part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

102 สารสําคัญจากน้ํามันหอมระเหยพืชวงศขิง ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร Table 2 % relative peak area ของน้ํามันหอมระเหยขมิ้นชันที่ไดจากการสกัด SDE % relative peak area of components Turmeric galangal ginger α -pinene 0.19 α -pinene 1.30 α -pinene 3.57 α -phellandrene 4.60 camphene 1.50 camphene 12.47 1,8-cineole 4.30 cymene 0.77 α -phellandrene 4.19 terpinene 0.27 1,8-cineole 34.68 1,8-cineol 17.89 terpinolene 7.10 terpinene 5.51 α -terpinolene 1.15 p-cymen-8-ol 0.16 α -terpineol 2.60 citronellal 2.54 caryophyllene 1.00 chavical 1.56 borneol 3.10 β-chamigene 0.42 hydroxy- α - 22.44 verbenol 12.37 terpenylacetate α -curcumene 1.27 elemene 1.6 citral 15.20 α -zingiberene 2.42 caryophyllene 19.76 α -curcumene 5.74 curcumene 2.85 allo-aromadendrene 7.53 α -zingiberene 11.20 tumerone 53.82 α -farnesene 6.28 curlone 20.01 β-sesquiphellandrene 4.32 cuminol 1.59 คําขอบคุณ ขอขอบคุณสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ใหการสนับสนุนทุนวิจัยพื้นฐานแบบมุงเปาสมุนไพร ยา รักษาโรค สารเสริมสุขภาพและสารสําหรับผลิตอาหารปลอดภัย โครงการ “ประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรในการ ควบคุมและกําจัดแมลงที่ทําลายขาว” เอกสารอางอิง กฤติกา นรจิตร. 2548. คุณสมบัติของสารสกัดจากพืชวงศขิง: อิทธิพลของวิธีการสกัดตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ แบคทีเรียและเปนการตานอนุมูลอิสระ. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวเคมี คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. 144 หนา. มณฑกาญจน ชนะภัย. 2549. ชนิดและปริมาณของสารสกัดจากพืชวงศ Zingiberraceae, Apiaceae และ Piperraceae ตอ การควบคุมหนอนกระทูหอม (Spodoptera exgua) และเชื้อราสาเหตุโรคใบจุด (Alternaria brassicicola), วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวเคมี คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. 139 หนา. Chen, C.C. and C.T. Ho. 1986. Chromatographic analyses of isomeric shogaol compounds derived from isolated gingerol compounds of ginger (Zingiber officinale Roscoe.). Journal of Chromatography. 360: 175-184. Likens, S.T. and G.B. Nickerson. 1964. Detection of certain hop oil constituents in brewing product. Process American Society Brewery Chemistry. 157 p. Hiserodt, R., T.G. Hartman, C.T. Ho and R.T. Rosen. 1996. Characterization of powdered turmeric by liquid chromatography mass-spectrometry and gas chromatography-mass spectrometry. Journal of Chromatography A. 740: 51-63. Leela, N.K., A. Tava, P.M. Shafi, S.P. John and B. Chempakam. 2002. Chemical composition of essential oils of turmeric (Curcuma longa L.). Acta Pharmaceutica. 52: 137–141. Yu, Y., T. Huang, B. Yang, X. Liu and G. Duan. 2007. Development of gas chromatography-mass spectrometry with microwave distillation and simultaneous solid-phase microextraction for rapid determination of volatile constituents in ginger. Journal of Pharmaceutical and Biomedical Analysis. 43(1): 24-31. Variyar, P.S., A.S. Gholap and P. Thomas. 1997. Effect of γ-irradiation on the volatile oil constituents of fresh ginger (Zingiber officinale) rhizome”, Food Research International. 30(1): 41-43. Tognalini, M., E. Barocelli, V. Ballabeni, R. Bruni, A. Bianchi, M. Chiavarini and M. Impicciatore. 2006. Comparative screening of plant essential oils: Phenylpropanoid moiety as basic core for antiplatelet activity. Life Sciences. 78: 1419-1432.

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 103-106 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 103-106 (2552) คุณสมบัติและประสิทธิภาพในการตานทานเชื้อจุลินทรียของฟลมที่บริโภคได Physical Properties and Anti-Microbial Efficiency of Edible Films อิงฟา คําแพง 1 อรพิน เกิดชูชื่น 1 1 และ ณัฏฐา เลาหกุลจิตต Khampang, E. 1 , Kerdchoechuen, O. 1 , and Laohakunjit, N. 1 Abstract Physical properties were examined and antimicrobial efficiency of biofilm modified from rice starch was determined for applying to minimally processed pummelo (MPP) or ready to eat pummelo. Essential oil or plant extract was from 3 Rutaceae; lime, kaffir lime, and pummelo by ethanol, petroleum ether and hydrodistillation. Results showed that films with lime oil extracted with ethanol (RF-WLEtOH) and pummelo oil extracted with petroleum ether (RF-WPPT) inhibited bacteria (Escherichia coli, Staphylococcus aureus, Bacillus cereus, Leuconostoc mesenteroides, and Lactobacillus plantarum) and yeast (Saccharomyces cerevisiae) greater than the remaining films. In this study, none of the films inhibited the growth of the tested fungi (Penicillium sp.). It was also found that water vapor transmission rate and solubility of RF-WLEtOH and RF-WPPT were lower than the control film. Tensile strength and elongation of RF-WLEtOH was greater than RF-WPPT and control. When the RF- WLEtOH and RF-WPPT were applied to MPP and kept at 10°C RH 80% ± 5, results showed that b values of RF- WLEtOH and RF-WPPT were higher than the control. MPP wrapped with RF-WLEtOH and RF-WPPT had less weight loss but fruit firmness was increased compared to the control. However, films were not infected with microbes during the 16 days of the experiment. Sensory analysis showed that overall acceptance of MPP wrapped with RF-WLEtOH was the highest compared to film with RF-WPPT and the control. Keywords : rice starch film (RF), essential oil, antimicrobial บทคัดยอ คุณสมบัติและประสิทธิภาพในการตานทานเชื้อจุลินทรียของฟลมแปงขาวเจาผสมน้ํามันหอมระเหย และหรือสาร สกัดจากพืชวงศสม 3 ชนิด คือ มะนาว มะกรูดและสมโอ ซึ่งสกัดดวยเอทานอล ปโตรเลียมอีเทอรและตมกลั่น พบวา ฟลมแปง ขาวเจาที่เติมสารสกัดจากมะนาวดวยเอทานอล (RF-WLEtOH) และฟลมแปงขาวเจาที่เติมสารสกัดสมโอดวยปโตรเลียมอีเทอร (RF-WPPT) สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (E. coli, S. aureus, B. cereus, Leuconostoc mesenteroides และ Lactobacillus plantarum) ยีสต (Saccharomyces cerevisiae) ไดดีกวาฟลมชนิดอื่น แตไมสามารถยับยั้งเชื้อรา (Penicillium sp.) สวนคาการซึมผานไอน้ํา และคาการละลายฟลม พบวา RF-WLEtOH และ RF-WPPT มีคาต่ําที่สุด สวนคา การตานทานแรงดึงขาดและการยืดตัวของฟลม พบวา RF-WLEtOH มีการยืดตัวดีกวาฟลมชนิดอื่น เมื่อนํา RF-WLEtOH และ RF-WPPT มาใชในการหอสมโอพรอมบริโภค นําไปเก็บรักษาที่ 10°C RH 80%± 5 พบวา คา b สมโอ RF-WLEtOH และ RF- WPPT สูงกวาสมโอหอดวย film-control และสมโอ RF-WLEtOH และ RF-WPPT มีการสูญเสียน้ําหนักต่ ํากวาสมโอที่หอดวย film control แตมีความแนนเนื้อสูงกวาสมโอที่หอดวย film control อยางไรก็ตามฟลมทั้ง 3 ชนิดไมพบปริมาณเชื้อจุลินทรีย ตลอดการทดลอง (16 วัน) สําหรับคะแนนความชอบโดยรวมปรากฎวาสมโอ RF-WLEtOH ไดคะแนนสูงกวาสมโอที่หอดวย ฟลมอีก 2 ชนิด คําสําคัญ : ฟลมแปงขาวเจา (RF) น้ํามันหอมระเหย การตานทานเชื้อจุลินทรีย คํานํา ผลิตภัณฑสมโอพรอมบริโภคในรูปของ minimally processed มีอัตราการหายใจมากกวาสภาพปกติ 1.2-7.0 เทา มี การสูญเสียหลังการแปรรูปหลายดาน รวมทั้งการปนเปอนของเชื้อจุลินทรียที่กอโรค (pathogen) หลายชนิด จึงมีการนําฟลมที่ บริโภคไดใชกับผลิตภัณฑเหลานี้ โดยการเคลือบโดยตรง หรือเตรียมแผนฟลม (Gennadios และ Weller, 1995) อยางไรก็ตาม 1 คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 83 หมู 8 ถนนเทียนทะเล ทาขาม บางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 1 School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, 83 Mu 8, Teintalay Rd., Thakam, Bangkhuntein, Bangkok 10150

102 สารสําคัญจากน้ํามันหอมระเหยพืชวงศขิง ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

Table 2 % relative peak area ของน้ํามันหอมระเหยขมิ้นชันที่ไดจากการสกัด SDE<br />

% relative peak area of components<br />

Turmeric galangal ginger<br />

α -pinene 0.19 α -pinene 1.30 α -pinene 3.57<br />

α -phellandrene 4.60 camphene 1.50 camphene 12.47<br />

1,8-cineole 4.30 cymene 0.77 α -phellandrene 4.19<br />

terpinene 0.27 1,8-cineole 34.68 1,8-cineol 17.89<br />

terpinolene 7.10 terpinene 5.51 α -terpinolene 1.15<br />

p-cymen-8-ol 0.16 α -terpineol 2.60 citronellal 2.54<br />

caryophyllene 1.00 chavical 1.56 borneol 3.10<br />

β-chamigene 0.42 hydroxy- α -<br />

22.44 verbenol 12.37<br />

terpenylacetate<br />

α -curcumene 1.27 elemene 1.6 citral 15.20<br />

α -zingiberene 2.42 caryophyllene 19.76 α -curcumene 5.74<br />

curcumene 2.85 allo-aromadendrene 7.53 α -zingiberene 11.20<br />

tumerone 53.82 α -farnesene 6.28<br />

curlone 20.01 β-sesquiphellandrene 4.32<br />

cuminol 1.59<br />

คําขอบคุณ<br />

ขอขอบคุณสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ใหการสนับสนุนทุนวิจัยพื้นฐานแบบมุงเปาสมุนไพร ยา<br />

รักษาโรค สารเสริมสุขภาพและสารสําหรับผลิตอาหารปลอดภัย โครงการ “ประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพรในการ<br />

ควบคุมและกําจัดแมลงที่ทําลายขาว”<br />

เอกสารอางอิง<br />

กฤติกา นรจิตร. 2548. คุณสมบัติของสารสกัดจากพืชวงศขิง: อิทธิพลของวิธีการสกัดตอการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ<br />

แบคทีเรียและเปนการตานอนุมูลอิสระ. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวเคมี<br />

คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. 144 หนา.<br />

มณฑกาญจน ชนะภัย. 2549. ชนิดและปริมาณของสารสกัดจากพืชวงศ Zingiberraceae, Apiaceae และ Piperraceae ตอ<br />

การควบคุมหนอนกระทูหอม (Spodoptera exgua) และเชื้อราสาเหตุโรคใบจุด (Alternaria brassicicola),<br />

วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวเคมี คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. 139 หนา.<br />

Chen, C.C. and C.T. Ho. 1986. Chromatographic analyses of isomeric shogaol compounds derived from isolated<br />

gingerol compounds of ginger (Zingiber officinale Roscoe.). Journal of Chromatography. 360: 175-184.<br />

Likens, S.T. and G.B. Nickerson. 1964. Detection of certain hop oil constituents in brewing product. Process<br />

American Society Brewery Chemistry. 157 p.<br />

Hiserodt, R., T.G. Hartman, C.T. Ho and R.T. Rosen. 1996. Characterization of powdered turmeric by liquid<br />

chromatography mass-spectrometry and gas chromatography-mass spectrometry. Journal of<br />

Chromatography A. 740: 51-63.<br />

Leela, N.K., A. Tava, P.M. Shafi, S.P. John and B. Chempakam. 2002. Chemical composition of essential oils of<br />

turmeric (Curcuma longa L.). Acta Pharmaceutica. 52: 137–141.<br />

Yu, Y., T. Huang, B. Yang, X. Liu and G. Duan. 2007. Development of gas chromatography-mass spectrometry<br />

with microwave distillation and simultaneous solid-phase microextraction for rapid determination of<br />

volatile constituents in ginger. Journal of Pharmaceutical and Biomedical Analysis. 43(1): 24-31.<br />

Variyar, P.S., A.S. Gholap and P. Thomas. 1997. Effect of γ-irradiation on the volatile oil constituents of fresh<br />

ginger (Zingiber officinale) rhizome”, Food Research International. 30(1): 41-43.<br />

Tognalini, M., E. Barocelli, V. Ballabeni, R. Bruni, A. Bianchi, M. Chiavarini and M. Impicciatore. 2006. Comparative<br />

screening of plant essential oils: Phenylpropanoid moiety as basic core for antiplatelet activity. Life<br />

Sciences. 78: 1419-1432.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!