part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

104 คุณสมบัติและประสิทธิภาพในการตานทานเชื้อ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร การใช biofilm รวมกับสารสกัดจากพืชสามารถนํามาประยุกตในผลิตภัณฑผลไมพรอมบริโภค โดยเฉพาะการพัฒนาฟลมที่ บริโภคไดจากแปงขาวเจา และการนํา biofilm มาเติมสารสกัดจากพืชวงศสม จะเปนทางเลือกอีกทางหนึ่งในการเพิ่มมูลคาของ ผลิตภัณฑที่มาจากธรรมชาติ สามารถปองกันเชื้อจุลินทรีย และชวยยืดอายุผลิตภัณฑสมโอพรอมบริโภคใหมีความปลอดภัยอีก ดวย อุปกรณและวิธีการ นําแปงขาวเจามีความเขมขนรอยละ 5 โดยน้ําหนัก มาใหความรอนจนแปงสุกเกิดเจลาติไนซ ปลอยทิ้งไวใหอุนเติม สารพลาสติไซเซอรความเขมขนรอยละ 30 โดยน้ําหนัก เติมน้ํามันหอมระเหยจากพืชทั้ง 3 ชนิดไดแก มะนาว (lime) มะกรูด (kaffir lime) และสมโอ (pummelo) ไดจากการตมกลั่น (hydrodistillation) และการสกัดดวยตัวทําละลาย ใชตัวทําละลาย 2 ชนิดคือ แอลกอฮอลและปโตรเลียมอีเทอร นําสารละลายไปเทหรือ cast ลงบนแทนพิมพพลาสติกเมื่อแผนฟลมแหงนําไปเก็บไว ใน desiccator วิเคราะหคุณสมบัติของฟลมดังนี ้คือ การละลาย (Laohakunjit และ Noomhorm, 2004) การตานทานแรงดึง ขาดและการยืดตัวของฟลมโดยวิธี ASTMD882-88 standard (ASTM, 1989) การซึมผานไอน้ํา (WVTR) โดยวิธี dish method E96 (ASTM, 1995) ทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ โดยการ spread mold และ yeast คัดเลือกฟลมที่ดีที่สุดมาทดสอบ กับสมโอตัดแตงสด นําไปเก็บรักษาที่ 10°C RH 90% วิเคราะหสมโอวันที่ 1 (ทันทีหลังแชตูเย็น) 2 6 9 13 และ 16 วัน ทางดาน การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพไดแก สี โดย colorimeter, weight loss (ชั่งน้ําหนัก), firmness โดย texture analyzer, total soluble solid content ดวยเครื่อง digital refractometer และความเปนกรด โดยการ titrate รวมทั้ง sensory analysis ศึกษา อายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ และนําไปวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) และ Least Significant Difference (LSD) โดยใชโปรแกรม SAS (1991) ผลและวิจารณ ผลการศึกษาคุณสมบัติและประสิทธิภาพในการตานเชื้อจุลินทรียจากแปงขาวเจาผสมน้ํามันหอมระเหย และหรือสาร สกัดจากพืชวงศสม 3 ชนิด คือ มะนาว มะกรูดและสมโอ ซึ่งสกัดดวยเอทานอล ปโตรเลียมอีเทอรและตมกลั่น พบวา ฟลมแปง ขาวเจาที่เติมสารสกัดจากมะนาวดวยเอทานอล (RF-WLEtOH) และฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดสมโอดวยปโตรเลียมอีเทอร (RF-WPPT) สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (E. coli, S. aureus, B. cereus, Leuconostoc mesenteroides และ Lactobacillus plantarum) ยีสต (Saccharomyces cerevisiae) ไดดีกวาฟลมชนิดอื่น แตไมสามารถยับยั้งเชื้อรา (Penicillium sp.) (Table 1) สวนคาการซึมผานไอน้ํา (WVTR) และคาการละลายฟลม (solubility) พบวา RF-WLEtOH และ RF-WPPT(Figure 1a และ b) มีคาต่ําที่สุด อาจเพราะวาฟลมแปงผสมไคโตแซนมีการดูดซับความชื้นไวสูง จึงมีการซึมผานไอ น้ําของฟลมนอยกวาฟลมชนิดอื่น (Mali et al., 2004; Sezer et al., 2007) เมื่อเติมสารสกัดจากธรรมชาติอาจเปนตัวชวยให ฟลมมีการดูดซับความชื้นไดเนื่องจากเปนสารสกัดจากธรรมชาติมีน้ํามันหอมระเหยทําใหมีการซึมผานของไอน้ําของฟลมมีคา ลดลง และฟลมแปงขาวเจาผสมไคโตแซนมีการเปลี่ยนแปลงการซึมผานของไอน้ํา จึงมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นสูง (Park et al., 2001) สวนคาการตานทานแรงดึงขาด (tensile strength) และการยืดตัวของฟลม (elongation) พบวา RF-WLEtOH มี การยืดตัวดีกวาฟลมชนิดอื่นแตนอยกวา film-control (Figure 1c และ d) เมื่อนํา RF-WLEtOH และ RF-WPPT มาใชในการหอสมโอพรอมบริโภค และเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับสมโอหอดวย film-control พบวา เมื่อนําไปเก็บรักษาที่ 10°C RH 80%± 5 พบวา คา b สมโอ RF-WLEtOH และ RF-WPPT สูงกวาสมโอหอ ดวย film-control ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Rhim et al. (1998) และ Bourtoom และ Chinnan (2007) ที่รายงาน ฟลมขาว ที่ผสมดวยไคโตแซน เมื่อนําไปหอผลิตภัณฑมีคา b เพิ่มมากขึ้น สมโอ RF-WLEtOH และ RF-WPPT มีการสูญเสียน้ําหนักต่ํา กวาสมโอที่หอดวย film control แตมีความแนนเนื้อสูงกวาสมโอที่หอดวย film control ที่มีความแตกตางของสมโอที่หอดวย film control เพราะไมไดเติมน้ํามันหอมระเหย ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Serrano et al. (2005) ที่ศึกษาการยืดอายุการเก็บ รักษา sweet cherry ที่เติมน้ํามันหอมระเหย eugenol, thymol, menthol พบวาชวยลดการสูญเสียน้ําหนัก (weight loss) รักษาสีและความแนนเนื้อ (firmness) ของผล cherry รวมทั้งกานของ cherry ยังคงความเขียวเมื่อเปรียบเทียบกับ control สรุป ฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดจากมะนาวดวยเอทานอล (RF-WLEtOH) และฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดสมโอ ดวย ปโตรเลียมอีเทอร (RF-WPPT) มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุดเหมาะที่นํามาหอสมโอ และเมื่อนํามาหอสมโอ สมโอ RF-

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 คุณสมบัติและประสิทธิภาพในการตานทานเชื้อ 105 WLEtOH และ RF-WPPT มีคา b สูงกวาสมโอหอดวย film-control และมีการสูญเสียน้ําหนักต่ํากวาสมโอที่หอดวย film control แตมีความแนนเนื้อสูงกวาสมโอที่หอดวย film control และสมโอที่หอดวยฟลมทั้ง 3 ชนิดไมพบปริมาณเชื้อจุลินทรีย ตลอดการทดลอง (16 วัน) สําหรับคะแนนความชอบโดยรวมปรากฎวาสมโอ RF-WLEtOH ไดคะแนนสูงกวาสมโอที่หอดวย ฟลมอีก 2 ชนิด จากการทดลองจึงสรุปไดวา ฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดจากมะนาวดวยเอทานอล (RF-WLEtOH) มี คุณสมบัติทางกายภาพที่ดีมีคะแนนความชอบโดยรวมมากที่สุด สามารถนํามาประยุกตใชในผลิตภัณฑอาหาร ผลไมตัดแตง หรือผลไมพรอมบริโภค เนื่องจากเปนการพัฒนาฟลมจากสารธรรมชาติที่สามารถนํามาบริโภคได คําขอบคุณ ขอขอบคุณสํานักงานสนับสนุนกองทุนการวิจัย (สกว) สํานักงานผูประสานงานโครงการสมุนไพรเพื่อคุณภาพชีวิต (ศ.ดร. นันทวัน บุญยะประภัศร) ที่ไดใหทุนสนับสนุนงานวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอางอิง American Standard for Testing and Materials. 1989. Standard Test Method for Tensile Properties of Thin PlasticSheeting. ASTM D882-88 of Materials. Annual Book of ASTM Standard. Philadelphia. Bourtoom, T. and M.S. Chinnan. 2007. Preparation and properties of rice starchechitosan blend biodegradable film. Journal of Food Science. 41: 1633-1641. Gennadios, A., C.L. Weller and R.F. Testin. 1993. Temperature Effect on Oxygen Permeability of Edible Protein- Base Films. Journal of Food Science. 58: 212-214 Laohakunjit, N. and A. Noomhorm. 2004. Effect of plasticizers on mechanical and barrier properties of rice starch film. Starch/Starke. 56: 348-356. Mali, S., V.D. Alves, A. Beléia and M.V.E. Grossmann. 2007. Effect of glycerol and amylose enrichment on cassava starch film properties. Journal of Food Engineering. 78: 941–946 Park, S.Y., K.S. Marsh and J.W. Rhim. 2002. Characteristics of different molecular weight chitosan films affected by the type of organic solvents. Journal of Food Science. 67: 194-197. Rhim, J. W., C.L. Weller and K.S. Ham. 1998. Characteristics of chitosan films as affected by type of solvent acid. Journal of Food Science and Biotechnology. 7(4): 263-8. Rhim, J.W., C.L. Weller and K.S. Ham. 1998. Soy protein isolate–dialdehyde starch films. Industrial Crops and Products. 8: 195–203. Serrano, M., D. Martinez-romero, S. Castillo, F. Guillen and D. Valero. 2005. The use of natural antifungal compounds improves the beneficial effect of MAP in sweet cherry storage. Innovative Food Science and Emerging Technologies. 6: 115-123.

104 คุณสมบัติและประสิทธิภาพในการตานทานเชื้อ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

การใช biofilm รวมกับสารสกัดจากพืชสามารถนํามาประยุกตในผลิตภัณฑผลไมพรอมบริโภค โดยเฉพาะการพัฒนาฟลมที่<br />

บริโภคไดจากแปงขาวเจา และการนํา biofilm มาเติมสารสกัดจากพืชวงศสม จะเปนทางเลือกอีกทางหนึ่งในการเพิ่มมูลคาของ<br />

ผลิตภัณฑที่มาจากธรรมชาติ สามารถปองกันเชื้อจุลินทรีย และชวยยืดอายุผลิตภัณฑสมโอพรอมบริโภคใหมีความปลอดภัยอีก<br />

ดวย<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

นําแปงขาวเจามีความเขมขนรอยละ 5 โดยน้ําหนัก มาใหความรอนจนแปงสุกเกิดเจลาติไนซ ปลอยทิ้งไวใหอุนเติม<br />

สารพลาสติไซเซอรความเขมขนรอยละ 30 โดยน้ําหนัก เติมน้ํามันหอมระเหยจากพืชทั้ง 3 ชนิดไดแก มะนาว (lime) มะกรูด<br />

(kaffir lime) และสมโอ (pummelo) ไดจากการตมกลั่น (hydrodistillation) และการสกัดดวยตัวทําละลาย ใชตัวทําละลาย 2<br />

ชนิดคือ แอลกอฮอลและปโตรเลียมอีเทอร นําสารละลายไปเทหรือ cast ลงบนแทนพิมพพลาสติกเมื่อแผนฟลมแหงนําไปเก็บไว<br />

ใน desiccator วิเคราะหคุณสมบัติของฟลมดังนี ้คือ การละลาย (Laohakunjit และ Noomhorm, 2004) การตานทานแรงดึง<br />

ขาดและการยืดตัวของฟลมโดยวิธี ASTMD882-88 standard (ASTM, 1989) การซึมผานไอน้ํา (WVTR) โดยวิธี dish method<br />

E96 (ASTM, 1995) ทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ โดยการ spread mold และ yeast คัดเลือกฟลมที่ดีที่สุดมาทดสอบ<br />

กับสมโอตัดแตงสด นําไปเก็บรักษาที่ 10°C RH 90% วิเคราะหสมโอวันที่ 1 (ทันทีหลังแชตูเย็น) 2 6 9 13 และ 16 วัน ทางดาน<br />

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพไดแก สี โดย colorimeter, weight loss (ชั่งน้ําหนัก), firmness โดย texture analyzer, total<br />

soluble solid content ดวยเครื่อง digital refractometer และความเปนกรด โดยการ titrate รวมทั้ง sensory analysis ศึกษา<br />

อายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ และนําไปวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) และ Least<br />

Significant Difference (LSD) โดยใชโปรแกรม SAS (1991)<br />

ผลและวิจารณ<br />

ผลการศึกษาคุณสมบัติและประสิทธิภาพในการตานเชื้อจุลินทรียจากแปงขาวเจาผสมน้ํามันหอมระเหย และหรือสาร<br />

สกัดจากพืชวงศสม 3 ชนิด คือ มะนาว มะกรูดและสมโอ ซึ่งสกัดดวยเอทานอล ปโตรเลียมอีเทอรและตมกลั่น พบวา ฟลมแปง<br />

ขาวเจาที่เติมสารสกัดจากมะนาวดวยเอทานอล (RF-WLEtOH) และฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดสมโอดวยปโตรเลียมอีเทอร<br />

(RF-WPPT) สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (E. coli, S. aureus, B. cereus, Leuconostoc mesenteroides และ<br />

Lactobacillus plantarum) ยีสต (Saccharomyces cerevisiae) ไดดีกวาฟลมชนิดอื่น แตไมสามารถยับยั้งเชื้อรา<br />

(Penicillium sp.) (Table 1) สวนคาการซึมผานไอน้ํา (WVTR) และคาการละลายฟลม (solubility) พบวา RF-WLEtOH และ<br />

RF-WPPT(Figure 1a และ b) มีคาต่ําที่สุด อาจเพราะวาฟลมแปงผสมไคโตแซนมีการดูดซับความชื้นไวสูง จึงมีการซึมผานไอ<br />

น้ําของฟลมนอยกวาฟลมชนิดอื่น (Mali et al., 2004; Sezer et al., 2007) เมื่อเติมสารสกัดจากธรรมชาติอาจเปนตัวชวยให<br />

ฟลมมีการดูดซับความชื้นไดเนื่องจากเปนสารสกัดจากธรรมชาติมีน้ํามันหอมระเหยทําใหมีการซึมผานของไอน้ําของฟลมมีคา<br />

ลดลง และฟลมแปงขาวเจาผสมไคโตแซนมีการเปลี่ยนแปลงการซึมผานของไอน้ํา จึงมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นสูง (Park et<br />

al., 2001) สวนคาการตานทานแรงดึงขาด (tensile strength) และการยืดตัวของฟลม (elongation) พบวา RF-WLEtOH มี<br />

การยืดตัวดีกวาฟลมชนิดอื่นแตนอยกวา film-control (Figure 1c และ d)<br />

เมื่อนํา RF-WLEtOH และ RF-WPPT มาใชในการหอสมโอพรอมบริโภค และเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับสมโอหอดวย<br />

film-control พบวา เมื่อนําไปเก็บรักษาที่ 10°C RH 80%± 5 พบวา คา b สมโอ RF-WLEtOH และ RF-WPPT สูงกวาสมโอหอ<br />

ดวย film-control ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Rhim et al. (1998) และ Bourtoom และ Chinnan (2007) ที่รายงาน ฟลมขาว<br />

ที่ผสมดวยไคโตแซน เมื่อนําไปหอผลิตภัณฑมีคา b เพิ่มมากขึ้น สมโอ RF-WLEtOH และ RF-WPPT มีการสูญเสียน้ําหนักต่ํา<br />

กวาสมโอที่หอดวย film control แตมีความแนนเนื้อสูงกวาสมโอที่หอดวย film control ที่มีความแตกตางของสมโอที่หอดวย<br />

film control เพราะไมไดเติมน้ํามันหอมระเหย ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Serrano et al. (2005) ที่ศึกษาการยืดอายุการเก็บ<br />

รักษา sweet cherry ที่เติมน้ํามันหอมระเหย eugenol, thymol, menthol พบวาชวยลดการสูญเสียน้ําหนัก (weight loss)<br />

รักษาสีและความแนนเนื้อ (firmness) ของผล cherry รวมทั้งกานของ cherry ยังคงความเขียวเมื่อเปรียบเทียบกับ control<br />

สรุป<br />

ฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดจากมะนาวดวยเอทานอล (RF-WLEtOH) และฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดสมโอ<br />

ดวย ปโตรเลียมอีเทอร (RF-WPPT) มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุดเหมาะที่นํามาหอสมโอ และเมื่อนํามาหอสมโอ สมโอ RF-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!