04.03.2015 Views

เพื่อนำเข้าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ - สำนักงานนโยบายและแผน ...

เพื่อนำเข้าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ - สำนักงานนโยบายและแผน ...

เพื่อนำเข้าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ - สำนักงานนโยบายและแผน ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1.2 หลักการประเมินผลกระทบดานคุณภาพอากาศจากการพัฒนาโครงการ ประกอบดวย<br />

(1) คาความเขมขนของมลพิษที่อาจเกิดไดสูงสุดเนื่องจากโครงการ (Model Predicted<br />

Concentration) ซึ่งไดจากการประมาณคาการระบายจริงสูงสุด ที่อาจเกิดจากโครงการและใชแบบจําลอง<br />

คณิตศาสตรที่เหมาะสมในการคาดการณ<br />

(2) คาความเขมขนพื้นฐานที่มีอยูเดิม (Background Concentration) ในพื้นที่ ที่ไดรับ<br />

ผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ซึ่งจะพิจารณาไดจาก<br />

‐ การติดตามตรวจวัด (Monitoring) ณ สถานีตรวจวัด โดยใชเครื่องมือและวิธีการ<br />

มาตรฐาน ซึ่งจํานวนของขอมูลและคุณภาพของขอมูลจะตองดีพอที่จะใชเปนตัวแทนของคา Background<br />

Concentration ในพื้นที่รับผลกระทบนั้นได<br />

‐ การใชแบบจําลองคณิตศาสตรเพื่อการคาดการณคา Background Concentration<br />

ที่มีอยูในพื้นที่อันเนื่องมาจากแหลงกําเนิดอื่นๆ ที่เกี่ยวของ<br />

(3) คาความเขมขนของมลพิษทางอากาศสะสม (Cumulative Concentration) ที่จะเกิดขึ้น<br />

ในพื้นที่ภายหลังมีโครงการ ซึ่งจะคํานวณไดจากการนําคา Model Predicted Concentration ไปผนวกเขา<br />

กับคา Background Concentration<br />

(4) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ (Ambient Air Quality Standards) ที่ถูก<br />

กําหนดขึ้นเพื่อความปลอดภัยและเพื่อปองกันผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอมโดยหนวยงานของรัฐ ทั้งนี้<br />

คา Cumulative Concentration ที่เกิดขึ้นจากโครงการจะตองไมมากกวาคามาตรฐานคุณภาพอากาศ<br />

ที่กําหนดไวสําหรับมลพิษนั้นๆ<br />

1.3 ปญหาและมาตรการแกไขปญหา เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบดานคุณภาพอากาศใน<br />

รายงาน EIA ดวยแบบจําลองคณิตศาสตร สําหรับพื้นที่มาบตาพุด<br />

(1) ในป พ.ศ. 2539-2540 การคาดการณคาความเขมขนของกาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO 2 )<br />

ดวยแบบจําลอง Industrial Source Complex Short-Term (ISCST) ในรายงาน EIA ของโครงการที่ยื่นตอ<br />

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมเดิม (สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

(สผ.) เพื่อพิจารณาในขณะนั้น มีคาสูงกวาผลการตรวจวัดจริงคอนขางมาก และมีคาสูงเกินคามาตรฐาน<br />

คุณภาพอากาศในบรรยากาศ ในขณะที่ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณพื้นที่มาบตาพุด<br />

พบคาความเขมขนสูงสุดที่ระดับรอยละ 60 ของคามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศเทานั้น จึงทําใหมี<br />

6

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!