22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

96 การวิเคราะหสาระสําคัญจากน้ํามันหอมระเหย ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

นําพืช 3 ชนิด ไดแก กะเพรา แมงลัก และโหระพา อยางละ 5 กิโลกรัม สกัดดวยวิธี Simultaneous Distillation-<br />

Extraction; SDE (Likens และ Nickerson, 1964) และ solvent ที่ใช คือ เฮกเซน สกัดเปนเวลา 24 ชั่วโมง แลวนํามาระเหยเฮ<br />

กเซน ดวยเครื่อง rotary evaporator ที่ความดัน 250 บาร อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส เก็บน้ํามันหอมระเหยในขวด ที่อุณหภูมิ<br />

ต่ํา กอนนํามาวิเคราะหองคประกอบเคมีและกายภาพ ไดแก<br />

- % yield ของน้ํามันหอมระเหย<br />

โดยใชสูตร % yield (v/w)(dry weight) = volume of essential oils (ml) x 100 %<br />

weight of raw materials<br />

- refractive index (RI) โดยใช hand-held refractometer<br />

- องคประกอบน้ํามันหอมระเหยดวย GC-MS โดยใช capillary คอลัมนชนิด: ZB5 (30 เมตร length x 0.25<br />

มิลลิเมตร ID x 0.25 เมตร film thickness), ฉีดตัวอยางแบบ split mode (split ratio, 1:20 v/v) อุณหภูมิ injector เทากับ 230<br />

องศาเซลเซียส สภาวะของคอลัมน อุณหภูมิเริ่มตนที่ 40 องศาเซลเซียส คงไว 5 นาที และเพิ่มขึ้นในอัตรา 3 องศาเซลเซียสตอ<br />

นาที จนถึง 250 องศาเซลเซียส และคงไว 5 นาที ใชฮีเลียมเปนแกสตัวพา และ ionization voltage 70 eV ใช mass range<br />

ตั้งแต 40-350 m/z อุณหภูมิ detector 280 องศาเซลเซียส แปลผลโดยเทียบกับ library ของ NIST และ Wiley 275 มีquality<br />

match > 85% และวิเคราะหคา Linear retention index (LRI) โดยเปรียบเทียบจากสารมาตรฐานอัลเคน (C 11 -C 25 alkane )<br />

ผลและวิจารณ<br />

%yield ของกะเพรา สูงกวาแมงลักและโหระพา โดยมี %yield เทากับ 0.116 0.069 และ 0.057% ตามลําดับ (Table<br />

1) สารสําคัญที่พบสูงสุดในน้ํามันหอมระเหยกะเพรา คือ methyl eugenol และ eugenol มี % relative peak area เทากับ<br />

52.27 และ 23.61 ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบ β-caryophyllene, β-chamigene, valencene, α-caryophyllene โดยมี %<br />

relative peak area เทากับ 17.49 2.15 2.02 และ 1.23% ตามลําดับ และยัง α-cubebene, borneol, γ-patchaulene โดยมี<br />

%relative peak area เทากับ 0.60 0.30 และ 0.19 ตามลําดับ รวมทั้งสารกลุม terpene อื่นเชน ocimene, 1,8-cineole, α-<br />

pinene, camphene และ β-pinene แตพบในปริมาณนอย สอดคลองกับงานวิจัยของ Kothari และคณะ (2004) สําหรับน้ํามัน<br />

หอมระเหยแมงลัก มีชนิดของสารสําคัญ ไดแก methylchavicol, α-cubebene, cis-β-citral (nerol), β-caryophyllene, α-<br />

bisabolene มี %relative peak area เทากับ 17.37 12.49 12.27 10.80 10.19 ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบ ocimeme,<br />

verbenone, cis-α-citral (geranial), 6-camphenone และ α-amorphene มี %relative peak area เทากับ 8.70 8.14 6.78<br />

5.88 และ 4.70 ตามลําดับ และยังพบสารประกอบอื่น ไดแก trans-α-bergamotene, α-caryophyllene, β-ocimeme,<br />

caryophyllene oxide, d-fenchoe, δ-cadinene มี % relative peak area เทากับ 3.69 3.61 1.55 1.34 และ 1.26 ตามลําดับ<br />

และสารสําคัญที่พบปริมาณสูงสุดในน้ํามันหอมระเหยโหระพา คือ methylchavicol มี % relative peak area เทากับ 84.98<br />

รองลงมาเปน trans-α-bergamotene, ocimene, 1,8-cineol, δ-cadinene, methyleugenol มี % relative peak area เทากับ<br />

5.9 2.3 1.26 1.15 และ 1.06 ตามลําดับ สวนสาร β-elemene, α-caryophyllene, α-farnesene, d-camphor, β-pinene,<br />

camphene, borneol, β-siliene และ valencene พบปริมาณเล็กนอย (0.13-0.76%) (Table 2 และ Figure 1)<br />

สําหรับสารสําคัญที่พบน้ํามันหอมระเหยจากพืชวงศกะเพรา 3 ชนิด คือ กะเพรา (methyleugenol และ eugenol β-<br />

caryophyllene, β-chamigene, valencene และα-caryophyllene) แมงลัก (methylchavicol, α-cubebene, cis-β-citral<br />

(nerol), β-caryophyllene และ α-bisabolene) และโหระพา (methylchavicol, trans-α-bergamotene, ocimene, 1,8-<br />

cineol, δ-cadinene, methyleugenol) เห็นไดวา methylchavicol เปนสารสําคัญในแมงลักและโหระพา โดยเฉพาะโหระพามี<br />

% relative peak area สูงเทากับ 84.98 สําหรับกะเพรามีสาร methyleugenol และ eugenol เปนสารสําคัญ ความแตกตาง<br />

ของสารสําคัญในพืชวงศกะเพรา ขึ้นกับปจจัยสภาพแวดลอม สภาพ และ สายพันธุ (Keita et al., 2001) โดยสายพันธุที่พบใน<br />

ประเทศไทยมีความเขมขนของ methylchavical สูงที่สุด (Marotti et al., 1996) สวนตัวอยางของพืชวงศกะเพราในประเทศฟจิ<br />

(Brophy และ Jogia, 1986) มีสารสําคัญคือ methyleugenol, linalool และ methyl cinnamate นอกจากนี้ Pino et al. (1994)<br />

พบ methylchavicol, 1,8-cineol และ linalool จากตัวอยางพืชวงศกะเพราในคิวบา ขณะที่พืชวงศกะเพราใน Bukina Faso มี<br />

สารสําคัญพวก 1,8-cineol, α-terpineol และ β-pinene<br />

Table 1 %yield, appearance and refractive index of 3 essential oils of holy, hairly and sweet basils.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!