22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

84 ประสิทธิภาพของการเปนสารตานอนุมลอิสระ ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

ของเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัดจากพืชพื้นบานไทยจํานวน 5 ชนิด คือ ขมิ้นชัน ไพล ขิง ขา และบัวบก ซึ่งนอกจากชวยลด<br />

การนําเขาสารสกัดและผลิตภัณฑเครื่องสําอางสมุนไพรจากตางประเทศ ยังสามารถนําไปพัฒนาเพื่อใชในอุตสาหกรรม<br />

เครื่องสําอางตอไป<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

พืชสมุนไพร 5 ชนิดไดแก ขมิ้นชัน ไพล ขิง ขา และบัวบก หลังจากลางทําความสะอาด แบงออกเปนชนิดตัวอยางสด<br />

และตัวอยางแหง (อบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เวลา 24 ชั่วโมง ใหมีความชื้นรอยละ 5) นํามาสกัดดวยตัวทําละลาย 2 ชนิด<br />

คือ เอทานอล (EtOH) และปโตรเลียมอีเทอร (PT) สกัดเปนเวลา 24 ชั่วโมง ระเหยตัวทําละลายออกดวยเครื่อง rotary<br />

evaporator เก็บสารสกัดในขวดสีชาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส วิเคราะหคุณสมบัติเชิงหนาที่ของสารสกัด ดังนี้ %yield (w/w)<br />

ปริมาณโพลีฟนอลทั้งหมดดวยวิธี Folin-Ciocalteu คํานวณปริมาณ total phenolic compounds เทียบจากกราฟมาตรฐาน<br />

ของ gallic acid วิเคราะหความสามารถในการตานอนุมูลอิสระ (antioxidant activities) ดวยวิธี 1,1-diphenyl-2-<br />

picrylhydrazyl (DPPH) scavenging activity method และคํานวณ % DPPH scavenging effect และวิเคราะห<br />

ความสามารถในการยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนส (tyrosinase inhibition activities) ดัดแปลงจาก Wu et al. (2003)<br />

โดยละลายสารสกัดและเจือจาง 30 เทาดวย dimethly sulfoxide (DMSO) เติมสารตั้งตน 5.0 mM 3,4-<br />

dihydroxyphenylalanine (L-DOPA) 2 mL ที่ผสมกับ 0.05 M ของ Phosphate buffer (pH 6.8) 0.9 mL ตั้งทิ้งไวที่<br />

อุณหภูมิหอง 10 นาที เติมสารละลายเอนไซมไทโรซิเนส (0.3 mg/ml) ตั้งทิ้งไว 30 นาที วัดคาการดูดกลืนแสงที่ 475 nm และ<br />

คํานวณ % Tyrosinase Inhibition<br />

ผลและวิจารณ<br />

จากการสกัดพืชตัวอยาง 5 ชนิดไดแก ขมิ้นชัน ไพล ขิง ขา และบัวบก ดวยตัวทําละลายที่แตกตางกัน พบวา % yield<br />

ของสารสกัดบัวบกชนิดอบแหงที่สกัดดวยเอทานอลมีคาสูงสุด (2.73%) รองลงมาคือชนิดสดที่สกัดดวยเอทานอลสูงที่สุด<br />

(2.56%) สวน % yield ที่นอยที่สุดคือ ขมิ้นอบแหงที่สกัดดวยปโตรเลียมอีเทอร มีคาเทากับ 0.47 (Table 1) และเมื่อวิเคราะห<br />

ปริมาณโพลีฟนอลทั้งหมด พบวาปริมาณ total phenols ของสารสกัดจากพืช 5 ชนิดที่สกัดดวยตัวทําละลายทั้ง 2 ชนิด มีคา<br />

ระหวาง 1.26 ถึง 39.52 µg/ml โดยสารสกัดจากขิงสดที่สกัดดวย EtOH มีปริมาณ total phenols มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบ<br />

กับสารสกัดจากพืชชนิดอื่นๆ ที่สกัดดวย EtOH และ PT โดยขิงสดที่สกัดดวยตัวทําละลาย EtOH มีปริมาณ total phenols<br />

เทากับ 39.52 µg/ml สวนสารสกัดจากบัวบกอบแหงที่สกัดดวย petroleum ether มีปริมาณ total phenols นอยที่สุดคือ 1.54<br />

µg/ml (Table 1) สวนความสามารถในการเปนสารตานอนุมูลอิสระ โดยเปรียบเทียบคา % DPPH scavenging effect พบวา<br />

คาความสามารถในการเขาจับอนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืชทั้ง 5 ชนิดมีความสัมพันธกับความเขมขนของสารสกัดที่เพิ่มขึ้น<br />

เมื่อความเขมขนของสารสกัดจากพืชเพิ่มขึ้นทําให คา %DPPH scavenging effect เพิ่มขึ้น (Table 1) และยังพบวาคาการเปน<br />

สารตานอนุมูลอิสระของสารสกัดจากขิงมีคามากที่สุดและมีความสัมพันธกับปริมาณ total phenols รวมทั้ง ขิง ไพล ขา บัวบก<br />

และขมิ้นชันมีแนวโนมทํานองเดียวกัน นอกจากนี ้การสกัดตัวอยางทั้งชนิดสดและชนิดแหงดวย EtOH ใหปริมาณ total<br />

phenols และ คา %DPPH scavenging effect สูงกวาตัวอยางทั้งชนิดสดและแหงที่สกัดดวย PT<br />

สวนคาความสามารถในการยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนสจากสารสกัดพืช พบวาสารสกัดจากขมิ้นชันดวย<br />

EtOH ใหคาการยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนสมากที่สุด รองลงมาคือ บัวบก ไพล ขิง และขา ตามลําดับ และที่เวลา 10<br />

นาที คา % inhibition ของสารสกัดขมิ้นสดสกัดดวย EtOH ขมิ้นชันสดสกัดดวย PT ขมิ้นชันอบแหงสกัดดวย PT และไพล<br />

อบแหงสกัดดวย EtOH มีการยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนส เทากับรอยละ 40.06 35.52 32.17 และ 29.77<br />

ตามลําดับ ซึ่งมีคาใกลเคียงจากการศึกษาสารสกัดจากพืชสมุนไพรจีน (Wang, 2006) ซึ่งเปรียบเทียบกับสารอัลบูติน (albutin)<br />

ที่มีการใชอยูในในอุตสาหกรรมเครื่องสําอาง (% inhibition 43.5) เมื่อเปรียบเทียบความสามารถของการยับยั้งการทํางานของ<br />

เอนไซมไทโรซิเนสของตัวอยางพืชชนิดเดียวกัน ที่ใชวิธีการสกัดที่แตกตางกัน พบวาการสกัดตัวอยางสดดวย EtOH มี<br />

ประสิทธิภาพในการยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนสไดมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบตัวอยางอบแหงที่สกัดดวย EtOH และ<br />

PT และตัวอยางสดที่สกัดดวย PT ตามลําดับ (Figure 1)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!