28.04.2015 Views

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

Download - ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การอักเสบติดเชื ้ อในช่องเยื่อหุ้มคอชั ้นลึกของโรงพยาบาล<br />

ภูมิพลอดุลยเดช<br />

Deep neck infection in Bhumibol Adulyadej<br />

Hospital<br />

โดย<br />

แพทย์หญิงรัศมี ซิ ่งเถียรตระกูล<br />

การวิจัยนี ้ถือเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาและการฝึ กอบรมตามหลักสูตร<br />

เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม<br />

สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา ของแพทยสภา พุทธศักราช 2550<br />

ลิขสิทธิ ์ของสถาบันฝึ กอบรม<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช


คํารับรองจากสถาบันฝึ กอบรม<br />

ข้าพเจ้าขอรับรองว่ารายงานฉบับนี ้เป็นผลงานของ แพทย์หญิงรัศมี ซิ ่งเถียรตระกูล<br />

ที ่ได้ทําการวิจัยขณะรับการฝึกอบรม ตามหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านและแพทย์ใช้ทุน<br />

สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2551 จริง<br />

...................................................................... อาจารย์ที ่ปรึกษาหลัก<br />

( นาวาอากาศโทหญิงกรองกาญจน์ ว่องคงคากุล )<br />

...................................................................... อาจารย์ที ่ปรึกษาร่วม<br />

(....................................................................)<br />

...................................................................... อาจารย์ที ่ปรึกษาร่วม<br />

(....................................................................)<br />

...................................................................................<br />

( นาวาอากาศเอกอรรถพล พัฒนครู )<br />

หัวหน้าภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช


บทคัดย่อภาษาไทย<br />

การอักเสบติดเชื้อในช่องเยื ่อหุ ้มคอชั้นลึกของโรงพยาบาลภูมิ<br />

พลอดุลยเดช<br />

รัศมี ซิ่งเถียรตระกูล, พบ. , นท.หญิงกรองกาญจน์ ว่องคงคากุล, พบ<br />

บทนํา : การอักเสบในช่องเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก(Deep neck infection) ที่เกิดกับผู ้คนจํานวนหนึ่งได้<br />

สร้างความเจ็บปวดทรมานทั ้งทางร่างกายและจิตใจแก่ผู ้ป่ วยและญาติเป็ นอย่างมาก ทาง<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช แผนกโสต ศอ นาสิกกรรม ก็ได้มีโอกาสดูแลผู ้ป่ วยที่เข้ามารับการ<br />

รักษาด้วยภาวะ Deep neck infection นี ้อย่างต่อเนื่อง จึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาข้อมูลของ<br />

ผู ้ป่ วยที่เกิดการอักเสบในเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก เพื่อเป็ นข้อมูลพื ้นฐานในการป้ องกันการเกิดโรคต่อไป<br />

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ของการอักเสบในช่องคอชั ้นลึก ของผู ้ป่ วยที่นอน<br />

โรงพยาบาล แผนกกอง โสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

รูปแบบและวิธีการศึกษา : เป็ นการศึกษาแบบเชิงพรรณนา (Descriptive study) โดยทําการ<br />

เก็บรวบรวมข้อมูลด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์และตัวแปรอื่นๆ เช่น อายุ, เพศ, โรคประจําตัว<br />

และ สาเหตุที่ทําให้เกิดโรค ในช่วงเดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551<br />

ผลการศึกษา : จํานวนผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์การศึกษามีทั ้งหมด 65 ราย เป็ นชาย 44 ราย (67.69%)<br />

และหญิง 21 ราย(32.31%) พบมาก ที่สุดช่วงอายุ 21-30 ปี อุบัติการณ์ของการอักเสบในช่องเยื่อ<br />

หุ ้มคอชั ้นลึกของผู ้ป่ วยที่นอนโรงพยาบาล แผนกกองโสต ศอ นาสิกกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลย<br />

เดช คิดเป็ น ร้อยละ 9.50 ตําแหน่งของโรคที่พบได้บ่อยที่สุดคือ Peritonsillar space จํานวน 19<br />

ราย (29.23 %) รองลงมาคือ submandibular space 13 ราย (20%) เชื ้อโรคที่ก่อโรคพบมากสุด<br />

คือ Klebsiella pneumoniae และมักพบในผู ้ป่ วยที่เป็ นเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ ้นกับผู ้ป่ วย<br />

16 ราย(24.62%) พบมากสุดคือ ภาวะทางเดินหายใจอุดตัน มีผู ้ป่ วยเสียชีวิตหนึ่งรายจากภาวะ<br />

ติดเชื ้อในกระแสโลหิต และปอดอักเสบ


สรุปผลการศึกษา: การอักเสบในช่องเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึกยังคงเป็ นปัญหาสําคัญที่พบได้ทั่วทุก<br />

ภูมิภาคของประเทศไทย การให้ความรู ้ในการป้ องกันตนเองเช่นในการดูแลสุขภาพปากและฟัน<br />

เป็ นสิ่งสําคัญ นอกจากนี ้การวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้องและรวดเร็วยังเป็ นหัวใจสําคัญในการ<br />

ลดภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายแก่ชีวิตได้<br />

คําสําคัญ : Deep neck infection, Submandibular space, Peritonsillar abscess


Abstract<br />

Deep neck infection in Bhumibol Adulyadej Hospital<br />

Rusamee Singthientrakool, M.D.<br />

Introduction: Deep neck infection (DNI) is a serious illness for patient and their families.<br />

Deep neck infection remain to be problematic in Bhumibol Adulyadej Hospital.<br />

Objectives: To find out incidence of inpatient disease with deep neck infection in<br />

department of otolaryngology - Bhumibol Adulyadej Hospital.<br />

Materials and Methods: We conducted a retrospective and descriptive study of 65<br />

inpatients with deep neck infection in department of otolaryngology, Bhumibol Adulyadej<br />

Hospital between January 2005 and June 2008<br />

Results: Deep neck infection occurred at any ages which peak incidence during 21-30<br />

year of age. Incidence rate of deep neck infection in department of otolaryngology,<br />

Bhumibol Adulyadej Hospital is 9.5%. More common in male than female about 2 time.<br />

Peritonsillar space was the most common(29.23 %) and submandibular space infection<br />

was the second most common (20%). The most common pathogen from culture was<br />

Klebsiella pneumoniae . Complication rate was 24.62% , airway distress was the most<br />

common complication and one patient died from sepsis with hospital acquired<br />

pneumonia.<br />

Conclusion: Deep neck infection continue to be problematic as encountered by<br />

otolaryngologist in diagnosis and treatment. Education about oral hygiene care and<br />

early to visiting the physician is importance to prevent morbidity and mortality rate. Early<br />

diagnosis and prompted treatment were the keys of success in treatment of these<br />

patients.<br />

Keywords: Deep neck infection, Submandibular space, Peritonsillar abscess


กิตติกรรมประกาศ<br />

รายงานการวิจัยฉบับนี ้สําเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ด้วยความกรุณาของคณาจารย์หลายท่าน ที่<br />

ให้คําปรึกษาแนะนํามาตลอด<br />

ขอกราบขอบพระคุณ นาวาอากาศเอกอรรถพล พัฒนครู หัวหน้าภาควิชาโสต<br />

ศอ นาสิกวิทยา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ที่ได้อนุญาตให้ทําการวิจัย, นาวาอากาศโทหญิง<br />

กรองกาญจน์ ว่องคงคากุล อาจารย์ที่ปรึกษาและควบคุมงานวิจัยแพทย์ประจําบ้าน , นาวา<br />

อากาศเอกจงรักษ์ พรหมใจรักษ์ ผู ้ให้คําแนะนํา ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆในรายงานนี ้<br />

และนาวาอากาศเอกหญิงสุภาพร กฤษณีไพบูลย์ ผู ้แนะนําและให้คําปรึกษาด้านการคํานวณขนาด<br />

ตัวอย่างและสถิติ การวิจัยนี ้สําเร็จได้ด้วยดี โดยความร่วมมือจาก เจ้าหน้าที่เวชระเบียน ที่ได้<br />

เสียสละเวลาสืบค้นข้อมูลต่างๆของผู ้ป่ วยที่ใช้ในงานวิจัยนี ้ ผู ้วิจัยขอขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี ้<br />

แพทย์หญิงรัศมี ซิ ่งเถียรตระกูล<br />

ผู ้วิจัย


สารบัญ<br />

หน้า<br />

คํารับรอง<br />

บทคัดย่อภาษาไทย<br />

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

สารบัญเรื่ อง<br />

สารบัญแผนภูมิและตาราง<br />

บทที่ 1 หลักการและเหตุผล<br />

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม<br />

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

บทที่ 4 ผลการศึกษา<br />

บทที่ 5 อภิปรายผล<br />

บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

ภาคผนวก<br />

แบบบันทึกข้อมูล/แบบสอบถาม<br />

เอกสารการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย


สารบัญแผนภูมิและตาราง<br />

หน้า<br />

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยของอายุผู ้ป่ วย<br />

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยที่มีโรคประจําตัว<br />

ตารางที่ 3 แสดงสาเหตุที่ทําให้เกิด deep neck infection<br />

ตารางที่ 4 แสดงผลการเพาะเชื ้อจากหนองของผู ้ป่ วย<br />

ตารางที่ 5 แสดงวิธีการดูแลรักษาผู ้ป่ วย<br />

แผนภูมิที่1 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละเพศ<br />

แผนภูมิที่2 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละช่วงอายุ<br />

แผนภูมิที่3 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละตําแหน่งของการอักเสบ<br />

แผนภูมิที่4 แสดงภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษา<br />

แผนภูมิที่5 แสดงจํานวนวันโดยเฉลี่ยที่ผู ้ป่ วยนอนโรงพยาบาล


บทที่ 1 หลักการและเหตุผล<br />

การอักเสบในช่องคอชั ้นลึก(Deep neck infection) เป็ นการอักเสบติดเชื ้อในช่องว่าง<br />

ระหว่างชั ้นเยื่อหุ ้มกระดูกและกล้ามเนื ้อบริเวณคอ 9,10 เป็ นได้ทั ้งการอักเสบแบบฝี หนอง(abscess)<br />

หรือไม่มีหนอง (cellulitis) ก็ได้ เมื่อยุคที่ยาปฏิชีวนะยังไม่พัฒนาพบผู ้ป่ วยเป็ นโรคนี ้กันมาก อัตรา<br />

การตายค่อนข้างสูง แต่ในปัจจุบันยาปฏิชีวนะได้พัฒนาไปมาก ร่วมกับการแพทย์ที่มีความรู ้และ<br />

ความชํานาญในโรคนี ้มากขึ ้น และประชาชนดูแลเอาใจใส่สุขภาพฟันมากขึ ้น ทําให้อุบัติการณ์ของ<br />

การอักเสบในช่องคอชั ้นลึกลดลง 9 แต่ถึงกระนั ้นก็ยังพบผู ้ป่ วยที่มีอาการรุนแรง มีภาวะแทรกซ้อนที่<br />

อันตรายอาจถึงแก่ชีวิตได้อยู่เสมอ 10 เช่นทางเดินหายใจส่วนต้นอุดตัน, หนองเซาะช่องอก<br />

(suppurative mediastinitis), หนองในเยื่อหุ ้มปอดหรือเยื่อหุ ้มหัวใจ, thrombosis of the jugular<br />

vein, venous septic emboli, septic shock และ disseminated intravascular<br />

coagulopathy 9,10 เป็ นต้น<br />

กลุ่มที่ต้องให้ความใส่ใจเป็ นพิเศษคือ ผู ้ป่ วยที่มีระบบภูมิคุ ้มกันตํ่า เช่นผู ้ป่ วยเบาหวานที่<br />

ควบคุมได้ไม่ดี ผู ้ป่ วยที่ได้รับเคมีบําบัด ผู ้ป่ วยโรคระบบภูมิคุ ้มกันบกพร่อง(เอดส์) หรือผู ้สูงอายุ<br />

มากๆ เนื่องจากการดําเนินโรคมีลักษณะค่อนข้างจําเพาะและมักติดเชื ้อที่รุนแรง การรักษาจึงต้อง<br />

ดูแลมากกว่าคนปกติ 10<br />

1-4,8-10,12<br />

สาเหตุการอักเสบติดเชื ้อ มักมีสาเหตุมาจากฟันผุ ผู ้ป่ วยส่วนใหญ่มักมีสุขภาพ<br />

ฟันและเหงือกที่ไม่ดี ไม่ค่อยให้ความสนใจในการดูแลรักษาสุขภาพฟัน เมื่อมีการอักเสบติดเชื ้อก็<br />

มักได้รับการรักษาที่ไม่เพียงพอ หรือมาพบแพทย์ช้า ซึ่งทําให้การอักเสบลุกลามไปมาก<br />

ผู ้จัดทําจึงสนใจที่จะศึกษาถึงอุบัติการณ์ของการอักเสบในช่องคอชั ้นลึก(Deep neck<br />

infection) ของผู้ ป่ วยที่นอนโรงพยาบาล แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

รวมถึงการศึกษาสาเหตุ เชื ้อที่พบบ่อย รวมถึงผลข้างเคียงที่ตามมา เพื่อเป็ นพื ้นฐานข้อมูลในการ<br />

หาวิธีการป้ องกันการอักเสบติดเชื ้อและเผยแพร่ข้อมูลให้ความรู ้แก่ประชาชนต่อไป<br />

คําถามการวิจัย<br />

อุบัติการณ์ของการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก (Deep neck infection) ของผู้ ป่ วยที่<br />

นอนโรงพยาบาล แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช เป็ นเท่าไร


วัตถุประสงค์หลัก<br />

เพื่อศึกษาอุบัติการณ์ของการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก (Deep neck infection) ของ<br />

ผู้ ป่ วย ที่นอนโรงพยาบาล แผนก โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

วัตถุประสงค์รอง<br />

1) เพื่อศึกษาตําแหน่งของโรค deep neck infection ที่พบได้บ่อยที่สุด ในโรงพยาบาล<br />

ภูมิพลอดุลยเดช<br />

2) ศึกษาวิธีการรักษาผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก ว่าต้องรับการรักษา<br />

ด้วยวิธีผ่าตัด หรือเจาะคอช่วยหายใจมีจํานวนมากน้อยเพียงใด<br />

3) ศึกษาถึงเชื ้อที่พบได้บ่อยจากการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก รวมถึงความไวต่อยา<br />

และการดื ้อยาฆ่าเชื ้อในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

4) ศึกษาผลข้างเคียงที่เกิดตามมาหลังมีการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก<br />

ประโยชน์ที ่คาดว่าจะได้รับ<br />

1. ทราบถึงอุบัติการณ์ของผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบในช่องคอชั ้นลึก ของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลย<br />

เดช แผนกผู ้ป่ วยใน กองโสต ศอ นาสิกกรรม<br />

2. ทราบสาเหตุที่ทําให้เกิดการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก<br />

3. เป็ นพื ้นฐานข้อมูลในการหาวิธีการป้ องกันการอักเสบติดเชื ้อและเผยแพร่ข้อมูลให้ความรู ้<br />

แก่ประชาชนต่อไป


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม<br />

การอักเสบในช่องคอชั ้นลึก(Deep neck infection) พบได้ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย<br />

และพบได้ในต่างประเทศ โดยแต่ละพื ้นที่พบมากน้อยแตกต่างกัน แต่การดําเนินโรคและแนว<br />

ทางการรักษาส่วนใหญ่คล้ายคลึงกัน<br />

นายแพทย์สาธิต ก้านทอง ได้รายงานในวารสารขอนแก่นเวชสาร ปี ที่ 32 ฉบับพิเศษ 3<br />

เดือนเมษายน – พฤษภาคม 2551 ว่ามีอุบัติการณ์ของการอักเสบติดเชื ้อฝี หนองในช่องคอชั ้นลึกที่<br />

เกิดขึ ้นในโรงพยาบาลชัยภูมิ แผนกผู ้ป่ วยใน กองโสต ศอ นาสิกกรรม ช่วง พ.ศ. 2542 - 2550 เป็ น<br />

ร้ อยละ 21 พบ Buccal space infection มากที่สุด ร้อยละ 26.1 รองลงมาเป็ น Parotid space<br />

ร้ อยละ 13.2 ภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 13.2 อัตราการตายร้อยละ 0.8<br />

นายแพทย์ชูเกียรติ วงศ์นิจศีล ได้รายงานในวารสารขอนแก่นเวชสาร ปี ที่32 ฉบับที่2 เดือน<br />

เมษายน – มิถุนายน 2551 เก็บข้อมูลของผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อฝี หนองในช่องคอชั ้นลึกที่<br />

เกิดขึ ้นในโรงพยาบาลขอนแก่น ช่วง มกราคม พ.ศ. 2548 – ธันวาคม 2550 ตําแหน่งที่พบการติด<br />

เชื ้อมากที่สุดคือ Submandibular space ร้ อยละ 32.49 รองลงมาคือ Parotid space ร้ อยละ<br />

25.1 ภาวะแทรกซ้อนรุนแรงร้อยละ 7.3 มีผู ้เสียชีวิตร้อยละ 1.04<br />

นายแพทย์กีร์ดนัย อัศวกุล ได้รายงานในวารสารหู คอ จมูกและใบหน้า ปี ที่ 8 ฉบับที่<br />

2/2550 โดยศึกษารายละเอียดของผู ้ป่ วย deep neck infection ที่เข้ามารับการรักษาใน<br />

โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา แบบย้อนหลังเป็ นเวลา 3 ปี ตําแหน่งที่พบการติดเชื ้อมากที่สุด<br />

คือ Submandibular และ submental space รองลงมาคือ Pertonsillar space เชื ้อที่พบบ่อย<br />

ได้แก่เชื ้อในกลุ่ม Streptococcus และ Klebsiella pneumoniae พบผู ้ป่ วยเสียชีวิต 3 ราย<br />

นายแพทย์จักรพงศ์ คล้ายคลึงและคณะ ได้รายงานในวารสารหู คอ จมูกและใบหน้า ปี ที่ 1<br />

ฉบับที่1/2543 เรื่อง Deep neck abscess : Clinical review in Ramathibodi hospital พบ<br />

ตําแหน่งที่มีการติดเชื ้อมากที่สุดคือ Masticator space และ submandibular space สาเหตุที่พบ<br />

บ่อยที่สุดคือติดเชื ้อจากฟัน ผลการเพาะเชื ้อพบ Streptococci มากที่สุดโดยเฉพาะ S.viridans<br />

ส่วนผู ้ป่ วยเบาหวานพบ Klebsiella pneumoniae มากที่สุด เสียชีวิต 2 ราย (3.4%)<br />

Alexandre Baba Suebara, et al ได้รายงานเรื่อง Deep neck infection- analysis of<br />

80 cases ไว้ในวารสาร Brazillian journal of otorhinolaryngology 2008 ฉบับที่ 74 โดยศึกษา<br />

ผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบในช่องเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก 80 ราย อายุที่พบมากที่สุดคือ 21-30ปี ฟันเป็ นสาเหตุ<br />

ที่พบมากที่สุด ตามด้วยทอนซิลอักเสบ ตําแหน่งการอักเสบพบ submandibular และ


parapharyngeal space infection มากที่สุด เชื ้อที่พบมากที่สุด S.aureus (37.5%) ตามด้วย<br />

streptococcus spp.(25%) ภาวะแทรกซ้อน 12.5% และเสียชีวิต 11.2%<br />

Joon-Kyoo Lee, et al ได้รายงานเรื่อง Predisposing factor of complicated deep<br />

neck infection : analysis of 158 case ตีพิมพ์ใน Yonsei medical journal, ประเทศเกาหลี ตัว<br />

แปรที่ทําให้นอนโรงพยาบาลนานขึ ้นอย่างมีนัยสําคัญได้แก่ การอักเสบลุกลามหลาย space และ<br />

เบาหวาน ( p


บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา<br />

รูปแบบและวิธีการวิจัย<br />

เป็ นการศึกษาแบบเชิงพรรณนา (Descriptive study) โดยทําการเก็บรวบรวมข้อมูลด้าน<br />

ลักษณะทางประชากรศาสตร์และตัวแปรอื่นๆ เช่น อายุ, เพศ, โรคประจําตัว และ สาเหตุที่ทําให้<br />

เกิดโรค<br />

ประชากรตัวอย่าง<br />

ผู ้ป่ วยในทั ้งหมดของแผนกโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ที่นอน<br />

โรงพยาบาลในช่วงเวลา เดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551<br />

เกณฑ์การคัดเข้า (Inclusion criteria)<br />

ผู ้ป่ วยทุกช่วงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก (Deep neck<br />

infection) ซึ่งได้แก่ submandibular space, submental space , peritonsillar space ,<br />

retropharyngeal space, parapharyngeal space, buccal space, and canine space<br />

abcess/cellulitis เป็ นต้น และจําเป็ นต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช แผนก โสต<br />

ศอ นาสิก ช่วงเวลาเดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551<br />

เกณฑ์การคัดออก (Exclusion criteria)<br />

1. ผู ้ป่ วยที่ไม่ได้นอนโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช<br />

2. ผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อบริเวณผิวหนังชั ้นตื ้น<br />

ขนาดตัวอย่าง (Sample size)<br />

คํานวณขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตร<br />

n = Z 2 P(1-P)<br />

d 2<br />

กําหนด<br />

= 0.05<br />

Z = 1.65


P = อุบัติการณ์ของการเกิดโรค ซึ่งได้จากการศึกษานําร่อง( Pilot study) ในผู ้ป่ วยที่เข้า<br />

มารับการรักษาในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พบ 0.10<br />

d = ความคลาดเคลื่อนทางคลินิกที่ยอมรับได้ ในที่นี ้กําหนดให้เท่ากับ 0.02<br />

แทนค่า n = (1.65) 2 (0.10)(0.90 )<br />

(0.02) 2<br />

= 612<br />

ดังนั ้นในการศึกษาครั ้งนี ้จะเก็บข้อมูลของผู ้ป่ วยในที่เข้ามารับการรักษาในแผนก ENT<br />

จํานวน 620 คน<br />

วิธีการเลือกตัวอย่าง (Sampling technique)<br />

ทําการเลือกตัวอย่างแบบ Systematic random sampling<br />

วีธีการหรือสิ ่งแทรกแซง<br />

ไม่มี<br />

เครื ่องมือที ่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

แบบบันทึกข้อมูล ตามภาคผนวก<br />

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล<br />

1. เมื่ อได้ random sampling มาทั ้งหมด 620 คน แล้วเลือกเฉพาะผู ้ป่ วยที่ได้รับการ<br />

วินิจฉัยโรคในกลุ่ม deep neck infection เท่านั ้นซึ่งมีผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์ทั ้งหมด 65<br />

ราย<br />

2. ค้นหาประวัติ ข้อมูล ของผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์ (65 ราย)จากแฟ้ มผู ้ป่ วยใน มากรอกข้อมูล<br />

ที่ต้องการลงในแบบบันทึกที่ได้สร้างไว้<br />

3. รวบรวมข้อมูลของผู ้ป่ วยที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนา และนําเสนอในรูปของตาราง<br />

จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

การวิเคราะห์ข้อมูล<br />

1. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา จะนําเสนอในรูปของตาราง<br />

จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

2. วิเคราะห์อุบัติการณ์ของการเกิดการอักเสบติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก ของแผนกโสต ศอ<br />

นาสิก โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช


ข้อจํากัด<br />

การวิจัยนีเป็ ้ นการศึกษาแบบย้อนหลัง ทําให้มีข้อจํากัดในการสืบค้นข้อมูลจากเวชระเบียน ซึ่งบาง<br />

ข้อมูลอาจเก็บได้ไม่ครบถ้วน<br />

จริยธรรม<br />

1.งานวิจัยนีเป็ ้ นการศึกษาแบบย้อนหลัง รวบรวมข้อมูลจากแฟ้ มประวัติผู ้ป่ วย ไม่ได้ใส่สิ่ง<br />

แทรกแซงใดๆ ให้กับผู ้ป่ วย<br />

2.งานวิจัยจะไม่เปิ ดเผยชื่อของผู ้ป่ วย


บทที่ 4 ผลการศึกษา<br />

โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช มีอุบัติการณ์ของการอักเสบ ติดเชื ้อในช่องคอชั ้นลึก(Deep<br />

neck infection) เป็ นร้ อยละ 9.5 ของผู ้ป่ วยที่นอนโรงพยาบาลแผนกโสต ศอ นาสิก. เก็บข้อมูล<br />

ตั ้งแต่เดือนมกราคม 2548 ถึง มิถุนายน 2551 ผู ้ป่ วยที่เข้าเกณฑ์มีทั ้งหมด 65 ราย เป็ นชาย 44<br />

ราย ( 67.69%) และเป็ นหญิง 21 ราย(32.31%) โดยพบเพศชายมากกว่าเพศหญิงถึงสองเท่า<br />

(แผนภูมิที่1)<br />

แผนภูมิที่1 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละเพศ<br />

พบผู ้ป่ วยตั ้งแต่อายุ 5-93 ปี อายุเฉลี่ยคือ 36.86 ปี ( ตารางที่ 1) ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุด<br />

คือ 21-30 ปี จํานวน 16 ราย(24.62%) ช่วงอายุที่พบได้บ่อยรองลงมาคือ 31-40 ปี พบ12 ราย<br />

(18.46%) ดังแผนภูมิที่ 2<br />

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยของอายุผู ้ป่ วย<br />

อายุเฉลี่ย (ปี) อายุกลาง(ปี) อายุน้อยที่สุด(ปี) อายุมากที่สุด (ปี)<br />

36.86 35 5 93


แผนภูมิที่ 2 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละช่วงอายุ<br />

ตําแหน่งที่พบมีการอักเสบติดเชื ้อมากที่สุดคือ peritonsillar space 19 ราย(29.23%)<br />

รองลงมาคือ Submandibular space 13 ราย(20%) ดังแผนภูมิที่ 3<br />

แผนภูมิที่3 แสดงจํานวนผู ้ป่ วยในแต่ละตําแหน่งของการอักเสบ<br />

จํานวนผู้ปวย<br />

Anterior visceral space<br />

Retropharyngeal space + PPS<br />

1<br />

1<br />

Retropharyngeal space<br />

3<br />

Parotid space<br />

5<br />

Ludwig angina<br />

Peritonsillar + PPS<br />

1<br />

1<br />

Peritonsillar space<br />

19<br />

Canine space<br />

4<br />

Parapharyngeal space<br />

2<br />

Masticator space + PPS<br />

1<br />

Masticator space<br />

4<br />

Buccal space<br />

6<br />

Submand. + other space<br />

4<br />

Submandibular space<br />

13<br />

PPS = parapharyngeal space, submand. = submandibular space<br />

0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20


PPS=parapharyngeal space, submand. = submandibular space<br />

ผู้ ป่ วย 19 ราย มีโรคประจําตัวร่วมด้วย ( 29.52%) เบาหวานและความดันโลหิตสูงพบ<br />

มากที่สุด อย่างละ 7 ราย (10.77%) และ 3 รายมีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด (มีประวัติ<br />

ใช้ Warfarin 2 ราย, Aspirin 1 ราย) ดังตารางที่ 2<br />

ตารางที่ 2 แสดงโรคประจําตัว(Underlying diseases)ของผู ้ป่ วย 19 /65 ราย (29.52%) (ผู ้ป่ วยบางรายมี<br />

โรคประจําตัวมากกว่าหนึ่ง)<br />

Underlying จํานวน ร้ อยละ Underlying diseases จํานวน ร้ อยละ<br />

diseases (ราย)<br />

(ราย)<br />

DM 7 10.77 Chronic renal failure 1 1.54<br />

Hypertension 7 10.77 Stroke 1 1.54<br />

Dyslipidemia 2 3.08 HIV infection 1 1.54<br />

Coagulopathy 3 4.62 Gout 1 1.54<br />

(drug)<br />

Heart disease 3 4.62 Generalize muscle 1 1.54<br />

weakness<br />

Asthma 1 1.54 alcoholism 1 1.54<br />

Hyperthyroidism 1 1.54 Deep vein thrombosis 1 1.54<br />

Anemia 2 3.08<br />

สิ่งที่พบร่วมกับการอักเสบ และคาดว่าน่าจะเป็ น สาเหตุที่ทําให้เกิดโรค พบมากสุดคือ<br />

ฟันผุ 33ราย ( 50.77%) ซึ่งพบร่วมกับการอักเสบหลายตําแหน่ง เช่น Submandibular space,<br />

Masticator space , Canine space , Buccal space และ Ludwig’s angina เป็ นต้นรองลงมา<br />

คือ ทอนซิลอักเสบ 18 ราย (27.69%) ซึ่งส่วนใหญ่พบร่วมกับ Peritonsillar space infection ดัง<br />

ตารางที่ 3<br />

ผลการเพาะเชื ้อจากหนองของผู ้ป่ วยพบว่า ส่วนใหญ่เพาะเชื ้อไม่ขึ ้น ส่วนที่เพาะขึ ้นมี 9<br />

ราย(13.85%) พบ Klebsiella pneumoniae มากที่สุดและสองในสามพบว่าเป็ นเบาหวานร่วม<br />

ด้วย ไม่พบการดื ้อยาของ Klebsiella pneumoniae เลย , เชื ้อที่ พบรองลงมาคือ<br />

Straphylococcus spp. และ Streptococcus spp. แต่พบว่ามีการดื ้อยาสูงมาก ดังตารางที่ 4


ตารางที่3 แสดงสิ่งที่พบร่วมและคาดว่าจะเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิด deep neck infection<br />

สาเหตุ<br />

จํานวนผู ้ป่ วย (ราย)(%)<br />

ฟันผุ 33 (50.77)<br />

ฟันคุด 2 (3.08)<br />

ทอนซิลอักเสบ 18 (27.69)<br />

เลือดแข็งตัวผิดปกติ 1 (1.54)<br />

สิ่งแปลกปลอม 2 (3.08)<br />

ไม่ทราบสาเหตุ 9 (13.85)<br />

รวม 65 (100)<br />

ตารางที่ 4 แสดงผลการเพาะเชื ้อจากหนองและเลือดของผู ้ป่ วย 65 ราย<br />

ชนิดของเชื้อแบคทีเรีย จํานวนผู ้ป่ วย(ราย)<br />

Klebsiella pneumoniae 3<br />

Beta-hemolytic streptococcus spp. 1<br />

Non hemolytic streptococcus spp. 1<br />

Straphylococcus spp. 2<br />

Samonella 1<br />

E.coli 1<br />

No growth 27<br />

No data 29<br />

การดูแลรักษาผู ้ป่ วย ผู ้ป่ วยทุกรายได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดํา ผู ้ป่ วยมากกว่าครึ่ง<br />

(67.69%) ได้รับการผ่าตัดระบายหนอง ( Incisional & Drainage, I&D ) ทั ้งทางปาก(intraoral)<br />

หรือทางคอ(transcervical approach) โดยส่วนใหญ่ได้รับการทํา I&D เพียงครั ้งเดียว แต่ มี<br />

ผู้ ป่ วย3 ราย ที่ได้รับการผ่าตัดระบายหนองมากกว่า 1ครั ้ง เนื่องจากอาการไม่ดีขึ ้นหรือยังพบ<br />

หนองอยู่ จากการทํา CT scan ดังตารางที่ 5


วิธีการรักษา<br />

ตารางที่5 แสดงวิธีการดูแลรักษาผู ้ป่ วย<br />

จํานวนผู ้ป่ วย(ราย) %<br />

Conservative tx. 21 32.31<br />

I&D 44 67.69<br />

I&D with TT 3 4.61<br />

TT 1 1.54<br />

ET tube intubation 1 1.54<br />

I&D = Incisional and Drainage, TT= tracheostomy, ET tube intubation = endotracheal tube intubation<br />

ผู ้ป่ วยเบาหวานเกือบทุกรายต้องได้รับการผ่าตัดระบายหนอง 6/7 คน (87.5%) ในขณะที่<br />

ผู ้ที่ไม่มีเบาหวานสามารถรักษาได้ด้วยยาเพียงอย่างเดียว 21 ราย(36.21%) และต้องผ่าตัด 37<br />

ราย(63.79%)<br />

ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษาพบ 15 ราย ( 23.08%) มีปัญหาทางเดินหายใจลําบาก<br />

มากที่สุด( airway distress) 6 ราย(46%) รองลงมาคือภาวะติดเชื ้อในกระแสเลือด(sepsis) 3<br />

ราย(23%) , ปอดอักเสบ 2 ราย, หนึ่งรายพบ deep vein thrombosis หลังจากหยุดยา Warfarin,<br />

และหนึ่งรายเป็ น canine space abscess ร่วมกับ periorbital cellulitis (แผนภูมิที่ 4)<br />

แผนภูมิที่ 4 แสดงภาวะแทรกซ้อนระหว่างการรักษา<br />

airway distress<br />

46%<br />

Pneumonia<br />

15%<br />

DVT<br />

8%<br />

periorbital cellulitis<br />

8%<br />

sepsis<br />

23%<br />

Total 15 ราย


DVT= Deep vein thrombosis<br />

อัตราการตายเท่ากับ 1.54 % พบเสียชีวิตหนึ่งรายเป็ น parotid abscess ต่อมามีติดเชื ้อ<br />

ในกระแสเลือด, ปอดอักเสบ และเสียชีวิตในที่สุด<br />

จํานวนวันที่ผู ้ป่ วยนอนโรงพยาบาล (ไม่รวมผู ้เสียชีวิต) พบตั ้งแต่ 2-25 วัน เฉลี่ย 9 วัน<br />

โดยส่วนใหญ่หากผู ้ป่ วยมีการอักเสบติดเชื ้อเพียงตําแหน่งเดียวมักนอนโรงพยาบาลไม่เกิน 7 วัน<br />

แต่ถ้ าอักเสบตั ้งแต่สองตําแหน่งขึ ้นไปจะนอนโรงพยาบาลนานขึ ้น (แผนภูมิที่5 )<br />

แผนภูมิที่ 5 แสดงจํานวนวันโดยเฉลี่ยที่ผู ้ป่ วยนอนโรงพยาบาล<br />

Submand. Submandibular +PPS +carotid +PPS + +carotid retropharynx space<br />

25<br />

Submandibular + Masticator space<br />

Submandibular + Masticator space<br />

Parapharyngeal space with other space<br />

Parapharyngeal space with other space<br />

Retropharyngeal space<br />

7<br />

13<br />

Retropharyngeal Parotid space<br />

6<br />

Parotid<br />

Ludwig<br />

space<br />

angina<br />

Peritonsillar space<br />

Ludwig angina<br />

Canine space<br />

Peritonsillar Masticator space space<br />

4<br />

8<br />

12<br />

จํานวนวันที่<br />

นอนรพ.<br />

จํานวนวันที่นอน<br />

รพ.<br />

Canine Buccal space space<br />

Submandibular space<br />

Masticator space<br />

Buccal space<br />

4<br />

12<br />

0 5 10 15 20 25 30<br />

5<br />

Submandibular space<br />

6<br />

0 5 10 15 20 25 30<br />

PPS = parapharyngeal space


บทที่ 5 อภิปรายผล<br />

ผู้ ป่ วย Deep neck infection ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พบอุบัติการณ์ร้อยละ 9.50<br />

ของผู ้ป่ วยที่นอนโรงพยาบาลในแผนกโสต ศอ นาสิก ซึ่งใกล้เคียงกับ pilot study ที่ได้ร้อยละ 10<br />

แต่เมื่อเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลชัยภูมิที่มีอุบัติการณ์ร้อยละ 21 1 ถือว่าต่างกันมากถึงสองเท่า<br />

อาจเนื่องจากประชากรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจํานวนมากกว่ามาก จากการศึกษานี ้พบ<br />

ผู ้ป่ วยตั ้งแต่อายุ 5-93 ปี อายุเฉลี่ย 36.86 ปี ช่วงอายุที่พบบ่อยที่สุดคือ 21-30 ปี (24.62%) ซึ่ง<br />

สอดคล้องกับข้อมูลจากโรงพยาบาลอื่นๆ 1-4 ที่พบผู ้ป่ วยอยู่ในวัยทํางานมากที่สุด<br />

ตําแหน่งที่มีการอักเสบติดเชื ้อมากที่สุดในการศึกษานี ้คือ peritonsillar space (29.23%)<br />

รองลงมาคือ Submandibular space (20%) เมื่อเปรียบเทียบกับ โรงพยาบาลขอนแก่น 2 พบ<br />

Submandibular space มากที่สุด 32.49% รองลงมาคือ Parotid space 25.1% , โรงพยาบาล<br />

รามาธิบดี4 พบ Masticator space และ submandibular space มากที่สุด(27.4%) จะเห็นได้<br />

ว่า Submandibular space infection พบได้บ่อยทั ้งในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ,<br />

Parotid space abscess พบได้น้อยใน ภาคกลาง แต่พบเป็ นอันดับต้นๆใน ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ และเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลกับประเทศแถบเอเชียด้วยกัน (Huang TT,et al 7<br />

ประเทศไต้หวันและ Lee JK ,et al 6 ประเทศเกาหลี) พบ parapharyngeal space มากที่สุด ตาม<br />

ด้วย Submandibular space<br />

CT scan เป็ นเครื่องมือสําคัญในการช่วยวินิจฉัย deep neck infection 7,9 เนื่องจาก<br />

สามารถแยกฝี หนองกับ cellulitis ได้<br />

6,7 นอกจากนั ้นยังบอกขอบเขตการลุกลามของโรคและเป็ น<br />

แนวทางในการวางแผนรักษาได้ แต่ไม่จําเป็ นต้องทําทุกรายเช่น รายที่ดูดเจาะได้หนองชัดเจน แต่<br />

อาจทําCT scan เมื่ออาการของผู ้ป่ วยไม่ดีขึ ้นหลังรักษา 24-48 ชั่วโมง เช่นเดียวกันหากดูดเจาะ<br />

ไม่ได้หนองอาจลองให้ยาปฏิชีวนะไปก่อนและเฝ้ าติดตามอาการ หากผู ้ป่ วยไม่ดีขึ ้นภายใน 24-48<br />

ชั่วโมงแนะนําให้ทํา CT scan 8,9<br />

สาเหตุของการอักเสบติดเชื ้อที่พบมากที่สุดจากการศึกษานี ้และการศึกษาอื่นๆ ทั ้งในและ<br />

ต่างประเทศ พบเหมือนกัน คือติดเชื ้อที่ฟัน (31%-80%) 1-4,5-7,9 รองลงมาคือทอนซิลอักเสบ 5 บาง<br />

รายไม่ทราบสาเหตุในการศึกษานี ้พบ13.85% ซึ่งพบน้อยกว่าการศึกษาอื่นๆ (25%-73%) 5-7<br />

จากการศึกษานี ้จะเห็นได้ว่าตําแหน่งที่พบการอักเสบมากที่สุด คือ Peritonsillar infection<br />

กับสิ่งที่คิดว่าน่าจะเป็ นสาเหตุที่พบมากที่สุด คือฟันผุ ไม่มีค่อยมีความเกี่ยวข้องกัน เนื่องจากส่วน<br />

ใหญ่ peritonsillar abscess มักมีสาเหตุมาจากทอนซิลอักเสบ 8 จากการศึกษาของ Galioto NJ. 8<br />

ที่สันนิษฐานว่าเมื่อเกิดทอนซิลอักเสบทําให้ Weber’s glands (กลุ่ม mucous salivary glands ที่<br />

อยู่เหนือต่อทอนซิลบริเวณเพดานอ่อนและมีท่อเชื่อมระหว่างต่อมนํ ้าลายกับทอนซิล) เกิดการ


อักเสบ cellulitis และกลายเป็ น peritonsillar abscess ในที่สุด แต่ฟันผุจะเกี่ยวข้องกับการ<br />

อักเสบติดเชื ้อในหลายๆตําแหน่งรวมกัน เช่น submandibular space, Masticator space,<br />

canine space และ Ludwig’s angina เป็ นต้น ทําให้ผลรวมมีจํานวนมากกว่าสาเหตุอื่น 1-5<br />

เชื ้อที่เป็ นตัวก่อโรคจากการศึกษานี ้ได้ข้อมูลต่างจากการศึกษาอื่นๆ โดยเพาะเชื ้อขึ ้น<br />

แบคทีเรียแกรมลบ Klebsiella pneumoniae มากที่สุดซึ่งส่วนใหญ่เป็ นผู ้ป่ วยเบาหวาน แต่จาก<br />

การศึกษาอื่นๆ พบเชื ้อหลายชนิดรวมกัน(polymicrobial) โดยเฉพาะแบคทีเรียแกรมบวก<br />

Streptococcus spp. และ Straphylococcus spp. มากที่สุด 1-5 แต่ก็จะพบ Klebsiella<br />

pneumonia มากในผู ้ที่เป็ นเบาหวานเช่นกัน สาเหตุที่การศึกษานี ้ได้ข้อมูลต่างจากที่อื่นอาจ<br />

เนื่องจากการเก็บข้อมูลทําได้ไม่ครบถ้วนเนื่องจากเป็ นการศึกษาแบบย้อนหลัง และบางราย<br />

จําหน่ายออกจากโรงพยาบาลก่อนได้ผลเพาะเชื ้อ ส่วนเชื ้อแบคทีเรียกลุ่มไม่ใช้ออกซิเจนไม่พบ<br />

ข้อมูล เนื่องจากวิธีการเก็บตัวอย่างค่อนข้างลําบาก แต่คาดว่าน่าจะเป็ นเชื ้อในปากเช่นเดียวกับใน<br />

รายงานของต่างประเทศ 5,7,8<br />

โรคประจําตัวที่ส่งผลต่อการอักเสบพบเหมือนกันทุกการศึกษาคือ เบาหวาน 1-7,9 โดยมีการ<br />

ยืนยันชัดเจนว่าการพยากรณ์โรคแย่ลงจากมีโอกาสติดเชื ้อลุกลามไปหลายตําแหน่ง 6,7 เชื ้อที่พบมัก<br />

เป็ นแบคทีเรียแกรมลบ( Klebsiella pneumoniae ) 1-7 ซึ่งมีความรุนแรงมากกว่าแกรมบวกทั่วไป<br />

6,7<br />

ร่วมกับกระบวนการต่อสู ้กับเชื ้อโรคเป็ นไปอย่างล่าช้าเนื่องจากเลือดมีความหนืดมากกว่าปกติ<br />

การรักษามักต้องได้รับการผ่าตัดระบายหนองร่วมด้วย 6,7 มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง<br />

เกิดขึ ้นได้สูง และระยะเวลาที่ต้องนอนโรงพยาบาลนานกว่ากลุ่มที่ไม่เป็ นเบาหวานอย่างมี<br />

นัยสําคัญ(p


กว่า 3 วัน มักจะเลือกวิธีเจาะคอให้แก่ผู ้ป่ วย เนื่องจากแพทย์สามารถทําได้เองภายใต้การฉีดยาชา<br />

และยังไม่มีความพร้อมทางด้านใส่ท่อช่วยหายใจผ่าน fiberoptic bronchoscope<br />

สรุปการรักษา deep neck infection ประกอบด้วยหลักใหญ่ๆคือ การให้ยาปฏิชีวนะทาง<br />

หลอดเลือดดํา ,การผ่าตัดกําจัดสาเหตุและระบายหนองและการป้ องกันทางเดินหายใจอุดตัน 2<br />

ระยะเวลานอนโรงพยาบาลโดยเฉลี่ยจากการศึกษานี ้คือ 9 วัน พบว่าพอๆกับการศึกษา<br />

อื่นๆ 2-5 คือ 7-13 วัน ส่วนใหญ่ที่นอนโรงพยาบาลนานเนื่องจากมีภาวะแทรกซ้อน หรือติดเชื ้อ<br />

หลายตําแหน่งร่วมกัน 2-4<br />

อัตราการตาย จากการศึกษานี ้คือ 1.54% ซึ่งพบพอๆกับการศึกษาส่วนใหญ่ของทั ้งในและ<br />

ต่างประเทศ 1-3,5-7 (0.8-1.9%) แต่น้อยกว่าโรงพยาบาลรามาธิบดี4 (3.4%) และ Suebara AB,et<br />

al 5 ,ประเทศบราซิล(11.2%) ผู้ ป่ วย ที่เสียชีวิตส่วนใหญ่มีเบาหวานหรือภูมิคุ ้มกันตํ่าร่วมด้วย 2,5,6<br />

สาเหตุการตายพบคล้ายกันคือติดเชื ้อในกระแสเลือด 1-4,6 แต่บางรายพบหนองเซาะช่องอก<br />

(suppurative mediastinitis) ร่วมด้วย 1-4 และบางการศึกษาเสียชีวิตระหว่าง การแก้ไขทางเดิน<br />

หายใจอุดตัน 3<br />

การศึกษานีเป็ ้ นการศึกษาแบบย้อนหลังจึงทําให้ข้อมูลบางอย่างไม่สมบูรณ์ ร่วมกับ<br />

จํานวนประชากรที่นํามาศึกษาค่อนข้างน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาอื่นๆ 1-3,5 ดังนั ้นข้อมูลที่<br />

ได้อาจมีความคลาดเคลื่อนเล็กน้อย


บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา<br />

การอักเสบติดเชื ้อในเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึกยังคงเป็ นปัญหาสําคัญที่พบได้ทั่วทุกภูมิภาคทั ้งใน<br />

และต่างประเทศ 1-11 อุบัติการณ์ในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช 9.5% พบบ่อยอายุ 31-59 ปี เพศ<br />

ชายมากกว่าเพศหญิง พบ peritonsillar infection มากที่สุด และ submandibular space<br />

infection พบรองลงมา สาเหตุที่พบมากที่สุดคือฟันผุ เชื ้อที่ทําการเพาะได้จากหนองและเลือดพบ<br />

ทั ้งแกรมบวกและแกรมลบพอๆกัน ผู ้ป่ วยส่วนใหญ่มักต้องผ่าตัดระบายหนอง ภาวะแทรกซ้อนพบ<br />

23.08% มีปัญหาทางเดินหายใจลําบากมากที่สุด( airway distress) ระยะเวลานอนโรงพยาบาล<br />

โดยเฉลี่ย 9 วัน อัตราตาย 1.54%<br />

การวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และให้การรักษาอย่างเหมาะสม เป็ นหัวใจหลักใน<br />

การดูแลผู ้ป่ วยที่มีการอักเสบติดเชื ้อในเยื่อหุ ้มคอชั ้นลึก และสามารถลดอัตราการเกิด<br />

2-4,9<br />

ภาวะแทรกซ้อนลงมาได้


เอกสารอ้างอิง<br />

1. สาธิต ก้านทอง. Retrospective study of incidence and treatment outcome of deep<br />

neck infection and facial space abscess for 491 patients at Chaiyaphum hospital<br />

during 1999 to 2007. ขอนแก่นเวชสาร 2008; 32 : 153-64<br />

2. ชูเกียรติ วงศ์นิจศีล. Deep neck abscess clinical review at Khon Kaen hospital.<br />

ขอนแก่นเวชสาร 2008;32(2):147-54<br />

3. กีร์ดนัย อัศวกุล. Deep neck infection in Maharat Nakhon Ratchasima hospital.<br />

วารสารหู คอ จมูกและใบหน้า 2007;2 :44-8<br />

4. จักรพงศ์ คล้ายคลึง, ลลิดา เกษมสุวรรณ, บุญชู กุลประดิษฐารมณ์. Deep neck<br />

abscess : Clinical review in Ramathibodi hospital. วารสารหู คอ จมูกและใบหน้า<br />

2000;1:43-7<br />

5. Subara AB, Goncalves AJ, Alcadipani FA, Kavabata NK, Menezes MB. Deep<br />

neck infection- analysis of 80 cases. Brazillian journal of otorhinolaryngology<br />

2008;74(2):253-9<br />

6. Lee JK, Kim HD, Lim SC. Predisposing factor of complicated deep neck<br />

infection : analysis of 158 case. Yonsei medical journal 2007;48:55-62<br />

7. Huang T, Tseng F, Lui T, Hsu C, Chen Y. Deep neck infection in diabetic<br />

patients : comparison of clinical picture and outcomes with non diabetic patients.<br />

Otolaryngology-Head and Neck surgery 2005;132:943-47<br />

8. Galioto NJ. Peritonsillar abscess. Annual clinical focus on infection disease:<br />

prevention, diagnosis and management 2008;77:199-202<br />

9. Alani A, Griffith H, Minhas S.S, Olliff J, Lee D. Parapharyngeal abscess:<br />

diagnosis, complications and management in adults. Eur Arch Otolaryngol<br />

2005 ; 262:345-50<br />

10. Coticchia JM, Getnick GS, Yun RD, Arnold JE. Age, site, and time specific<br />

differences in pediatric deep neck abscesses. Arch Otolaryngol hneck surgery<br />

2004; 130:201-7<br />

11. Ovassapian A, Tuncbilek M, Weitzel EK, Joshi CW. Airway management in adult<br />

patients with deep neck infection: A case series and review of literature. Anesth<br />

analg 2005; 100:585-89


ภาคผนวก<br />

แบบบันทึกข้อมูล<br />

ลําดับ HN เพศ อายุ<br />

โรค<br />

ประจําตัว<br />

จํานวน<br />

วัน TT I&D<br />

(ปี) admit ET (ครั้ง)<br />

ตําแหน่งที่ติด<br />

เชื้อ<br />

ผลpus c/s<br />

or H/C สาเหตุ ภาวะแทรกซ ้อน<br />

Sens &<br />

Resist.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!