22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 87-90 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 87-90 (2552)<br />

คุณสมบัติทางกายภาพ-ทางกลและประสิทธิภาพการปองกันการทําลายของปลวกของกระดาษผสมเยื่อแฝก<br />

Physical and Mechanical Properties and Efficacy for Termite Protection of<br />

Craft Paper Mixed With Vetiver Pulp<br />

ภักดี เครือคลาย 1 2<br />

ณัฎฐา เลาหกุลจิตต อรพิน เกิดชูชื่น 2 รัชฎาวรรณ นิ่มนวล 1 และ สุชปา เนตรประดิษฐ 1<br />

Krueklay, P. 1 , Laohakunjit, N. 2 , Kerdchoechuen, O. 1 , Nimnual, R. 1 and Natepradit, S. 1<br />

Abstract<br />

Physical and mechanical properties and the efficacy for termite protection of craft paper (CP) mixed with<br />

vetiver pulp (VP) (leaves and root) and eucalyptus pulp (EP) (leaves) after oil extraction were determined. The CP<br />

and VP was varied at 5 different ratios; 70:30, 60:40, 50:50, 40:60 and 30:70. Results showed that paper made<br />

from CP and VP at the high ratio of VP gave the best physical properties. Paper made from CP:VP ratio at the ratio<br />

or 30:70 resulted in the best tensile strength, burst resistance, shear resistance and values were 0.030 KN.m. Kg -1 ,<br />

1.665 KPa. m 2 , and 5.43 N.m 2 .Kg, respectively. Paper made from CP:VP was less damaged by termites than<br />

paper made from 100% CP. However, paper made from CP:EP showed greater weight loss than paper made from<br />

CP:VP as indicated by the Restrict and Free Method of termite testing.<br />

Keywords : craft paper (CP), vetiver paper (VP), eucaluptus pulp (EP), tensile strength, burst resistance<br />

บทคัดยอ<br />

ผลการศึกษาการนําเยื่อกระดาษคราฟท (CP) ผสมกับเยื่อแฝก (VP) (จากสวนใบและราก) และผสมกับเยื่อยูคา<br />

ลิปตัส (EP) จากสวนใบ ที่ผานการสกัดน้ํามันหอมระเหยแลว ในอัตราสวนแตกตางกันคือ 70:30 60:40 50:50 40:60 และ<br />

30:70 พบวากระดาษที่มีสวนผสมของเยื่อแฝกในอัตราสวนที่เพิ่มขึ้น ทําใหคุณสมบัติทางกายภาพเพิ่มขึ้น โดยกระดาษที่มี<br />

อัตราสวนของ CP:VP เทากับ 30:70 มีคุณสมบัติดานความตานแรงดึง (tensile strength) ความตานแรงดันทะลุ (burst<br />

resistance) และความตานแรงฉีกขาด (shear resistance) ดีที่สุดมีคาเทากับ 0.030 KN.m. Kg -1 1.665 KPa. m 2 และ 5.43<br />

N.m 2 .Kg นอกจากนี้ยังพบวากระดาษที่มีสวนผสมของ CP:VP ถูกปลวกทําลายนอยกวากระดาษที่มีสวนผสมจาก CP เพียง<br />

อยางเดียว สวนกระดาษ CP:EP มีการทําลายของปลวกมากกวากระดาษที่มีสวนผสมจาก CP:VP ทั้งจากการทดสอบแบบ<br />

บังคับและแบบอิสระ<br />

คําสําคัญ : เยื่อกระดาษคราฟท (CP) เยื่อแฝก (VP) เยื่อยูคาลิปตัส (EP) ความตานทานแรงดึง ความตานทานแรงทะลุ<br />

คํานํา<br />

วัตถุที่ใชในการบรรจุสินคาเพื่อการขนสง สวนมากเปนกลองที่ทําจากกระดาษลูกฟูก สาเหตุที่ทําใหกลองกระดาษ<br />

ลูกฟูกเปนที่นิยมเนื่องมาจากมีราคาถูก น้ําหนักเบา สามารถเลือกความหนาและขนาดของกลองใหเหมาะสมกับความตองการ<br />

ของสินคาได สินคาบางชนิดจําเปนตองมีการเก็บรักษาไวในกลองกระดาษลูกฟูกเพื่อรอการขนถายสินคา หรือรอการจําหนาย<br />

ใหกับลูกคาเปนระยะเวลานาน แตเนื่องจากกลองเปนวัสดุที่ทําจากกระดาษ ประกอบดวยเสนใยเซลลูโลส ซึ่งเปนอาหารหลัก<br />

ของปลวก (จารุณี และยุพาพร, 2547) จึงทําใหกลองกระดาษลูกฟูกที่ถูกเก็บไวในสถานที่อับชื้นเปนระยะเวลานาน มีโอกาสถูก<br />

ปลวกบุกเขาทําการกัดกินได ทําใหเกิดความเสียหายแกบรรจุภัณฑและสินคาที่ถูกบรรจุไวภายในได นอกจากนี้ประชาชนทั่วไป<br />

ที่นิยมเก็บเครื่องใชตางๆ ไวในกลองกระดาษลูกฟูกเปนระยะเวลานานๆ มักประสบปญหาเชนเดียวกัน ปจจุบันไดมีการใช<br />

สารเคมีที่มีพิษในการฆาแมลงไดหรือที่เรียกวา “ยาปองกันกําจัดแมลงหรือยาฆาแมลง” มาใชเปนสารกําจัดปลวกซึ่งใหผลดี แต<br />

สารเคมีเหลานี้เปนสารมีพิษ ซึ่งเปนอันตรายตอสุขภาพ ผลเสียที่ตามมาคือ พิษที่ตกคางมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม สารสกัด<br />

ธรรมชาติจากพืชหลายชนิดซึ่งหาไดงาย พบขึ้นอยู ทั่วไป มีความสามารถในการปองกันและขับไลแมลงได เชน หญาแฝก พบวา<br />

1 คณะครุอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 129 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุงครุ กรุงเทพ 10140<br />

1 Faculty of Industrial Education and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, 129 Prachautit Rd., Bangmod, Toongkru, Bangkok 10140<br />

2 คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 83 หมู 8 ถนนเทียนทะเล แขวงทาขาม กรุงเทพ 10150<br />

2 School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, 83 Mu 8 Tientalya Rd., Thakam, Bangkok 10150

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!