part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 110-113 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 110-113 (2552) ผลของสารสกัดสะเดาไทยและสารฆาแมลงบางชนิดตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล Impact of Neem Seed Extract and Some Insecticides on Brown Planthopper Egg Parasitism สุกัญญา เทพันดุง 1 และ สุภาณี พิมพสมาน 2 Tepandung, S. 1 and Pimsamarn, S. 2 Abstract The impact of neem seed extract and insecticides; cypermethrin, and lambda–cyhalothrin applications on brown planthopper egg parasitism were studied. The first experiment was conducted in a farmer’s field, using a RCB with 4 treatments and 4 replications. The extent of egg parasitism was studied using the egg trap technique. Applications were applied during wet season 2004 and dry season 2005, egg parasitization was determined from plots sprayed with neem extract with not significantly different from the untreated plots. But egg parasitizations in plots treated with cypermethrin and lambda-cyhalothrin were significantly different from the untreated plots. The second experiment was conducted by placing sprayed egg traps randomly in non-application field. It was found that the neem seed extract and the untreated control showed greater egg parasitism than lambda–cyhalothrin and cypermethrin, 6.85%, 6.75%, 2.97% and 0.71%, respectively and were not significantly different. Results from the two experiments demonstrated the positive impact of neem seed extract application on brown planthopper parasitism while the application of conventional insecticides showed a negative impact. Keywords : brown planthopper, egg parasitism, neem seed extract บทคัดยอ ศึกษาผลของสารสกัดสะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis Valuton) และสารฆาแมลง cypermethrin (ดีทรอย 35% EC) และ lambda-cyhalothrin (คาราเต 2.5% CS) ตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาเกษตรกร ที่ อ.เมือง จ.ขอนแกน การทดลองที่ 1 วางแผนการทดลองแบบ RCB จํานวน 4 กรรมวิธี 4 ซ้ํา พนสารครั้งแรกเมื่อขาวอายุ 30 วัน และพนสารทุกๆ 7 วัน จํานวน 5 ครั้ง กอนพนสารครั้งแรกและหลังพนสารครั้งสุดทาย นําตนขาวที่เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล วางไขแลว (egg trap) ไปวางในแปลงทดลองที่พนสารตามกรรมวิธี ตรวจนับจํานวนไขที่ถูกเบียน ผลการศึกษาพบวาในฤดูนาป 2547 และฤดูนาปรัง 2548 กรรมวิธีพนสารสกัดสะเดาไทยมีเปอรเซ็นตการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลไมแตกตางกัน ทางสถิติกับกรรมวิธีไมพนสาร แตกรรมวิธีพนสารฆาแมลง cypermethrin และ lambda-cyhalothrin มีเปอรเซ็นตการเบียนไข ของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลแตกตางกันทางสถิติกับกรรมวิธีไมพนสารอยางมีนัยสําคัญ การทดลองที่ 2 นํา egg trap พนสาร ตามกรรมวิธี แลวนําไปวางในแปลงเกษตรกรที่ไมไดพนสาร พบวากรรมวิธีพนสารสกัดสะเดาไทยและกรรมวิธีไมพนสารมี เปอรเซ็นตการเบียนไขสูงกวากรรมวิธีพนสารฆาแมลง lambda-cyhalothrin และ cypermethrin เทากับ 6.85% 6.75% 2.97% และ 0.71% ตามลําดับ แตไมแตกตางกันทางสถิติ ซึ่งการทดลองทั้ง 2 การทดลองมีแนวโนมวาสารสกัดสะเดาไทยไมมี ผลกระทบตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ในขณะที่การพนสารฆาแมลงทําใหการเบียนไขลดลง คําสําคัญ : เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล การเบียนไข สารสกัดสะเดาไทย คํานํา เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (brown planthopper: Nilaparvata lugens Stål) นอกจากเปนแมลงศัตรูขาวที่สําคัญ ทําลายขาว โดยการดูดกินน้ําเลี้ยงทําใหขาวเกิดอาการแหงตาย (hopperburn) แลว ยังเปนพาหะนําเชื้อไวรัสโรคใบหงิก (rice ragged stunt) มาสูตนขาว ทําใหผลผลิตขาวลดลงอยางมาก การแกปญหาของเกษตรกรโดยทั่วไปมักใชสารฆาแมลงเปนหลัก กอใหเกิดปญหาที่ตามมาคือ การตานทานสารฆาแมลง (resistance) การระบาดเพิ่ม (resurgence) การเกิดศัตรูพืชชนิด 1 สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว จตุจักร กทม. 10900 1 Bureau of Rice Research and Development, Rice Department, Chatuchak, Bangkok 10900 2 สาขากีฏวิทยา ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002 2 Entomology Section, Department of Plant Science and Agriculture Resource, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University 40002

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ผลของสารสกัดสะเดาไทยและสารฆาแมลง 111 ใหมขึ้น (secondary pest outbreak) นําไปสูสารพิษตกคาง (residue) และมีผลตอระบบนิเวศในนาขาวและความ หลากหลายของศัตรูธรรมชาติและเปนอันตรายตอตัวเกษตรกรเอง (ปรีชา, 2545) ศัตรูธรรมชาติที่มีอยูในนาขาวมีบทบาทสําคัญในการชวยลดปริมาณของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล โดยเฉพาะระยะไข ของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ซึ่งสารฆาแมลงยังไมสามารถทําลายไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล เมื่อฟกเปนตัวออนสงผลใหมีชีวิตอยู รอดได แตนเบียนไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมระยะไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ไดแก แตน เบียนไข Oligosita yasumatsui Viggiani et Subba Rao และแตนเบียนไข Anagrus optabilis (Perkins) ปรีชา (2521) อาง โดย ปรีชา (2545) รายงานวาจากการศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดการตายในระยะไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล พบวาไขของเพลี้ย กระโดดสีน้ําตาลถูกทําลายโดยแตนเบียน O. yasumatsui Viggiani et Subba Rao และ A. optabilis (Perkins) เทากับ 10.6% และ 9.6% ตามลําดับ โดยไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลถูกทําลายโดยแตนเบียนทั้งสองชนิดนี้อยูระหวาง 13-45% หรือ เฉลี่ยเทากับ 30.3% ซึ่งผลกระทบจากการใชสารฆาแมลงเพื่อควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลมีผลทําใหประสิทธิภาพการเบียน ของแตนเบียน O. yasumatsui Viggiani et Subba Rao และ A. optabilis (Perkins) ลดลง เทากับ 0.6% และ 2.7% ตามลําดับ ในการแกปญหาดังกลาว นอกจากการลดใชสารฆาแมลงที่ทําใหเกิดปญหาแลว ในทางปฏิบัติจําเปนตองหาทางเลือก ใหมใหกับเกษตรกร เชน การใชสารสกัดสะเดา ซึ่งมีขอดีคือ สามารถยอยสลายไดโดยทางชีวภาพ (biodegradable) จึงไม กอใหเกิดปญหาสารตกคาง และมีผลกระทบตอศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลนอย นอกจากนี้ยังมีรายงานวาสาร สกัดสะเดามีผลยับยั้งการเขาทําลายพืชอาหารของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ตลอดจนมีผลทําใหแมลงเปลี่ยนพฤติกรรมของการ ดํารงชีวิต ซึ่งจะสงผลใหพฤติกรรมในการหาคูผสมพันธุและความสามารถในการผลิตไข และลูกหลานลดลงในรุนตอไปดวย (Heyde et al., 1984) ดังนั้นการใชสารสกัดสะเดาจึงเปนสวนหนึ่งของการปรับเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรใหเขาสู แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน อุปกรณและวิธีการ การเตรียมกับดักไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (egg trap) นําตนขาวที่ปลูกในกระถางมาทําความสะอาด เอากาบนอกออก แลวปลอยเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลตัวเต็มวัยเพศเมีย ที่พรอมจะวางไขลงบนตนขาวจํานวน 5 คู ตอกระถาง ใสไวในกรงเลี้ยงแมลงขนาด 1.5x3 เมตร ปลอยไว 48 ชั่วโมง จากนั้นเอา เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลออก จะไดกระถางขาวที่มีไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล โดยการสังเกตจากรอยวางไขที่กาบใบขาว การทดลองที่ 1 การทดสอบผลกระทบของสารสกัดสะเดาและสารฆาแมลงตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลโดย ทางออม (indirect method) 1. เลือกแปลงขาวของเกษตรกร ที่ปลูกขาวโดยวิธีหวานขาวแหง แบงแปลงยอยขนาด 4x5 เมตร จํานวน 16 แปลงยอย วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block มี 4 ซ้ํา 2. เมื่อขาวอายุประมาณ 25 วัน นํา egg trap ไปวางไวในแปลงขาวแปลงยอยละ 3 กระถาง เปนเวลา 24 ชั่วโมง จึงเก็บ กระถางขาวมาไวในกรงเลี้ยงแมลงนาน 3 วัน จากนั้นทําการผาตนขาวใตกลองจุลทรรศนสองตาเพื่อนับจํานวนไขของ เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลที่ถูกแตนเบียนไขเขาทําลาย 3. เมื่อขาวมีอายุ 30 วัน พนสารสกัดสะเดาไทยความเขมขน 5% สารฆาแมลง cypermethrin (ดีทรอย 35% EC) และ lambda-cyhalothrin (คาราเต 2.5% CS) และพนดวยน้ําเปลาเปนตัวเปรียบเทียบพนสารทุกๆ 7 วัน จํานวน 5 ครั้ง 4. หลังพนสารครั้งสุดทาย นํา egg trap ไปวางที่แปลงทดสอบ และปฏิบัติดังเชนขอ 2 การทดลองที่ 2 การทดสอบผลกระทบของสารสกัดสะเดาและสารฆาแมลงตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลโดย ทางตรง (direct method) นํา egg trap มาพนดวยสารสกัดสะเดาไทยและสารฆาแมลงดวยเครื่องพนสารแบบจานหมุน (turntable spray ) เพื่อใหสารสัมผัสกับไขเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลโดยตรง แลวนําไปวางในแปลงปลูกของเกษตรกรที่ไมไดพนสาร เปนเวลา 24 ชั่วโมง จึงเก็บกระถางขาวมาไวในกรงเลี้ยงแมลงนาน 3 วัน จากนั้นทําการผาตนขาวใตกลองจุลทรรศนสองตา เพื่อนับจํานวนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลที่ถูกแตนเบียนไขเขาทําลาย

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 110-113 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 110-113 (2552)<br />

ผลของสารสกัดสะเดาไทยและสารฆาแมลงบางชนิดตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล<br />

Impact of Neem Seed Extract and Some Insecticides on Brown Planthopper Egg Parasitism<br />

สุกัญญา เทพันดุง 1 และ สุภาณี พิมพสมาน 2<br />

Tepandung, S. 1 and Pimsamarn, S. 2<br />

Abstract<br />

The impact of neem seed extract and insecticides; cypermethrin, and lambda–cyhalothrin applications on<br />

brown planthopper egg parasitism were studied. The first experiment was conducted in a farmer’s field, using a<br />

RCB with 4 treatments and 4 replications. The extent of egg parasitism was studied using the egg trap technique.<br />

Applications were applied during wet season 2004 and dry season 2005, egg parasitization was determined from<br />

plots sprayed with neem extract with not significantly different from the untreated plots. But egg parasitizations in<br />

plots treated with cypermethrin and lambda-cyhalothrin were significantly different from the untreated plots. The<br />

second experiment was conducted by placing sprayed egg traps randomly in non-application field. It was found<br />

that the neem seed extract and the untreated control showed greater egg parasitism than lambda–cyhalothrin and<br />

cypermethrin, 6.85%, 6.75%, 2.97% and 0.71%, respectively and were not significantly different. Results from the<br />

two experiments demonstrated the positive impact of neem seed extract application on brown planthopper<br />

parasitism while the application of conventional insecticides showed a negative impact.<br />

Keywords : brown planthopper, egg parasitism, neem seed extract<br />

บทคัดยอ<br />

ศึกษาผลของสารสกัดสะเดาไทย (Azadirachta indica var. siamensis Valuton) และสารฆาแมลง cypermethrin<br />

(ดีทรอย 35% EC) และ lambda-cyhalothrin (คาราเต 2.5% CS) ตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาเกษตรกร<br />

ที่ อ.เมือง จ.ขอนแกน การทดลองที่ 1 วางแผนการทดลองแบบ RCB จํานวน 4 กรรมวิธี 4 ซ้ํา พนสารครั้งแรกเมื่อขาวอายุ 30<br />

วัน และพนสารทุกๆ 7 วัน จํานวน 5 ครั้ง กอนพนสารครั้งแรกและหลังพนสารครั้งสุดทาย นําตนขาวที่เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล<br />

วางไขแลว (egg trap) ไปวางในแปลงทดลองที่พนสารตามกรรมวิธี ตรวจนับจํานวนไขที่ถูกเบียน ผลการศึกษาพบวาในฤดูนาป<br />

2547 และฤดูนาปรัง 2548 กรรมวิธีพนสารสกัดสะเดาไทยมีเปอรเซ็นตการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลไมแตกตางกัน<br />

ทางสถิติกับกรรมวิธีไมพนสาร แตกรรมวิธีพนสารฆาแมลง cypermethrin และ lambda-cyhalothrin มีเปอรเซ็นตการเบียนไข<br />

ของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลแตกตางกันทางสถิติกับกรรมวิธีไมพนสารอยางมีนัยสําคัญ การทดลองที่ 2 นํา egg trap พนสาร<br />

ตามกรรมวิธี แลวนําไปวางในแปลงเกษตรกรที่ไมไดพนสาร พบวากรรมวิธีพนสารสกัดสะเดาไทยและกรรมวิธีไมพนสารมี<br />

เปอรเซ็นตการเบียนไขสูงกวากรรมวิธีพนสารฆาแมลง lambda-cyhalothrin และ cypermethrin เทากับ 6.85% 6.75%<br />

2.97% และ 0.71% ตามลําดับ แตไมแตกตางกันทางสถิติ ซึ่งการทดลองทั้ง 2 การทดลองมีแนวโนมวาสารสกัดสะเดาไทยไมมี<br />

ผลกระทบตอการเบียนไขของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ในขณะที่การพนสารฆาแมลงทําใหการเบียนไขลดลง<br />

คําสําคัญ : เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล การเบียนไข สารสกัดสะเดาไทย<br />

คํานํา<br />

เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (brown planthopper: Nilaparvata lugens Stål) นอกจากเปนแมลงศัตรูขาวที่สําคัญ<br />

ทําลายขาว โดยการดูดกินน้ําเลี้ยงทําใหขาวเกิดอาการแหงตาย (hopperburn) แลว ยังเปนพาหะนําเชื้อไวรัสโรคใบหงิก (rice<br />

ragged stunt) มาสูตนขาว ทําใหผลผลิตขาวลดลงอยางมาก การแกปญหาของเกษตรกรโดยทั่วไปมักใชสารฆาแมลงเปนหลัก<br />

กอใหเกิดปญหาที่ตามมาคือ การตานทานสารฆาแมลง (resistance) การระบาดเพิ่ม (resurgence) การเกิดศัตรูพืชชนิด<br />

1 สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว จตุจักร กทม. 10900<br />

1<br />

Bureau of Rice Research and Development, Rice Department, Chatuchak, Bangkok 10900<br />

2 สาขากีฏวิทยา ภาควิชาพืชศาสตรและทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 40002<br />

2<br />

Entomology Section, Department of Plant Science and Agriculture Resource, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University 40002

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!