22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ผลของสารสกัดสะเดาไทยและสารฆาแมลง 111<br />

ใหมขึ้น (secondary pest outbreak) นําไปสูสารพิษตกคาง (residue) และมีผลตอระบบนิเวศในนาขาวและความ<br />

หลากหลายของศัตรูธรรมชาติและเปนอันตรายตอตัวเกษตรกรเอง (ปรีชา, 2545)<br />

ศัตรูธรรมชาติที่มีอยูในนาขาวมีบทบาทสําคัญในการชวยลดปริมาณของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล โดยเฉพาะระยะไข<br />

ของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ซึ่งสารฆาแมลงยังไมสามารถทําลายไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล เมื่อฟกเปนตัวออนสงผลใหมีชีวิตอยู<br />

รอดได แตนเบียนไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมระยะไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ไดแก แตน<br />

เบียนไข Oligosita yasumatsui Viggiani et Subba Rao และแตนเบียนไข Anagrus optabilis (Perkins) ปรีชา (2521) อาง<br />

โดย ปรีชา (2545) รายงานวาจากการศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดการตายในระยะไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล พบวาไขของเพลี้ย<br />

กระโดดสีน้ําตาลถูกทําลายโดยแตนเบียน O. yasumatsui Viggiani et Subba Rao และ A. optabilis (Perkins) เทากับ<br />

10.6% และ 9.6% ตามลําดับ โดยไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลถูกทําลายโดยแตนเบียนทั้งสองชนิดนี้อยูระหวาง 13-45% หรือ<br />

เฉลี่ยเทากับ 30.3% ซึ่งผลกระทบจากการใชสารฆาแมลงเพื่อควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลมีผลทําใหประสิทธิภาพการเบียน<br />

ของแตนเบียน O. yasumatsui Viggiani et Subba Rao และ A. optabilis (Perkins) ลดลง เทากับ 0.6% และ 2.7%<br />

ตามลําดับ<br />

ในการแกปญหาดังกลาว นอกจากการลดใชสารฆาแมลงที่ทําใหเกิดปญหาแลว ในทางปฏิบัติจําเปนตองหาทางเลือก<br />

ใหมใหกับเกษตรกร เชน การใชสารสกัดสะเดา ซึ่งมีขอดีคือ สามารถยอยสลายไดโดยทางชีวภาพ (biodegradable) จึงไม<br />

กอใหเกิดปญหาสารตกคาง และมีผลกระทบตอศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลนอย นอกจากนี้ยังมีรายงานวาสาร<br />

สกัดสะเดามีผลยับยั้งการเขาทําลายพืชอาหารของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ตลอดจนมีผลทําใหแมลงเปลี่ยนพฤติกรรมของการ<br />

ดํารงชีวิต ซึ่งจะสงผลใหพฤติกรรมในการหาคูผสมพันธุและความสามารถในการผลิตไข และลูกหลานลดลงในรุนตอไปดวย<br />

(Heyde et al., 1984) ดังนั้นการใชสารสกัดสะเดาจึงเปนสวนหนึ่งของการปรับเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรใหเขาสู<br />

แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

การเตรียมกับดักไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (egg trap)<br />

นําตนขาวที่ปลูกในกระถางมาทําความสะอาด เอากาบนอกออก แลวปลอยเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลตัวเต็มวัยเพศเมีย<br />

ที่พรอมจะวางไขลงบนตนขาวจํานวน 5 คู ตอกระถาง ใสไวในกรงเลี้ยงแมลงขนาด 1.5x3 เมตร ปลอยไว 48 ชั่วโมง จากนั้นเอา<br />

เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลออก จะไดกระถางขาวที่มีไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล โดยการสังเกตจากรอยวางไขที่กาบใบขาว<br />

การทดลองที่ 1 การทดสอบผลกระทบของสารสกัดสะเดาและสารฆาแมลงตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลโดย<br />

ทางออม (indirect method)<br />

1. เลือกแปลงขาวของเกษตรกร ที่ปลูกขาวโดยวิธีหวานขาวแหง แบงแปลงยอยขนาด 4x5 เมตร จํานวน 16 แปลงยอย<br />

วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block มี 4 ซ้ํา<br />

2. เมื่อขาวอายุประมาณ 25 วัน นํา egg trap ไปวางไวในแปลงขาวแปลงยอยละ 3 กระถาง เปนเวลา 24 ชั่วโมง จึงเก็บ<br />

กระถางขาวมาไวในกรงเลี้ยงแมลงนาน 3 วัน จากนั้นทําการผาตนขาวใตกลองจุลทรรศนสองตาเพื่อนับจํานวนไขของ<br />

เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลที่ถูกแตนเบียนไขเขาทําลาย<br />

3. เมื่อขาวมีอายุ 30 วัน พนสารสกัดสะเดาไทยความเขมขน 5% สารฆาแมลง cypermethrin (ดีทรอย 35% EC) และ<br />

lambda-cyhalothrin (คาราเต 2.5% CS) และพนดวยน้ําเปลาเปนตัวเปรียบเทียบพนสารทุกๆ 7 วัน จํานวน 5 ครั้ง<br />

4. หลังพนสารครั้งสุดทาย นํา egg trap ไปวางที่แปลงทดสอบ และปฏิบัติดังเชนขอ 2<br />

การทดลองที่ 2 การทดสอบผลกระทบของสารสกัดสะเดาและสารฆาแมลงตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลโดย<br />

ทางตรง (direct method) นํา egg trap มาพนดวยสารสกัดสะเดาไทยและสารฆาแมลงดวยเครื่องพนสารแบบจานหมุน (turntable<br />

spray ) เพื่อใหสารสัมผัสกับไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลโดยตรง แลวนําไปวางในแปลงปลูกของเกษตรกรที่ไมไดพนสาร<br />

เปนเวลา 24 ชั่วโมง จึงเก็บกระถางขาวมาไวในกรงเลี้ยงแมลงนาน 3 วัน จากนั้นทําการผาตนขาวใตกลองจุลทรรศนสองตา<br />

เพื่อนับจํานวนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลที่ถูกแตนเบียนไขเขาทําลาย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!