04.03.2015 Views

เพื่อนำเข้าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ - สำนักงานนโยบายและแผน ...

เพื่อนำเข้าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ - สำนักงานนโยบายและแผน ...

เพื่อนำเข้าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ - สำนักงานนโยบายและแผน ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

จุดประสงคของแนวทาง<br />

แนวทางนี้ ใชสําหรับการประเมินผลกระทบดานคุณภาพอากาศดวยแบบจําลองคณิตศาสตร<br />

ในรายงาน EIA ของโครงการดานอุตสาหกรรม และดานพลังงาน ทั้งในพื้นที่มาบตาพุด และพื้นที่อื่นๆ โดยมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อสรางมาตรฐานกลางสําหรับการใชแบบจําลองคณิตศาสตร (Standardization of Air<br />

Dispersion Modeling Application) ตามความเหมาะสมทางวิชาการในการใชแบบจําลองคณิตศาตร<br />

ทั้งในและตางประเทศ สถานการณความเขมขนของสารมลพิษในบรรยากาศ แหลงกําเนิดในพื้นที่ และ<br />

ขอจํากัดของเทคโนโลยีการกําจัดสารมลพิษจากแหลงกําเนิด<br />

หลักเกณฑการกําหนดตัวแปร และแนวทางการพิจารณาผลกระทบดานคุณภาพอากาศ<br />

1. ประเภทของแบบจําลองคณิตศาสตร (Model Selection) กําหนดดังนี้<br />

1.1 ใชแบบจําลอง AERMOD เวอรชั่นลาสุดตามที่ U.S. EPA กําหนดเปนแบบจําลองหลักในการ<br />

ประเมินผลกระทบดานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ระยะใกล (ไมเกิน 50 กิโลเมตร) สําหรับทุกพื้นที่ หรือ<br />

1.2 ใชแบบจําลอง CALPUFF เวอรชั่นลาสุดตามที่ U.S. EPA กําหนดเปนแบบจําลองทางเลือกใน<br />

การประเมินผลกระทบดานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ระยะใกล (ไมเกิน 50 กิโลเมตร) ในกรณีที่สภาพภูมิ<br />

ประเทศเปนชายฝง มีภูเขา และอิทธิพลของลมบก-ลมทะเล ซึ่งสงผลใหสภาวะของลมมีความซับซอน<br />

(Complex Wind) โดยใหคณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม<br />

และสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพิจารณาตามขอกําหนดของ U.S. EPA<br />

เปนกรณีไป (Case-by-Case)<br />

2. อัตราการระบายมลพิษจากแหลงกําเนิด (Emission Rate Determination) กําหนดดังนี้<br />

2.1 พื้นที่เขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง ใชการประเมินผลกระทบดานคุณภาพอากาศขั้นคัดกรอง<br />

ตามแนวทางของ U.S. EPA เปนเกณฑในการจําแนกระดับการควบคุมอัตราการระบาย NO x และ SO 2 จาก<br />

แหลงกําเนิดมลพิษใหมและ/หรือที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราการระบายเพิ่มขึ้น โดยการเปรียบเทียบคาความ<br />

เขมขนสูงสุดที่ไดจากการประเมิน (Maximum Ground Level Concentration) กับระดับผลกระทบที่มี<br />

นัยสําคัญ (Significant Impact Level หรือ SIL) ตามเอกสารแนบทาย ซึ่งใชเปนเกณฑในการคัดกรอง ดังนี้<br />

(1) คาความเขมขนสูงสุดจากแบบจําลองฯ ไมเกินคา SIL ใหใชคาอัตราการระบายมลพิษตามที่<br />

นําเขาแบบจําลองฯ ในกรณีที่คาความเขมขนมลพิษจากผลการตรวจวัดในพื้นที่นอยกวารอยละ 80 ของคา<br />

มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ<br />

18

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!