01.03.2015 Views

Ulva intestinalis Chemical Composition, Element and ... - CRDC

Ulva intestinalis Chemical Composition, Element and ... - CRDC

Ulva intestinalis Chemical Composition, Element and ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 42(2)(Suppl.): 493-496 (2011) ว. วิทย์. กษ. 42(2)(พิเศษ): 493-496 (2554)<br />

องค์ประกอบทางเคมี โปรไฟล์แร่ธาตุและกรดอะมิโนของสาหร่าย <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> จากบ่อเลียงกุ ้ง<br />

<strong>Chemical</strong> <strong>Composition</strong>, <strong>Element</strong> <strong>and</strong> Amino Acid Profiles of <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> from<br />

the Shrimp Cultured Ponds<br />

อมมี เบญจมะ 1 และ พายัพ มาศนิยม 1<br />

Benjama, O. 1 <strong>and</strong> Masniyom, P. 1<br />

Abstract<br />

The chemical composition, dietary fibre contents, element <strong>and</strong> amino acid profiles of <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong>,<br />

harvested from the shrimp cultured ponds in Pattani Province, were investigated in order to gain more<br />

intensive nutritional information. Results showed that U. <strong>intestinalis</strong> was characterised by a high contents of<br />

total dietary fibres (51.4% DW), ash (27.5% DW), protein (17.2% DW) <strong>and</strong> lipid (6.0% DW). The total dietary<br />

fibres contained soluble fibre (25.3% DW) <strong>and</strong> insoluble fibre (26.1% DW). The proteinic fraction analysis<br />

indicated the presence of essential amino acids, which represent high level in leucine, threonine <strong>and</strong> valine,<br />

respectively. For non-essential amino acids, U. <strong>intestinalis</strong> showed high levels in glutamic <strong>and</strong> aspartic acids.<br />

In the opposite, the most limiting essential amino acid was lysine. For the element contents, U. <strong>intestinalis</strong> was<br />

rich in Mg, Cl, K <strong>and</strong> Na, respectively. This study suggested that U. <strong>intestinalis</strong> species can be potentially used<br />

as raw material or ingredients to improve the nutritive value for human diet <strong>and</strong> animal feed.<br />

Keywords: chemical composition, amino acid, element, macroalgae<br />

บทคัดย่อ<br />

ศึกษาองค์ประกอบทางเคมี ปริมาณใยอาหาร และโปรไฟล์ของแร่ธาตุและกรดอะมิโนของสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong><br />

ทีเก็บเกียวจากบ่อเลี ยงกุ ้งในจังหวัดปัตตานีเพือให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในด้านโภชนาการ ผลแสดงให้เห็นว่าสาหร่าย U.<br />

<strong>intestinalis</strong> มีปริมาณใยอาหารทั งหมดสูง (51.4% DW) เถ้า (27.5% DW) โปรตีน (17.2% DW) และไขมัน (6.0% DW)<br />

ใยอาหารทั งหมดประกอบด้วยใยอาหารทีละลายนํ า (25.3% DW) และไม่ละลายนํ า (26.1% DW) การวิเคราะห์<br />

องค์ประกอบย่อยของโปรตีนแสดงให้เห็นว่า กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณสูงคือ ลูซีน ทรีโอนีน และวาลีน ตามลําดับ<br />

สําหรับกรดอะมิโนไม่จําเป็ นทีมีในปริมาณสูงในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> คือ กรดกลูตามิกและแอสพาติก ในทางตรงข้าม<br />

กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณจํากัดทีสุดคือ ไลซีน สําหรับแร่ธาตุทีมีในปริมาณสูงในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> คือ แมกเน<br />

เซียม คลอไรด์ โพแทสเซียม และโซเดียม ตามลําดับ การศึกษานี แนะนําได้ว่าสามารถนําสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> มาใช้เป็ น<br />

วัตถุดิบหรือส่วนผสมในการปรับปรุงคุณค่าโภชนาการสําหรับอาหารมนุษย์และอาหารสัตว์<br />

คําสําคัญ: องค์ประกอบทางเคมี กรดอะมิโน แร่ธาตุ สาหร่าย<br />

คํานํา<br />

สาหร่ายทะเลเป็ นแหล่งอาหารทีให้คุณค่าโภชนาการสูง เนืองจากมีโปรตีน แร่ธาตุ ใยอาหาร และวิตามิน ส่วนของ<br />

โปรตีนในสาหร่ายประกอบด้วยกรดอะมิโนจําเป็ นชนิดต่างๆ ดังนั นสาหร่ายจึงมีสารอาหารทีร่างกายต้องการและมีประโยชน์<br />

ต่อสุขภาพ สาหร่ายถูกนํามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ประกอบอาหาร การสกัดสารไฟโคคอลลอยด์ต่างๆ เพือนําไปผลิต<br />

เครืองสําอาง หรือใช้ในด้านเภสัชวิทยา อุตสาหกรรมอาหาร และทางการเกษตร (Fleurence, 1999, Ortiz และคณะ, 2006)<br />

ดังนั นงานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสาหร่าย <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> ทีนอกจากพบ<br />

เจอในทะเลแล้ว ยังพบว่ามักเจริญในบ่อเลี ยงกุ ้ง ผู ้ประกอบการจึงมักเลี ยงกุ ้งร่วมกับสาหร่ายชนิดนี เพือเป็ นแหล่ง<br />

สารอาหารและช่วยสร้างภูมิคุ ้มกันโรคให้กับสัตว์นํ า ข้อมูลจากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจึงมีความสําคัญในการ<br />

ประเมินศักยภาพด้าน โภชนาการของสาหร่ายเพือนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม<br />

1<br />

ภาควิชา เทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000<br />

1<br />

Department of Technology <strong>and</strong> Industry, Faculty of Science <strong>and</strong> Technology, Prince of Songkla University, Pattani Campus, Muaeng, Pattani, 94000 Thail<strong>and</strong>


494 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

อุปกรณ์และวิธีการ<br />

1. วัตถุดิบ<br />

สาหร่ายทีศึกษาเป็ น <strong>Ulva</strong> <strong>intestinalis</strong> ทีเก็บเกียวจากบ่อเลี ยงกุ ้ง จังหวัดปัตตานี ในเดือนมกราคม 2552 โดย<br />

ผู ้ประกอบการเลี ยงกุ ้งนํามาทําความสะอาด อบแห้งในตู ้อบแห้งลมร้อนทีอุณหภูมิ 60±3 องศาเซลเซียส นําไปบดให้<br />

ละเอียด และบรรจุในถุงอลูมิเนียมเปลว<br />

2. การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของ U. <strong>intestinalis</strong> ได้แก่<br />

2.1 ความชื น โปรตีน ไขมัน เถ้า ใยอาหารทั งหมด ใยอาหารทีละลายนํ าและไม่ละลายนํ า ตามวิธี AOAC (2000)<br />

2.2 โปรไฟล์กรดอะมิโน โดยวิธี Waters Associates AccQ Tag (Liu และคณะ, 1995) ปริมาณกรดอะมิโนที<br />

วิเคราะห์ได้มาเปรียบเทียบรูปแบบกรดอะมิโนจําเป็ นอ้างอิงทีเด็กก่อนวัยเรียนต้องการ และคํานวณคะแนน<br />

กรดอะมิโน (amino acid score) ตามวิธี FAO/WHO/UNU (1985) แสดงดังสมการ<br />

คะแนนกรดอะมิโน (%) = ปริมาณกรดอะมิโนจําเป็ นในตัวอย่าง (mg/g protein) x 100<br />

ปริมาณกรดอะมิโนจําเป็ น ทีเด็กก่อนวัยเรียนต้องการ (mg/g protein)<br />

2.3 โปรไฟล์แร่ธาตุ การวิเคราะห์ปริมาณ Ca, Mg, K <strong>and</strong> Na ใช้ atomic absorption spectrophotometry<br />

(AAS) และปริมาณ Fe, Cu และ Zn ใช้วิธี Inductively coupled plasma optical emission spectrometry<br />

ส่วน P ใช้วิธี gravimetry (Kolthoff และคณะ, 1969) และ Cl ใช้ Chloridometer<br />

ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง<br />

องค์ประกอบทางเคมี (Table 1) เช่น โปรตีนและเถ้า มีปริมาณสูงสอดคล้องกับสาหร่ายสกุล <strong>Ulva</strong> ต่างๆ<br />

(Fleurence, 1999) และสาหร่ายสกุล Hypnea japonica และ H. charoides (Wong, K. และ Cheung, 2000) ปริมาณ<br />

ไขมันใกล้เคียงกับสาหร่าย Enteromorpha spp. (Haroon และคณะ, 2000) และ U. lactuca (Yaich และคณะ, 2011)<br />

ปริมาณใยอาหารทั งหมดสูงใกล้เคียงกับสาหร่าย U. lactuca และ Durvilllaea antarctica (Ortiz และคณะ, 2006) และมี<br />

ค่ามากกว่าปริมาณใยอาหารทีพบในพืชบกต่าง ๆ เช่น ข้าวสาลี ถัว และหัวหอม ทั งนี ใยอาหารในสาหร่ายประกอบด้วยใย<br />

อาหารทีละลายนํ าและไม่ละลายนํ า ใยอาหารทีละลายนํ ามีสมบัติเชิงหน้าทีช่วยลดคอเลสเตอรอลและนํ าตาลในเลือด จึง<br />

ป้ องกันการเกิดโรคหัวใจ โรคเบาหวาน ส่วนใยอาหารทีไม่ละลายนํ าช่วยในการเพิมปริมาณกากขับถ่ายอุจจาระ (Prosky<br />

และคณะ, 1992; Ortiz และคณะ, 2006)<br />

แร่ธาตุทีพบปริมาณมากในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> (Table 2) คือ แมกเนเซียม คลอไรด์ โพแทสเซียม และ<br />

โซเดียม โดยมีค่าอยู ่ระหว่าง 456-4,115 mg/100g DW ตามลําดับ ซึงใกล้เคียงกับสาหร่าย Chondrus crispus, Porphyra<br />

tenera (Rupérez, 2002), Caulerpa lentillifera และ U. reticulata (Rattana-arporn และ Chirapat, 2006) ทั งนี ในผล<br />

วิเคราะห์ แร่ธาตุในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> ยังพบว่ามีสัดส่วนของโซเดียมต่อโพแทสเซียมเท่ากับ 0.7 ซึงช่วยรักษาภาวะ<br />

สมดุลของกรดด่าง ความดันออสโมซิส และอิเล็กโทรไลต์ของของเหลวทีอยู ่ภายในเซลล์และภายนอกเซลล์ ในทางตรงข้าม<br />

หากรับประทานอาหารทีมีสัดส่วนโซเดียมต่อโพแทสเซียมในสูง จะทําให้เกิดความเสียงต่อการเกิดโรคความดัน (Rupérez,<br />

2002) สําหรับแร่ธาตุทีพบในปริมาณน้อยในสาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> ได้แก่ Cu และ Zn มีปริมาณผลรวมเท่ากับ 2.1<br />

mg/100g DW ซึงอยู ่ในระดับทีให้มนุษย์บริโภคได้คือ ตํากว่า 10 mg/100g DW (Indegaard และ Minsaas, 1991) ส่วน<br />

ปริมาณโลหะหนัก Pb และ Cd มีปริมาณตําอยู ่ในเกณฑ์มาตรฐาน (Fleurence, 1999) ดังนั นสามารถใช้สาหร่าย U.<br />

<strong>intestinalis</strong> ในการปรับปรุงโภชนาการหรือเสริมแร่ธาตุในผลิตภัณฑ์อาหาร ซึงมีประโยชน์ช่วยในการทํางานของระบบ<br />

ร่างกายให้เป็ นปกติ (Insel และคณะ, 2007)<br />

สําหรับโปรไฟล์ของกรดอะมิโน (Table 3) พบว่า มีปริมาณใกล้เคียงสาหร่าย U. lactuca (Wong และ Cheung,<br />

2000), Caulerpa lentillifera และ U. reticulata (Rattana-arporn และ Chirapat, 2006) กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณ<br />

สูงคือ ลูซีน ทรีโอนีน และวาลีน ตามลําดับ โดยมีค่าอยู ่ระหว่าง 27.3-62.2 mg/g protein ส่วนกรดอะมิโนไม่จําเป็ นทีมีมาก<br />

คือ กรดกลูตามิกและแอสพาติก โดยมีปริมาณ 109.2 และ 105.3 mg/g protein ตามลําดับ มีบทบาทในการให้กลินและ<br />

รสชาติเฉพาะของสาหร่าย (Wong และ Cheung, 2000) และเมือคํานวณคะแนนกรดอะมิโนจําเป็ นพบว่ามีค่าระหว่าง<br />

47.1-152.1 (Table 4) กรดอะมิโนจําเป็ นทีมีในปริมาณจํากัดทีสุดคือ ไลซีน ซึงมีคะแนนกรดอะมิโนน้อยทีสุดเท่ากับ 47.1<br />

ซึงสอดคล้องกับการศึกษาคะแนนกรดอะมิโนจําเป็ นในสาหร่าย Eucheuma cottonii และ C. lentilifera (Matajun และ


ว. วิทยาศาสตร์เกษตร ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 495<br />

คณะ, 2009) ผลการศึกษาวิจัยนี แสดงให้เห็นว่าสามารถเลือกใช้สาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> เป็ นวัตถุดิบหรือส่วนผสมในการ<br />

ผลิตอาหารหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพทีเพิมคุณค่าสารอาหารต่างๆ ได้<br />

Table 1 <strong>Chemical</strong> composition of dried<br />

U. <strong>intestinalis</strong> (% dry weight, DW)<br />

Table 2 <strong>Element</strong> profiles of U. <strong>intestinalis</strong><br />

<strong>Composition</strong> Mean ± SD (n=3) <strong>Element</strong>s mg/100g DW Trace elements mg/100 g DW<br />

Moisture 12.0 ± 0.8 Mg 4115.2 Cu 0.6<br />

Protein 17.2 ± 0.2 K 2456.8 Zn 1.5<br />

Ash 27.5 ± 0.3 Ca 794.5<br />

Lipid 6.0 ± 0.7 Na 1711.9 Toxic element mg/kg DW<br />

Total Dietary Fibre 51.4 ± 0.0 Fe 583.0 Lead 4.8<br />

Soluble Dietary Fibre 25.3 ± 0.4 Cl 3094.0 Cd 0.3<br />

Insoluble Dietary Fibre 26.1 ± 0.4 P 455.7<br />

Na/K ratio 0.70<br />

Table 3 Essential Amino acid profiles of U. <strong>intestinalis</strong><br />

Essential amino acid mg/100mg mg/g protein Non-essential amino acid mg/100mg mg/g protein<br />

Arginine 0.81 47.1 Aspartic acid 1.81 105.2<br />

Threonine 0.89 51.7 Serine 0.96 55.8<br />

Valine 0.87 50.6 Glutamic acid 1.88 109.3<br />

Lysine 0.47 27.3 Glycine 0.91 52.9<br />

Isoleucine 0.55 32.0 histidine 0.13 7.6<br />

Leucine 1.07 62.2 Alanine 1.48 86.0<br />

Phenylalanine 0.74 43.0 Proline 0.68 39.5<br />

Tyrosine 0.32 18.6<br />

Total AA 13.57 789.0<br />

EAA 5.4 314.0<br />

NEAA 8.17 475.0<br />

EAA/NEAA 0.66 0.66<br />

EAA/Total AA 0.40 0.40<br />

Table 4 Essential amino acid score of U. <strong>intestinalis</strong><br />

Amino acids<br />

U. <strong>intestinalis</strong><br />

Reference<br />

Score of<br />

(mg/g protein)<br />

(mg/g Protein) a<br />

U. <strong>intestinalis</strong><br />

Leucine 62.2 66 94.2<br />

Isoleucine 32 28 114.3<br />

Lysine 27.3 58 47.1<br />

Methionine +Cysteine ND 25 ND<br />

Threonine 51.7 34 152.1<br />

Tyrosine + Phenylalanine 61.6 63 97.8<br />

Tryptophane ND 11 ND<br />

Valine 50.6 35 144.6<br />

a<br />

Reference amino acid pattern of preschool children (2-5 years) (FAO/WHO/UNU, 1985).<br />

ND, not determined


496 494 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตร<br />

สรุปผล<br />

สาหร่าย U. <strong>intestinalis</strong> เป็ นแหล่งของสารอาหารทีจําเป็ นต่อร่างกายสูง เช่น ใยอาหาร แร่ธาตุ โปรตีนและกรด<br />

อะมิโน จึงมีศักยภาพในการนําไปใช้เป็ นวัตถุดิบหรือส่วนผสมสําหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพทีให้คุณค่าโภชนาการ<br />

สูง แต่ให้พลังงานตํา จึงเหมาะสําหรับประยุกต์ใช้ในการผลิตอาหารสําหรับมนุษย์และอาหารสัตว์เลี ยงต่อไป<br />

คําขอบคุณ<br />

การศึกษาวิจัยนี ได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2550<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

AOAC., 2000, Official Methods of Analysis, 17th edition, Association of Official Analytical Chemists, Arlington<br />

VA, U.S.A.<br />

FAO/WHO/UNU,1985, Energy <strong>and</strong> Protein Requirements, Report of a joint FAO/WHO/UNU Expert Consultation,<br />

WHO Technical Report Series No 724, WHO, Geneva, Switzerl<strong>and</strong>.<br />

Fleurence, J., 1999, Seaweed Proteins: Biochemical Nutritional Aspects <strong>and</strong> Potential Uses, Trends in Food<br />

Science <strong>and</strong> Technology, 10: 25-28.<br />

Haroon, A.M., Szaniawska, A., Normant, M. <strong>and</strong> Janas, U., 2000, The Biochemical <strong>Composition</strong> of<br />

Enteromorpha spp. from the Gulf of Gdansk Coast on the Southern Baltic Sea, Oceanologia, 42: 19-28.<br />

Indergaard, M. <strong>and</strong> Minsaas, J., 1991, Animal <strong>and</strong> Human Nutrition, In Seaweed Resources in Europe: Uses<br />

<strong>and</strong> Potential, M.D. Guiry <strong>and</strong> G. Blunden, editors, John Wiley & Sons Ltd., Chichester, Engl<strong>and</strong>, pp. 21-<br />

64.<br />

Insel, P., Ross, D., McMahon, K. <strong>and</strong> Bernstein, M., 2007, Nutrition, 3 rd edition, Jones & Bartlett Publishers,<br />

Sudbury, Canada.<br />

Kolthoff, I.M., S<strong>and</strong>ell, E.B., Meehan, E.J. <strong>and</strong> Bruckenstein, S., 1969, Quantitative <strong>Chemical</strong> Analysis,<br />

Macmillan Company, New York, U.S.A.<br />

Liu, H.J., Chang, B.Y., Yan, H.W. Yu., F.H. <strong>and</strong> Liu., X.X., 1995, Determination of Amino Acids in Food <strong>and</strong><br />

Feed by Derivatization with 6-aminoquinolyl-N-hydroxysuccinimidyl Carbamate <strong>and</strong> Reversed-phase<br />

Liquid Chromatographic Separation, Journal of AOAC International, 78: 736-744.<br />

Matanjun, P., Mohamed, S., Mustapha, N.M. <strong>and</strong> Muhammad K., 2009, Nutrient Content of Tropical Edible<br />

Seaweeds, Eucheuma cottonii, Caulerpa lentillifera <strong>and</strong> Sargassum polycystum, Journal of Applied<br />

Phycology, 21: 75-80.<br />

Ortiz, J., Romero, N., Robert, P., Araya, J., Lopez-Hernández, J., Bozzo, C.E., Navarrete C.E., Osorio A. <strong>and</strong><br />

Rios A., 2006, Dietary Fiber, Amino Acid, Fatty Acid <strong>and</strong> Tocopherol Contents of the Edible Seaweeds<br />

<strong>Ulva</strong> lactuca <strong>and</strong> Durvillaea Antarctica, Food Chemistry, 99: 98-104.<br />

Prosky, L., Asp, N.G., Schweizer, T.F., DeVries, J.W. <strong>and</strong> Furda, I., 1992, Determination of insoluble, Soluble<br />

Dietary Fiber in Foods <strong>and</strong> Food Products: Collaborative Study, Journal of the Association of Official<br />

Analytical Chemists International, 75: 360-367.<br />

Ratana-arporn, P. <strong>and</strong> Chirapart, A., 2006, Nutritional Evaluation of Tropical Green Seaweeds Caulerpa<br />

lentillifera <strong>and</strong> <strong>Ulva</strong> reticulata, Kasetsart Journal (Natural Science), 40 (Suppl.): 75-83.<br />

Rupérez, P., 2002, Mineral Content of Edible Marine Seaweeds, Food Chemistry, 79: 23-26.<br />

Wong, K. <strong>and</strong> Cheung, P.C., 2000, Nutritional Evaluation of Some Subtropical Red <strong>and</strong> Green Seaweeds Part<br />

1-Proximate <strong>Composition</strong>, Amino Acid Profiles <strong>and</strong> Some Physico-chemical Properties, Food Chemistry,<br />

7: 475-482.<br />

Yaich, H., Garna, H., Besbes, S., Paquot, M., Blecker, C. <strong>and</strong> Attia, H., 2011, <strong>Chemical</strong> <strong>Composition</strong> <strong>and</strong><br />

Functional Properties of <strong>Ulva</strong> lactuca seaweed collected in Tunisia, Food Chemistry, 128: 895-901.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!