part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

่ 108 การศึกษาเปรียบเทียบพันธุมะกรูดและคุณภาพ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร อุปกรณและวิธีการ การศึกษานี้ดําเนินการศึกษาที่สวนมะกรูด บานวังไผ อ. เมือง จ. ชัยนาท ตนมะกรูดอายุประมาณ 2.6 ป บันทึก ลักษณะทรงพุมตน ขนาดใบในตําแหนงใบที่ 7-8 นับจากปลายกิ่ง และขนาดผล และนําผิวผลมาสกัดน้ํามันหอมระเหย ดวย วิธีการตมกลั่น โดยการกลั่นตัวอยางละ 3 ซ้ําๆ ละ 8 ชั่วโมง หลังจากนั้นตรวจวัดลักษณะทางกายภาพของน้ํามันหอมระเหย โดยวัดคา refractive index ดวยเครื่อง Digital refractometer (ATAGO รุน RX-5000 α, Japan) คา optical rotation ดวย เครื่อง Polarimeter (ATAGO รุน POLAX-2L, Japan) และคา specific gravity ดวยเครื่อง Density meter (Mettler Toledo รุน DA-100M, Switzerland) ผลและวิจารณ จากการศึกษาลักษณะทรงพุมตน ใบ และผลมะกรูด พบวา สามารถแบงมะกรูดออกไดเปน 3 สายพันธุ โดยสายพันธุ แรก ทรงพุมตนโปรง ใบและผลมีขนาดใหญ แผนใบเรียบ ติดผลครั้งละหลายผลตอกิ่ง สายพันธุที่สอง ใบและผลมีขนาดเล็ก กวาสายพันธุที่หนึ่ง ติดผลครั้งละ 1- 2 ผลตอกิ่ง สายพันธุที่สาม ใบมีขนาดเล็ก แผนใบบิดเล็กนอย ขอสั้น ผลเล็ก ความลึกของ รองที่ผิวผลนอย (Table 1) เมื่อนําลักษณะใบมาเปรียบเทียบกับตนมะกรูดที่สวนมะกรูดใน อ. เมือง จ. นครสวรรค แลวพบวา ตนและผลมะกรูดมีลักษณะคลายกับสายพันธุที่สอง ดังนั้นจึงคาดวาสายพันธุที่สองเปนสายพันธุมะกรูดที่ปลูกทั่วไป Table 1 Leaf and fruit size of 3 clone of kaffir lime clone Leaf length (cm.) Leaf width (cm.) Fruit lenght (cm.) Fruit width (cm.) 1 10.84 a 4.21 a 5.51 a 4.88 a 2 10.31 a 3.79 b 4.89 b 4.16 b 3 7.41 b 2.92 c 4.35 c 4.02 b Mean followed by a common letter in the same column are not significantly different at 5% level by DMRT เมื่อนําผลมะกรูดทั้ง 3 สายพันธุในระยะผลที่เก็บเกี่ยวเพื่อจําหนายมาสกัดน้ํามันหอมระเหยพบวา ปริมาณน้ํามันหอม ระเหยที่ไดจาก 3 สายพันธุ มีคาไมแตกตางกัน โดยมีคาเฉลี่ยระหวาง 2.98 – 3.17 % และคุณสมบัติทางกายภาพของน้ํามัน หอมระเหยทั้ง 3 สายพันธุในดาน specific gravity optical rotation และ refractive index ไมแตกตางกันดวย (Table 2) ซึ่ง แตกตางจากการศึกษาในมะนาว (ศิรินันท และคณะ, 2551) และกระชายดํา (เสริมสกุล และเชวง, 2547) ที่พบวาสายพันธุที แตกตางกัน ทําใหมีปริมาณน้ํามันหอมระเหยและมีสมบัติทางกายภาพที่แตกตางกัน Table 2 Yield and physical properties of kaffir lime oil clone Yield (%) Specific gravity Optical rotation Refractive index 1 2.98 0.8816 12.73 1.47240 2 3.01 0.8826 11.50 1.47209 3 3.17 0.8803 12.27 1.47206 สรุป จากศึกษาลักษณะทรงพุมตน ใบ และผลมะกรูด พบวา สายพันธุมะกรูดที่ปลูกในสวนในพื้นที่สามารถ แบงไดเปน 3 สายพันธุ ตามขนาดของใบและผล แตอยางไรก็ตามผลมะกรูดในระยะเก็บเกี่ยวทั้ง 3 สายพันธุใหปริมาณ และคุณภาพทาง กายภาพของน้ํามันหอมระเหยที่ไมแตกตางกัน คําขอบคุณ โครงการผลิตน้ํามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรและโคโลญจน R 319 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ให เงินสนับสนุนในการทําวิจัย

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 การศึกษาเปรียบเทียบพันธุมะกรูดและคุณภาพ 109 เอกสารอางอิง ชูขวัญ ทรัพยมณี. 2549. บริษัท อุตสาหกรรมเครื่องหอมไทย-จีน จํากัด. เกษตรธรรมชาติ. 9(11): 8-16. เดนดนัย ทองอวน และ อรรถพล ภูผิวนาค. 2546. ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหยและสารกําจัดศัตรูพืช ประเภทดูดซึมจากตะไครหอม ตะไครแกง ไพล ขาและเปลือกมะกรูดที่มีผลตอแมลงหวี่ขาวในแปลงปลูกพริก. รายงานโครงการวิจัย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. สถาบันราชภัฎมหาสารคาม ทวีศักดิ์ ชัยเรืองยศ. 2550. ปลูกมะกรูดตัดใบและผล สงโรงงานผลิตน้ํามันหอมระเหย. เดลินิวส. 10 กันยายน 2550. นวลจันทร ใจใส และสุภาพร ล้ําเลิศธน. 2551. ผลการยับยั้งของน้ํามันหอมระเหยผิวมะกรูดตอ Bacillus cereus ในขาวหุงสุก. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร. 15(3) : 195- 203. นิจศิริ เรืองรังสี. 2534. เครื่องเทศ. คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 206 หนา. รุงรัตน เหลืองนทีเทพ. 2535. พืชเครื่องเทศและสมุนไพร. ภาคพัฒนาตําราและเอกสารวิชาการ หนวยศึกษานิเทศก กรมการ ฝกหัดครู ศิรินันท ทับทิมเทศ. อุบล ฤกษอ่ํา และ ทวีศักดิ์ สุนทรธนศาสตร. 2551. การศึกษาปริมาณน้ํามันหอมระเหยและองคประกอบ ทางเคมีของมะนาว 4 พันธุในประเทศไทย [ สืบคน] , http:// www. scisoc. or. th / stt/ 28/ web/ content / T_ 20/ T31_2. htm [27/ July/ 08]. เสริมสกุล พจนการุณ และ เชวง แกวรักษ. 2547. รวบรวม ศึกษาและคัดเลือกพันธุกระชายดํา : องคประกอบทางเคมีของ น้ํามันหอมระเหยจากเหงากระชายดํา. วารสารเกษตร. 20(1) : 44-55. อรชร เอกภาพสากล. 2547. มหัศจรรยน้ํามันหอมระเหย. เพชรการเรือน. กรุงเทพฯ. 200 หนา.

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 การศึกษาเปรียบเทียบพันธุมะกรูดและคุณภาพ 109<br />

เอกสารอางอิง<br />

ชูขวัญ ทรัพยมณี. 2549. บริษัท อุตสาหกรรมเครื่องหอมไทย-จีน จํากัด. เกษตรธรรมชาติ. 9(11): 8-16.<br />

เดนดนัย ทองอวน และ อรรถพล ภูผิวนาค. 2546. ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้ํามันหอมระเหยและสารกําจัดศัตรูพืช<br />

ประเภทดูดซึมจากตะไครหอม ตะไครแกง ไพล ขาและเปลือกมะกรูดที่มีผลตอแมลงหวี่ขาวในแปลงปลูกพริก.<br />

รายงานโครงการวิจัย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. สถาบันราชภัฎมหาสารคาม<br />

ทวีศักดิ์ ชัยเรืองยศ. 2550. ปลูกมะกรูดตัดใบและผล สงโรงงานผลิตน้ํามันหอมระเหย. เดลินิวส. 10 กันยายน 2550.<br />

นวลจันทร ใจใส และสุภาพร ล้ําเลิศธน. 2551. ผลการยับยั้งของน้ํามันหอมระเหยผิวมะกรูดตอ Bacillus cereus ในขาวหุงสุก.<br />

วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร. 15(3) : 195- 203.<br />

นิจศิริ เรืองรังสี. 2534. เครื่องเทศ. คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 206 หนา.<br />

รุงรัตน เหลืองนทีเทพ. 2535. พืชเครื่องเทศและสมุนไพร. ภาคพัฒนาตําราและเอกสารวิชาการ หนวยศึกษานิเทศก กรมการ<br />

ฝกหัดครู<br />

ศิรินันท ทับทิมเทศ. อุบล ฤกษอ่ํา และ ทวีศักดิ์ สุนทรธนศาสตร. 2551. การศึกษาปริมาณน้ํามันหอมระเหยและองคประกอบ<br />

ทางเคมีของมะนาว 4 พันธุในประเทศไทย [ สืบคน] , http:// www. scisoc. or. th / stt/ 28/ web/ content / T_ 20/<br />

T31_2. htm [27/ July/ 08].<br />

เสริมสกุล พจนการุณ และ เชวง แกวรักษ. 2547. รวบรวม ศึกษาและคัดเลือกพันธุกระชายดํา : องคประกอบทางเคมีของ<br />

น้ํามันหอมระเหยจากเหงากระชายดํา. วารสารเกษตร. 20(1) : 44-55.<br />

อรชร เอกภาพสากล. 2547. มหัศจรรยน้ํามันหอมระเหย. เพชรการเรือน. กรุงเทพฯ. 200 หนา.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!