infection continue to be problematic as encountered by<br />

otolaryngologist in diagnosis and treatment. Education about oral hygiene care and<br />

early to visiting the physician is importance to prevent morbidity and mortality rate. Early<br />

diagnosis and prompted treatment were the keys of success in treatment of these<br />

patients.<br />

Keywords: Deep neck infection, Submandibular space, Peritonsillar abscess


กิตติกรรมประกาศ<br />

รายงานการวิจัยฉบับนี ้สําเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ด้วยความกรุณาของคณาจารย์หลายท่าน ที่<br />

ให้คําปรึกษาแนะนํามาตลอด<br />

ขอกราบขอบพระคุณ นาวาอากาศเอกอรรถพล พัฒนครู หัวหน้าภาควิชาโสต<br />

ศอ นาสิกวิทยา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ที่ได้อนุญาตให้ทําการวิจัย, นาวาอากาศโทหญิง<br />

กรองกาญจน์ ว่องคงคากุล อาจารย์ที่ปรึกษาและควบคุมงานวิจัยแพทย์ประจําบ้าน , นาวา<br />

อากาศเอกจงรักษ์ พรหมใจรักษ์ ผู ้ให้คําแนะนํา ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆในรายงานนี ้<br />

และนาวาอากาศเอกหญิงสุภาพร กฤษณีไพบูลย์ ผู ้แนะนําและให้คําปรึกษาด้านการคํานวณขนาด<br />

ตัวอย่างและสถิติ การวิจัยนี ้สําเร็จได้ด้วยดี โดยความร่วมมือจาก เจ้าหน้าที่เวชระเบียน ที่ได้<br />

เสียสละเวลาสืบค้นข้อมูลต่างๆของผู ้ป่ วยที่ใช้ในงานวิจัยนี ้ ผู ้วิจัยขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี ้<br />

แพทย์หญิงรัศมี ซิ ่งเถียรตระกูล<br />

ผู ้วิจัย


สารบัญ<br />

หน้า<br />

คํารับรอง<br />

บทคัดย่อภาษาไทย<br />

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

สารบัญเรื่ อง<br />

สารบัญแผนภูมิและตาราง<br />

บทที่ 1 หลักการและเหตุผล<br />

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

บทที่ 4 ผลการศึกษา<br />

บทที่ 5 อภิปรายผล<br />

บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

ภาคผนวก<br />

แบบบันทึกข้อมูล/แบบสอบถาม<br />

เอกสารการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย


สารบัญแผนภูมิและตาราง<br />

หน้า<br />

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยของอายุผู ้ป่ วย<br />

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยที่มีโรคประจําตัว<br />

ตารางที่ 3 แสดงสาเหตุที่ทําให้เกิด deep neck infection<br />

ตารางที่ 4 แสดงผลการเพาะเชื ้อจากหนองของผู ้ป่ วย<br />

ตารางที่ 5 แสดงวิธีการดูแลรักษาผู ้ป่ วย<br />

แผนภูมิที่1 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละเพศ<br />

แผนภูมิที่2 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละช่วงอายุ<br />

แผนภูมิที่3 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละตําแหน่งของการอักเสบ<br />

แผนภูมิที่4 แสดงภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษา<br />

แผนภูมิที่5 แสดงจํานวนวันโดยเฉลี่ยที่ผู ้ป่ วยนอนโรงพยาบาล


บทที่ 1 หลักการและเหตุผล<br />

การอักเสบในช่องคอชั ้นลึก(Deep neck infection) เป็ นการอักเสบติดเชื ้อในช่องว่าง<br />

ระหว่างชั ้นเยื่อหุ ้มกระดูกและกล้ามเนื ้อบริเวณคอ 9,10 เป็ นได้ทั ้งการอักเสบแบบฝี หนอง(abscess)<br />

หรือไม่มีหนอง (cellulitis) ก็ได้ เมื่อยุคที่ยาปฏิชีวนะยังไม่พัฒนาพบผู ้ป่ วยเป็ นโรคนี ้กันมาก อัตรา<br />

การตายค่อนข้างสูง แต่ในปัจจุบันยาปฏิชีวนะได้พัฒนาไปมาก ร่วมกับการแพทย์ที่มีความรู ้และ<br />

ความชํานาญในโรคนี ้มากขึ ้น และประชาชนดูแลเอาใจใส่สุขภาพฟันมากขึ ้น ทําให้อุบัติการณ์ของ<br />

การอักเสบในช่องคอชั ้นลึกลดลง 9 แต่ถึงกระนั ้นก็ยังพบผู ้ป่ วยที่มีอาการรุนแรง มีภาวะแทรกซ้อนที่<br />

อันตรายอาจถึงแก่ชีวิตได้อยู่เสมอ 10 เช่นทางเดินหายใจส่วนต้นอุดตัน, หนองเซาะช่องอก<br />

(suppurative mediastinitis), หนองในเยื่อหุ ้มปอดหรือเยื่อหุ ้มหัวใจ, thrombosis of the jugular<br />

vein, venous septic emboli, septic shock และ disseminated intravascular<br />

coagulopathy 9,10 เป็ นต้น<br />

กลุ่มที่ต้องให้ความใส่ใจเป็ นพิเศษคือ ผู ้ป่ วยที่มีระบบภูมิคุ ้มกันตํ่า เช่นผู ้ป่ วยเบาหวานที่<br />

ควบคุมได้ไม่ดี ผู ้ป่ วยที่ได้รับเคมีบําบัด ผู ้ป่ วยโรคระบบภูมิคุ ้มกันบกพร่อง(เอดส์) หรือผู ้สูงอายุ<br />

มากๆ เนื่องจากการดําเนินโรคมีลักษณะค่อนข้างจําเพาะและมักติดเชื ้อที่รุนแรง การรักษาจึงต้อง<br />

ดูแลมากกว่าคนปกติ 10<br />

1-4,8-10,12<br />

สาเหตุการอักเสบติดเชื ้อ มักมีสาเหตุมาจากฟันผุ ผู ้ป่ วยส่วนใหญ่มักมีสุขภาพ<br />

ฟันและเหงือกที่ไม่ดี ไม่ค่อยให้ความสนใจในการดูแลรักษาสุขภาพฟัน เมื่อมีการอักเสบติดเชื ้อก็<br />

มักได้รับการรักษาที่ไม่เพียงพอ หรือมาพบแพทย์ช้า ซึ่งทําให้การอักเสบลุกลามไปมาก<br />

ผู ้จัดทําจึงสนใจที่จะศึกษาถึงอุบัติการณ์ของการอักเสบในช่องคอชั ้นลึก(Deep neck<br />

infection) ของผู้ ป่ วยที่นอนโรงพยาบาล แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

รวมถึงการศึกษาสาเหตุ เชื ้อที่พบบ่อย รวมถึงผลข้างเคียงที่ตามมา เพื่อเป็ นพื ้นฐานข้อมูลในการ<br />

หาวิธีการป้ องกันการอักเสบติดเชื ้อและเผยแพร่ข้อมูลให้ความรู ้แก่ประชาชนต่อไป<br />

คําถามการวิจัย<br />

อุบัติการณ์ของการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก (Deep neck infection) ของผู้ ป่ วยที่<br />

นอนโรงพยาบาล แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช เป็ นเท่าไร


วัตถุประสงค์หลัก<br />

เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ของการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก (Deep neck infection) ของ<br />

ผู้ ป่ วย ที่นอนโรงพยาบาล แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

วัตถุประสงค์รอง<br />

1) เพื่อศึกษาตําแหน่งของโรค deep neck infection ที่พบได้บ่อยที่สุด ในโรงพยาบาล<br />

ภูมิพลอดุลยเดช<br />

2) ศึกษาวิธีการรักษาผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก ว่าต้องรับการรักษา<br />

ด้วยวิธีผ่าตัด หรือเจาะคอช่วยหายใจมีจํานวนมากน้อยเพียงใด<br />

3) ศึกษาถึงเชื ้อที่พบได้บ่อยจากการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก รวมถึงความไวต่อยา<br />

และการดื ้อยาฆ่าเชื ้อในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

4) ศึกษาผลข้างเคียงที่เกิดตามมาหลังมีการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก<br />

ประโยชน์ที ่คาดว่าจะได้รับ<br />

1. ทราบถึงอุบัติการณ์ของผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบในช่องคอชั ้นลึก ของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลย<br />

เดช แผนกผู ้ป่ วยใน กองโสต ศอ นาสิกกรรม<br />

2. ทราบสาเหตุที่ทําให้เกิดการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก<br />

3. เป็ นพื ้นฐานข้อมูลในการหาวิธีการป้ องกันการอักเสบติดเชื ้อและเผยแพร่ข้อมูลให้ความรู ้<br />

แก่ประชาชนต่อไป


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม<br />

การอักเสบในช่องคอชั ้นลึก(Deep neck infection) พบได้ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย<br />

และพบได้ในต่างประเทศ โดยแต่ละพื ้นที่พบมากน้อยแตกต่างกัน แต่การดําเนินโรคและแนว<br />

ทางการรักษาส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน<br />

นายแพทย์สาธิต ก้านทอง ได้รายงานในวารสารขอนแก่นเวชสาร ปี ที่ 32 ฉบับพิเศษ 3<br />

เดือนเมษายน – พฤษภาคม 2551 ว่ามีอุบัติการณ์ของการอักเสบติดเชื ้อฝี หนองในช่องคอชั ้นลึกที่<br />

เกิดขึ ้นในโรงพยาบาลชัยภูมิ แผนกผู ้ป่ วยใน กองโสต ศอ นาสิกกรรม ช่วง พ.ศ. 2542 - 2550 เป็ น<br />

ร้ อยละ 21 พบ Buccal space infection มากที่สุด ร้อยละ 26.1 รองลงมาเป็ น Parotid space<br />

ร้ อยละ 13.2 ภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 13.2 อัตราการตายร้อยละ 0.8<br />

นายแพทย์ชูเกียรติ วงศ์นิจศีล ได้รายงานในวารสารขอนแก่นเวชสาร ปี ที่32 ฉบับที่2 เดือน<br />

เมษายน – มิถุนายน 2551 เก็บข้อมูลของผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อฝี หนองในช่องคอชั ้นลึกที่<br />

เกิดขึ ้นในโรงพยาบาลขอนแก่น ช่วง มกราคม พ.ศ. 2548 – ธันวาคม 2550 ตําแหน่งที่พบการติด<br />

เชื ้อมากที่สุดคือ Submandibular space ร้ อยละ 32.49 รองลงมาคือ Parotid space ร้ อยละ<br />

25.1 ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงร้อยละ 7.3 มีผู ้เสียชีวิตร้อยละ 1.04<br />

นายแพทย์กีร์ดนัย อัศวกุล ได้รายงานในวารสารหู คอ จมูกและใบหน้า ปี ที่ 8 ฉบับที่<br />

2/2550 โดยศึกษารายละเอียดของผู ้ป่ วย deep neck infection ที่เข้ามารับการรักษาใน<br />

โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา แบบย้อนหลังเป็ นเวลา 3 ปี ตําแหน่งที่พบการติดเชื ้อมากที่สุด<br />

คือ Submandibular และ submental space รองลงมาคือ Pertonsillar space เชื ้อที่พบบ่อย<br />

ได้แก่เชื ้อในกลุ่ม Streptococcus และ Klebsiella pneumoniae พบผู ้ป่ วยเสียชีวิต 3 ราย<br />

นายแพทย์จักรพงศ์ คล้ายคลึงและคณะ ได้รายงานในวารสารหู คอ จมูกและใบหน้า ปี ที่ 1<br />

ฉบับที่1/2543 เรื่อง Deep neck abscess : Clinical review in Ramathibodi hospital พบ<br />

ตําแหน่งที่มีการติดเชื ้อมากที่สุดคือ Masticator space และ submandibular space สาเหตุที่พบ<br />

บ่อยที่สุดคือติดเชื ้อจากฟัน ผลการเพาะเชื ้อพบ Streptococci มากที่สุดโดยเฉพาะ S.viridans<br />

ส่วนผู ้ป่ วยเบาหวานพบ Klebsiella pneumoniae มากที่สุด เสียชีวิต 2 ราย (3.4%)<br />

Alexandre Baba Suebara, et al ได้รายงานเรื่อง Deep neck infection- analysis of<br />

80 cases ไว้ในวารสาร Brazillian journal of otorhinolaryngology 2008 ฉบับที่ 74 โดยศึกษา<br />

ผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบในช่องเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก 80 ราย อายุที่พบมากที่สุดคือ 21-30ปี ฟันเป็ นสาเหตุ<br />

ที่พบมากที่สุด ตามด้วยทอนซิลอักเสบ ตําแหน่งการอักเสบพบ submandibular และ


parapharyngeal space infection มากที่สุด เชื ้อที่พบมากที่สุด S.aureus (37.5%) ตามด้วย<br />

streptococcus spp.(25%) ภาวะแทรกซ้อน 12.5% และเสียชีวิต 11.2%<br />

Joon-Kyoo Lee, et al ได้รายงานเรื่อง Predisposing factor of complicated deep<br />

neck infection : analysis of 158 case ตีพิมพ์ใน Yonsei medical journal, ประเทศเกาหลี ตัว<br />

แปรที่ทําให้นอนโรงพยาบาลนานขึ ้นอย่างมีนัยสําคัญได้แก่ การอักเสบลุกลามหลาย space และ<br />

เบาหวาน ( p


บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

รูปแบบและวิธีการวิจัย<br />

เป็ นการศึกษาแบบเชิงพรรณนา (Descriptive study) โดยทําการเก็บรวบรวมข้อมูลด้าน<br />

ลักษณะทางประชากรศาสตร์และตัวแปรอื่นๆ เช่น อายุ, เพศ, โรคประจําตัว และ สาเหตุที่ทําให้<br />

เกิดโรค<br />

ประชากรตัวอย่าง<br />

ผู ้ป่ วยในทั ้งหมดของแผนกโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ที่นอน<br />

โรงพยาบาลในช่วงเวลา เดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551<br />

เกณฑ์การคัดเข้า (Inclusion criteria)<br />

ผู ้ป่ วยทุกช่วงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก (Deep neck<br />

infection) ซึ่งได้แก่ submandibular space, submental space , peritonsillar space ,<br />

retropharyngeal space, parapharyngeal space, buccal space, and canine space<br />

abcess/cellulitis เป็ นต้น และจําเป็ นต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช แผนก โสต<br />

ศอ นาสิก ช่วงเวลาเดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551<br />

เกณฑ์การคัดออก (Exclusion criteria)<br />

1. ผู ้ป่ วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

2. ผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อบริเวณผิวหนังชั ้นตื ้น<br />

ขนาดตัวอย่าง (Sample size)<br />

คํานวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร<br />

n = Z 2 P(1-P)<br />

d 2<br />

กําหนด<br />

= 0.05<br />

Z = 1.65


P = อุบัติการณ์ของการเกิดโรค ซึ่งได้จากการศึกษานําร่อง( Pilot study) ในผู ้ป่ วยที่เข้า<br />

มารับการรักษาในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พบ 0.10<br />

d = ความคลาดเคลื่อนทางคลินิกที่ยอมรับได้ ในที่นี ้กําหนดให้เท่ากับ 0.02<br />

แทนค่า n = (1.65) 2 (0.10)(0.90 )<br />

(0.02) 2<br />

= 612<br />

ดังนั ้นในการศึกษาครั ้งนี ้จะเก็บข้อมูลของผู ้ป่ วยในที่เข้ามารับการรักษาในแผนก ENT<br />

จํานวน 620 คน<br />

วิธีการเลือกตัวอย่าง (Sampling technique)<br />

ทําการเลือกตัวอย่างแบบ Systematic random sampling<br />

วีธีการหรือสิ ่งแทรกแซง<br />

ไม่มี<br />

เครื ่องมือที ่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

แบบบันทึกข้อมูล ตามภาคผนวก<br />

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

1. เมื่ อได้ random sampling มาทั ้งหมด 620 คน แล้วเลือกเฉพาะผู ้ป่ วยที่ได้รับการ<br />

วินิจฉัยโรคในกลุ่ม deep neck infection เท่านั ้นซึ่งมีผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์ทั ้งหมด 65<br />

ราย<br />

2. ค้นหาประวัติ ข้อมูล ของผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์ (65 ราย)จากแฟ้ มผู ้ป่ วยใน มากรอกข้อมูล<br />

ที่ต้องการลงในแบบบันทึกที่ได้สร้างไว้<br />

3. รวบรวมข้อมูลของผู ้ป่ วยที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนา และนําเสนอในรูปของตาราง<br />

จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

1. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา จะนําเสนอในรูปของตาราง<br />

จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

2. วิเคราะห์อุบัติการณ์ของการเกิดการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก ของแผนกโสต ศอ<br />

นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช


ข้อจํากัด<br />

การวิจัยนีเป็ ้ นการศึกษาแบบย้อนหลัง ทําให้มีข้อจํากัดในการสืบค้นข้อมูลจากเวชระเบียน ซึ่งบาง<br />

ข้อมูลอาจเก็บได้ไม่ครบถ้วน<br />

จริยธรรม<br />

1.งานวิจัยนีเป็ ้ นการศึกษาแบบย้อนหลัง รวบรวมข้อมูลจากแฟ้ มประวัติผู ้ป่ วย ไม่ได้ใส่สิ่ง<br />

แทรกแซงใดๆ ให้กับผู ้ป่ วย<br />

2.งานวิจัยจะไม่เปิ ดเผยชื่อของผู ้ป่ วย


บทที่ 4 ผลการศึกษา<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช มีอุบัติการณ์ของการอักเสบ ติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก(Deep<br />

neck infection) เป็ นร้ อยละ 9.5 ของผู ้ป่ วยที่นอนโรงพยาบาลแผนกโสต ศอ นาสิก. เก็บข้อมูล<br />

ตั ้งแต่เดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551 ผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์มีทั ้งหมด 65 ราย เป็ นชาย 44<br />

ราย ( 67.69%) และเป็ นหญิง 21 ราย(32.31%) โดยพบเพศชายมากกว่าเพศหญิงถึงสองเท่า<br />

(แผนภูมิที่1)<br />

แผนภูมิที่1 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละเพศ<br />

พบผู ้ป่ วยตั ้งแต่อายุ 5-93 ปี อายุเฉลี่ยคือ 36.86 ปี ( ตารางที่ 1) ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุด<br />

คือ 21-30 ปี จํานวน 16 ราย(24.62%) ช่วงอายุที่พบได้บ่อยรองลงมาคือ 31-40 ปี พบ12 ราย<br />

(18.46%) ดังแผนภูมิที่ 2<br />

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยของอายุผู ้ป่ วย<br />

อายุเฉลี่ย (ปี) อายุกลาง(ปี) อายุน้อยที่สุด(ปี) อายุมากที่สุด (ปี)<br />

36.86 35 5 93


แผนภูมิที่ 2 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละช่วงอายุ<br />

ตําแหน่งที่พบมีการอักเสบติดเชื ้อมากที่สุดคือ peritonsillar space 19 ราย(29.23%)<br />

รองลงมาคือ Submandibular space 13 ราย(20%) ดังแผนภูมิที่ 3<br />

แผนภูมิที่3 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละตําแหน่งของการอักเสบ<br />

จํานวนผู้ปวย<br />

Anterior visceral space<br />

Retropharyngeal space + PPS<br />

1<br />

1<br />

Retropharyngeal space<br />

3<br />

Parotid space<br />

5<br />

Ludwig angina<br />

Peritonsillar + PPS<br />

1<br />

1<br />

Peritonsillar space<br />

19<br />

Canine space<br />

4<br />

Parapharyngeal space<br />

2<br />

Masticator space + PPS<br />

1<br />

Masticator space<br />

4<br />

Buccal space<br />

6<br />

Submand. + other space<br />

4<br />

Submandibular space<br />

13<br />

PPS = parapharyngeal space, submand. = submandibular space<br />

0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20


PPS=parapharyngeal space, submand. = submandibular space<br />

ผู้ ป่ วย 19 ราย มีโรคประจําตัวร่วมด้วย ( 29.52%) เบาหวานและความดันโลหิตสูงพบ<br />

มากที่สุด อย่างละ 7 ราย (10.77%) และ 3 รายมีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด (มีประวัติ<br />

ใช้ Warfarin 2 ราย, Aspirin 1 ราย) ดังตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 แสดงโรคประจําตัว(Underlying diseases)ของผู ้ป่ วย 19 /65 ราย (29.52%) (ผู ้ป่ วยบางรายมี<br />

โรคประจําตัวมากกว่าหนึ่ง)<br />

Underlying จํานวน ร้ อยละ Underlying diseases จํานวน ร้ อยละ<br />

diseases (ราย)<br />

(ราย)<br />

DM 7 10.77 Chronic renal failure 1 1.54<br />

Hypertension 7 10.77 Stroke 1 1.54<br />

Dyslipidemia 2 3.08 HIV infection 1 1.54<br />

Coagulopathy 3 4.62 Gout 1 1.54<br />

(drug)<br />

Heart disease 3 4.62 Generalize muscle 1 1.54<br />

weakness<br />

Asthma 1 1.54 alcoholism 1 1.54<br />

Hyperthyroidism 1 1.54 Deep vein thrombosis 1 1.54<br />

Anemia 2 3.08<br />

สิ่งที่พบร่วมกับการอักเสบ และคาดว่าน่าจะเป็ น สาเหตุที่ทําให้เกิดโรค พบมากสุดคือ<br />

ฟันผุ 33ราย ( 50.77%) ซึ่งพบร่วมกับการอักเสบหลายตําแหน่ง เช่น Submandibular space,<br />

Masticator space , Canine space , Buccal space และ Ludwig’s angina เป็ นต้นรองลงมา<br />

คือ ทอนซิลอักเสบ 18 ราย (27.69%) ซึ่งส่วนใหญ่พบร่วมกับ Peritonsillar space infection ดัง<br />

ตารางที่ 3<br />

ผลการเพาะเชื ้อจากหนองของผู ้ป่ วยพบว่า ส่วนใหญ่เพาะเชื ้อไม่ขึ ้น ส่วนที่เพาะขึ ้นมี 9<br />

ราย(13.85%) พบ Klebsiella pneumoniae มากที่สุดและสองในสามพบว่าเป็ นเบาหวานร่วม<br />

ด้วย ไม่พบการดื ้อยาของ Klebsiella pneumoniae เลย , เชื ้อที่ พบรองลงมาคือ<br />

Straphylococcus spp. และ Streptococcus spp. แต่พบว่ามีการดื ้อยาสูงมาก ดังตารางที่ 4


ตารางที่3 แสดงสิ่งที่พบร่วมและคาดว่าจะเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิด deep neck infection<br />

สาเหตุ<br />

จํานวนผู ้ป่ วย (ราย)(%)<br />

ฟันผุ 33 (50.77)<br />

ฟันคุด 2 (3.08)<br />

ทอนซิลอักเสบ 18 (27.69)<br />

เลือดแข็งตัวผิดปกติ 1 (1.54)<br />

สิ่งแปลกปลอม 2 (3.08)<br />

ไม่ทราบสาเหตุ 9 (13.85)<br />

รวม 65 (100)<br />

ตารางที่ 4 แสดงผลการเพาะเชื ้อจากหนองและเลือดของผู ้ป่ วย 65 ราย<br />

ชนิดของเชื้อแบคทีเรีย จํานวนผู ้ป่ วย(ราย)<br />

Klebsiella pneumoniae 3<br />

Beta-hemolytic streptococcus spp. 1<br />

Non hemolytic streptococcus spp. 1<br />

Straphylococcus spp. 2<br />

Samonella 1<br />

E.coli 1<br />

No growth 27<br />

No data 29<br />

การดูแลรักษาผู ้ป่ วย ผู ้ป่ วยทุกรายได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํา ผู ้ป่ วยมากกว่าครึ่ง<br />

(67.69%) ได้รับการผ่าตัดระบายหนอง ( Incisional & Drainage, I&D ) ทั ้งทางปาก(intraoral)<br />

หรือทางคอ(transcervical approach) โดยส่วนใหญ่ได้รับการทํา I&D เพียงครั ้งเดียว แต่ มี<br />

ผู้ ป่ วย3 ราย ที่ได้รับการผ่าตัดระบายหนองมากกว่า 1ครั ้ง เนื่องจากอาการไม่ดีขึ ้นหรือยังพบ<br />

หนองอยู่ จากการทํา CT scan ดังตารางที่ 5


วิธีการรักษา<br />

ตารางที่5 แสดงวิธีการดูแลรักษาผู ้ป่ วย<br />

จํานวนผู ้ป่ วย(ราย) %<br />

Conservative tx. 21 32.31<br />

I&D 44 67.69<br />

I&D with TT 3 4.61<br />

TT 1 1.54<br />

ET tube intubation 1 1.54<br />

I&D = Incisional and Drainage, TT= tracheostomy, ET tube intubation = endotracheal tube intubation<br />

ผู ้ป่ วยเบาหวานเกือบทุกรายต้องได้รับการผ่าตัดระบายหนอง 6/7 คน (87.5%) ในขณะที่<br />

ผู ้ที่ไม่มีเบาหวานสามารถรักษาได้ด้วยยาเพียงอย่างเดียว 21 ราย(36.21%) และต้องผ่าตัด 37<br />

ราย(63.79%)<br />

ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษาพบ 15 ราย ( 23.08%) มีปัญหาทางเดินหายใจลําบาก<br />

มากที่สุด( airway distress) 6 ราย(46%) รองลงมาคือภาวะติดเชื ้อในกระแสเลือด(sepsis) 3<br />

ราย(23%) , ปอดอักเสบ 2 ราย, หนึ่งรายพบ deep vein thrombosis หลังจากหยุดยา Warfarin,<br />

และหนึ่งรายเป็ น canine space abscess ร่วมกับ periorbital cellulitis (แผนภูมิที่ 4)<br />

แผนภูมิที่ 4 แสดงภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษา<br />

airway distress<br />

46%<br />

Pneumonia<br />

15%<br />

DVT<br />

8%<br />

periorbital cellulitis<br />

8%<br />

sepsis<br />

23%<br />

Total 15 ราย


DVT= Deep vein thrombosis<br />

อัตราการตายเท่ากับ 1.54 % พบเสียชีวิตหนึ่งรายเป็ น parotid abscess ต่อมามีติดเชื ้อ<br />

ในกระแสเลือด, ปอดอักเสบ และเสียชีวิตในที่สุด<br />

จํานวนวันที่ผู ้ป่ วยนอนโรงพยาบาล (ไม่รวมผู ้เสียชีวิต) พบตั ้งแต่ 2-25 วัน เฉลี่ย 9 วัน<br />

โดยส่วนใหญ่หากผู ้ป่ วยมีการอักเสบติดเชื ้อเพียงตําแหน่งเดียวมักนอนโรงพยาบาลไม่เกิน 7 วัน<br />

แต่ถ้ าอักเสบตั ้งแต่สองตําแหน่งขึ ้นไปจะนอนโรงพยาบาลนานขึ ้น (แผนภูมิที่5 )<br />

แผนภูมิที่ 5 แสดงจํานวนวันโดยเฉลี่ยที่ผู ้ป่ วยนอนโรงพยาบาล<br />

Submand. Submandibular +PPS +carotid +PPS + +carotid retropharynx space<br />

25<br />

Submandibular + Masticator space<br />

Submandibular + Masticator space<br />

Parapharyngeal space with other space<br />

Parapharyngeal space with other space<br />

Retropharyngeal space<br />

7<br />

13<br />

Retropharyngeal Parotid space<br />

6<br />

Parotid<br />

Ludwig<br />

space<br />

angina<br />

Peritonsillar space<br />

Ludwig angina<br />

Canine space<br />

Peritonsillar Masticator space space<br />

4<br />

8<br />

12<br />

จํานวนวันที่<br />

นอนรพ.<br />

จํานวนวันที่นอน<br />

รพ.<br />

Canine Buccal space space<br />

Submandibular space<br />

Masticator space<br />

Buccal space<br />

4<br />

12<br />

0 5 10 15 20 25 30<br />

5<br />

Submandibular space<br />

6<br />

0 5 10 15 20 25 30<br />

PPS = parapharyngeal space


บทที่ 5 อภิปรายผล<br />

ผู้ ป่ วย Deep neck infection ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พบอุบัติการณ์ร้อยละ 9.50<br />

ของผู ้ป่ วยที่นอนโรงพยาบาลในแผนกโสต ศอ นาสิก ซึ่งใกล้เคียงกับ pilot study ที่ได้ร้อยละ 10<br />

แต่เมื่อเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลชัยภูมิที่มีอุบัติการณ์ร้อยละ 21 1 ถือว่าต่างกันมากถึงสองเท่า<br />

อาจเนื่องจากประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจํานวนมากกว่ามาก จากการศึกษานี ้พบ<br />

ผู ้ป่ วยตั ้งแต่อายุ 5-93 ปี อายุเฉลี่ย 36.86 ปี ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุดคือ 21-30 ปี (24.62%) ซึ่ง<br />

สอดคล้องกับข้อมูลจากโรงพยาบาลอื่นๆ 1-4 ที่พบผู ้ป่ วยอยู่ในวัยทํางานมากที่สุด<br />

ตําแหน่งที่มีการอักเสบติดเชื ้อมากที่สุดในการศึกษานี ้คือ peritonsillar space (29.23%)<br />

รองลงมาคือ Submandibular space (20%) เมื่อเปรียบเทียบกับ โรงพยาบาลขอนแก่น 2 พบ<br />

Submandibular space มากที่สุด 32.49% รองลงมาคือ Parotid space 25.1% , โรงพยาบาล<br />

รามาธิบดี4 พบ Masticator space และ submandibular space มากที่สุด(27.4%) จะเห็นได้<br />

ว่า Submandibular space infection พบได้บ่อยทั ้งในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ,<br />

Parotid space abscess พบได้น้อยใน ภาคกลาง แต่พบเป็ นอันดับต้นๆใน ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ และเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลกับประเทศแถบเอเชียด้วยกัน (Huang TT,et al 7<br />

ประเทศไต้หวันและ Lee JK ,et al 6 ประเทศเกาหลี) พบ parapharyngeal space มากที่สุด ตาม<br />

ด้วย Submandibular space<br />

CT scan เป็ นเครื่องมือสําคัญในการช่วยวินิจฉัย deep neck infection 7,9 เนื่องจาก<br />

สามารถแยกฝี หนองกับ cellulitis ได้<br />

6,7 นอกจากนั ้นยังบอกขอบเขตการลุกลามของโรคและเป็ น<br />

แนวทางในการวางแผนรักษาได้ แต่ไม่จําเป็ นต้องทําทุกรายเช่น รายที่ดูดเจาะได้หนองชัดเจน แต่<br />

อาจทําCT scan เมื่ออาการของผู ้ป่ วยไม่ดีขึ ้นหลังรักษา 24-48 ชั่วโมง เช่นเดียวกันหากดูดเจาะ<br />

ไม่ได้หนองอาจลองให้ยาปฏิชีวนะไปก่อนและเฝ้ าติดตามอาการ หากผู ้ป่ วยไม่ดีขึ ้นภายใน 24-48<br />

ชั่วโมงแนะนําให้ทํา CT scan 8,9<br />

สาเหตุของการอักเสบติดเชื ้อที่พบมากที่สุดจากการศึกษานี ้และการศึกษาอื่นๆ ทั ้งในและ<br />

ต่างประเทศ พบเหมือนกัน คือติดเชื ้อที่ฟัน (31%-80%) 1-4,5-7,9 รองลงมาคือทอนซิลอักเสบ 5 บาง<br />

รายไม่ทราบสาเหตุในการศึกษานี ้พบ13.85% ซึ่งพบน้อยกว่าการศึกษาอื่นๆ (25%-73%) 5-7<br />

จากการศึกษานี ้จะเห็นได้ว่าตําแหน่งที่พบการอักเสบมากที่สุด คือ Peritonsillar infection<br />

กับสิ่งที่คิดว่าน่าจะเป็ นสาเหตุที่พบมากที่สุด คือฟันผุ ไม่มีค่อยมีความเกี่ยวข้องกัน เนื่องจากส่วน<br />

ใหญ่ peritonsillar abscess มักมีสาเหตุมาจากทอนซิลอักเสบ 8 จากการศึกษาของ Galioto NJ. 8<br />

ที่สันนิษฐานว่าเมื่อเกิดทอนซิลอักเสบทําให้ Weber’s glands (กลุ่ม mucous salivary glands ที่<br />

อยู่เหนือต่อทอนซิลบริเวณเพดานอ่อนและมีท่อเชื่อมระหว่างต่อมนํ ้าลายกับทอนซิล) เกิดการ


อักเสบ cellulitis และกลายเป็ น peritonsillar abscess ในที่สุด แต่ฟันผุจะเกี่ยวข้องกับการ<br />

อักเสบติดเชื ้อในหลายๆตําแหน่งรวมกัน เช่น submandibular space, Masticator space,<br />

canine space และ Ludwig’s angina เป็ นต้น ทําให้ผลรวมมีจํานวนมากกว่าสาเหตุอื่น 1-5<br />

เชื ้อที่เป็ นตัวก่อโรคจากการศึกษานี ้ได้ข้อมูลต่างจากการศึกษาอื่นๆ โดยเพาะเชื ้อขึ ้น<br />

แบคทีเรียแกรมลบ Klebsiella pneumoniae มากที่สุดซึ่งส่วนใหญ่เป็ นผู ้ป่ วยเบาหวาน แต่จาก<br />

การศึกษาอื่นๆ พบเชื ้อหลายชนิดรวมกัน(polymicrobial) โดยเฉพาะแบคทีเรียแกรมบวก<br />

Streptococcus spp. และ Straphylococcus spp. มากที่สุด 1-5 แต่ก็จะพบ Klebsiella<br />

pneumonia มากในผู ้ที่เป็ นเบาหวานเช่นกัน สาเหตุที่การศึกษานี ้ได้ข้อมูลต่างจากที่อื่นอาจ<br />

เนื่องจากการเก็บข้อมูลทําได้ไม่ครบถ้วนเนื่องจากเป็ นการศึกษาแบบย้อนหลัง และบางราย<br />

จําหน่ายออกจากโรงพยาบาลก่อนได้ผลเพาะเชื ้อ ส่วนเชื ้อแบคทีเรียกลุ่มไม่ใช้ออกซิเจนไม่พบ<br />

ข้อมูล เนื่องจากวิธีการเก็บตัวอย่างค่อนข้างลําบาก แต่คาดว่าน่าจะเป็ นเชื ้อในปากเช่นเดียวกับใน<br />

รายงานของต่างประเทศ 5,7,8<br />

โรคประจําตัวที่ส่งผลต่อการอักเสบพบเหมือนกันทุกการศึกษาคือ เบาหวาน 1-7,9 โดยมีการ<br />

ยืนยันชัดเจนว่าการพยากรณ์โรคแย่ลงจากมีโอกาสติดเชื ้อลุกลามไปหลายตําแหน่ง 6,7 เชื ้อที่พบมัก<br />

เป็ นแบคทีเรียแกรมลบ( Klebsiella pneumoniae ) 1-7 ซึ่งมีความรุนแรงมากกว่าแกรมบวกทั่วไป<br />

6,7<br />

ร่วมกับกระบวนการต่อสู ้กับเชื ้อโรคเป็ นไปอย่างล่าช้าเนื่องจากเลือดมีความหนืดมากกว่าปกติ<br />

การรักษามักต้องได้รับการผ่าตัดระบายหนองร่วมด้วย 6,7 มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง<br />

เกิดขึ ้นได้สูง และระยะเวลาที่ต้องนอนโรงพยาบาลนานกว่ากลุ่มที่ไม่เป็ นเบาหวานอย่างมี<br />

นัยสําคัญ(p


กว่า 3 วัน มักจะเลือกวิธีเจาะคอให้แก่ผู ้ป่ วย เนื่องจากแพทย์สามารถทําได้เองภายใต้การฉีดยาชา<br />

และยังไม่มีความพร้อมทางด้านใส่ท่อช่วยหายใจผ่าน fiberoptic bronchoscope<br />

สรุปการรักษา deep neck infection ประกอบด้วยหลักใหญ่ๆคือ การให้ยาปฏิชีวนะทาง<br />

หลอดเลือดดํา ,การผ่าตัดกําจัดสาเหตุและระบายหนองและการป้ องกันทางเดินหายใจอุดตัน 2<br />

ระยะเวลานอนโรงพยาบาลโดยเฉลี่ยจากการศึกษานี ้คือ 9 วัน พบว่าพอๆกับการศึกษา<br />

อื่นๆ 2-5 คือ 7-13 วัน ส่วนใหญ่ที่นอนโรงพยาบาลนานเนื่องจากมีภาวะแทรกซ้อน หรือติดเชื ้อ<br />

หลายตําแหน่งร่วมกัน 2-4<br />

อัตราการตาย จากการศึกษานี ้คือ 1.54% ซึ่งพบพอๆกับการศึกษาส่วนใหญ่ของทั ้งในและ<br />

ต่างประเทศ 1-3,5-7 (0.8-1.9%) แต่น้อยกว่าโรงพยาบาลรามาธิบดี4 (3.4%) และ Suebara AB,et<br />

al 5 ,ประเทศบราซิล(11.2%) ผู้ ป่ วย ที่เสียชีวิตส่วนใหญ่มีเบาหวานหรือภูมิคุ ้มกันตํ่าร่วมด้วย 2,5,6<br />

สาเหตุการตายพบคล้ายกันคือติดเชื ้อในกระแสเลือด 1-4,6 แต่บางรายพบหนองเซาะช่องอก<br />

(suppurative mediastinitis) ร่วมด้วย 1-4 และบางการศึกษาเสียชีวิตระหว่าง การแก้ไขทางเดิน<br />

หายใจอุดตัน 3<br />

การศึกษานีเป็ ้ นการศึกษาแบบย้อนหลังจึงทําให้ข้อมูลบางอย่างไม่สมบูรณ์ ร่วมกับ<br />

จํานวนประชากรที่นํามาศึกษาค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาอื่นๆ 1-3,5 ดังนั ้นข้อมูลที่<br />

ได้อาจมีความคลาดเคลื่อนเล็กน้อย


บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา<br />

การอักเสบติดเชื ้อในเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึกยังคงเป็ นปัญหาสําคัญที่พบได้ทั่วทุกภูมิภาคทั ้งใน<br />

และต่างประเทศ 1-11 อุบัติการณ์ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช 9.5% พบบ่อยอายุ 31-59 ปี เพศ<br />

ชายมากกว่าเพศหญิง พบ peritonsillar infection มากที่สุด และ submandibular space<br />

infection พบรองลงมา สาเหตุที่พบมากที่สุดคือฟันผุ เชื ้อที่ทําการเพาะได้จากหนองและเลือดพบ<br />

ทั ้งแกรมบวกและแกรมลบพอๆกัน ผู ้ป่ วยส่วนใหญ่มักต้องผ่าตัดระบายหนอง ภาวะแทรกซ้อนพบ<br />

23.08% มีปัญหาทางเดินหายใจลําบากมากที่สุด( airway distress) ระยะเวลานอนโรงพยาบาล<br />

โดยเฉลี่ย 9 วัน อัตราตาย 1.54%<br />

การวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และให้การรักษาอย่างเหมาะสม เป็ นหัวใจหลักใน<br />

การดูแลผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อในเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก และสามารถลดอัตราการเกิด<br />

2-4,9<br />

ภาวะแทรกซ้อนลงมาได้


เอกสารอ้างอิง<br />

1. สาธิต ก้านทอง. Retrospective study of incidence and treatment outcome of deep<br />

neck infection and facial space abscess for 491 patients at Chaiyaphum hospital<br />

during 1999 to 2007. ขอนแก่นเวชสาร 2008; 32 : 153-64<br />

2. ชูเกียรติ วงศ์นิจศีล. Deep neck abscess clinical review at Khon Kaen hospital.<br />

ขอนแก่นเวชสาร 2008;32(2):147-54<br />

3. กีร์ดนัย อัศวกุล. Deep neck infection in Maharat Nakhon Ratchasima hospital.<br />

วารสารหู คอ จมูกและใบหน้า 2007;2 :44-8<br />

4. จักรพงศ์ คล้ายคลึง, ลลิดา เกษมสุวรรณ, บุญชู กุลประดิษฐารมณ์. Deep neck<br />

abscess : Clinical review in Ramathibodi hospital. วารสารหู คอ จมูกและใบหน้า<br />

2000;1:43-7<br />

5. Subara AB, Goncalves AJ, Alcadipani FA, Kavabata NK, Menezes MB. Deep<br />

neck infection- analysis of 80 cases. Brazillian journal of otorhinolaryngology<br />

2008;74(2):253-9<br />

6. Lee JK, Kim HD, Lim SC. Predisposing factor of complicated deep neck<br />

infection : analysis of 158 case. Yonsei medical journal 2007;48:55-62<br />

7. Huang T, Tseng F, Lui T, Hsu C, Chen Y. Deep neck infection in diabetic<br />

patients : comparison of clinical picture and outcomes with non diabetic patients.<br />

Otolaryngology-Head and Neck surgery 2005;132:943-47<br />

8. Galioto NJ. Peritonsillar abscess. Annual clinical focus on infection disease:<br />

prevention, diagnosis and management 2008;77:199-202<br />

9. Alani A, Griffith H, Minhas S.S, Olliff J, Lee D. Parapharyngeal abscess:<br />

diagnosis, complications and management in adults. Eur Arch Otolaryngol<br />

2005 ; 262:345-50<br />

10. Coticchia JM, Getnick GS, Yun RD, Arnold JE. Age, site, and time specific<br />

differences in pediatric deep neck abscesses. Arch Otolaryngol hneck surgery<br />

2004; 130:201-7<br />

11. Ovassapian A, Tuncbilek M, Weitzel EK, Joshi CW. Airway management in adult<br />

patients with deep neck infection: A case series and review of literature. Anesth<br />

analg 2005; 100:585-89


ภาคผนวก<br />

แบบบันทึกข้อมูล<br />

ลําดับ HN เพศ อายุ<br />

โรค<br />

ประจําตัว<br />

จํานวน<br />

วัน TT I&D<br />

(ปี) admit ET (ครั้ง)<br />

ตําแหน่งที่ติด<br />

เชื้อ<br />

ผลpus c/s<br />

or H/C สาเหตุ ภาวะแทรกซ ้อน<br />

Sens &<br />

Resist.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!