22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 83-86 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 83-86 (2552)<br />

ประสิทธิภาพของการเปนสารตานอนุมลอิสระและการยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนสของสารสกัดจากพืช 5 ชนิด<br />

Antioxidant Activities and Tyrosinase Inhibitory of five Plant Extracts<br />

จินดาพร คงเดช 1 ณัฏฐา เลาหกุลจิตต 1 และ อรพิน เกิดชูชื่น 1<br />

Khongdetch, J. 1 , Laohakunjit, N. 1 and Kerdchoechuen, O. 1<br />

Abstract<br />

Five traditional Thai herbs; turmeric, phlai, ginger, galangal and Gotu Kola were extracted by 2 solvents;<br />

ethanol (EtOH) and petroleum ether (PT). Extracts were then tested for tyrosinase inhibition by enzymatic assay<br />

and antioxidant activity by 1,1-diphenyl-2-picrylhydrazyl (DPPH) scavenging methods. Extracts from fresh turmeric<br />

with EtOH, fresh turmeric with PT, dried turmeric with EtOH, and dried phlai with EtOH, showed the highest<br />

percentage of tyrosinase inhibition with values of 40.06, 35.52, 32.17 and 29.77, respectively. Extracts obtained<br />

from fresh ginger with EtOH, fresh ginger with PT, dried ginger with EtOH and dried ginger with PT had<br />

percentage inhibition values of 91.21, 87.09, 84.06 and 76.92, respectively. Total phenolic content resulted in a<br />

positive relation with %inhibition of DPPH scavenging.<br />

Keywords : antioxidant, tyrosinase, plants extract<br />

บทคัดยอ<br />

พืชสมุนไพรไทย 5 ชนิด ไดแก ขมิ้นชัน ไพล ขิง ขา และบัวบก สกัดโดยใชตัวทําละลาย 2 ชนิด คือ เอทานอล (EtOH)<br />

และปโตรเลียมอีเทอร (PT) แลวนําสารสกัดมาทดสอบความสามารถในการยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนส (%<br />

tyrosinase inhibition) โดยวิธี enzyme assay และการเปนสารตานอนุมูลอิสระ ดวยวิธี DPPH scavenging assay ผลการ<br />

ทดสอบสารสกัดขมิ้นสดสกัดดวย EtOH ขมิ้นสดสกัดดวย PT ขมิ้นอบแหงสกัดดวย PT และไพลอบแหงสกัดดวย EtOH มีการ<br />

ยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนส เทากับรอยละ 40.06 35.52 32.17 และ 29.77 ตามลําดับ สวนประสิทธิภาพในการ<br />

เปนสารตานอนุมูลอิสระ พบวาขิงสดสกัดโดย EtOH ขิงสดสกัดโดย PT ขิงอบแหงสกัดโดย EtOH และขิงอบแหงสกัดโดย PT<br />

ใหคา %Inhibition ที่ความเขมขน 1 mg/ml สูงสุด เทากับรอยละ 91.21 84.06 87.09 และ 76.92 ตามลําดับ และพบวาคา %<br />

Inhibition ของ DPPH scavenging มีความสัมพันธเชิงเสนตรงกับปริมาณสารประกอบฟนอลทั้งหมด<br />

คําสําคัญ : สารตานอนุมูลอิสระ เอนไซมไทโรซิเนส สารสกัดจากพืช<br />

คํานํา<br />

ความรุนแรงของแสงแดดและความรอนเปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดปญหาความบกพรองของผิวพรรณอยางมาก<br />

โดยเฉพาะคนไทย ไดแก ปญหาฝา กระ รอยดางดํา ริ้วรอย รอยหมองคล้ํา เนื่องจากแสงแดดเปนตัวกระตุนการผลิตเม็ดสีเม<br />

ลานินที่มากเกิน และยังเปนตัวกระตุนการเกิดอนุมูลอิสระที่กอใหเกิดริ้วรอยกอนวัยดวย นอกจากแสงแดดแลว มลพิษใน<br />

อากาศ รวมถึงอาหารที่รับประทาน สามารถเขาไปทําลายเนื้อเยื่อกอใหเกิดความเสื่อมหรือความแกของเซลล (มานณตา,<br />

2547) สวนการสังเคราะหเมลานินในเมลาโนไซต มีเอนไซมไทโรซิเนส เปนเอนไซมที่มีบทบาทสําคัญในการเรงปฏิกิริยา<br />

(Wang และคณะ, 2006) มีการใชสารเคมีเพื่อเปนสารตานอนุมูลอิสระ และยับยั้งการทํางานของเอนไซมนี้ใหทํางานนอยลง<br />

เชน ไฮโดรควิโนน ซึ่งปจจุบันสารนี้หามใชผสมในเครื่องสําอาง เนื่องจากมีผลขางเคียง (จารุภา และพรนิภา, 2547) แตสารที่ได<br />

จากธรรมชาติโดยเฉพาะจากพืชและสมุนไพรชนิดตางๆ ใหผลดีและมีความปลอดภัยกวาการใชสารสังเคราะห โดยมีคุณสมบัติ<br />

ยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโรซิเนสและมีความสามารถในการเปนสารตานอนุมูลอิสระ เชน cuminaldehyde และ cumin<br />

acid ที่สกัดแยกจากขมิ้น สารโฟลวานอยดจากดอกคําฝอย glabridin และ isoliquiritigenin ที่สกัดไดจากรากชะเอมเทศ<br />

(Nerya และคณะ, 2003) สาร citral และ myrcene ซึ่งเปนสารหอมระเหยใน citrus essential oil ปจจุบันผูบริโภคตระหนักถึง<br />

ความปลอดภัยจึงนิยมใชผลิตภัณฑที่ไดจากธรรมชาติกันมากขึ้น ประกอบกับประเทศไทยมีขอไดเปรียบทางดานความ<br />

หลากหลายของทรัพยากรสมุนไพรหลายชนิด งานวิจัยนี้จึงศึกษาศักยภาพในการเปนสารตานอนุมูลอิสระและยับยั้งการทํางาน<br />

1 คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150<br />

1<br />

School of Bioresources and Technology, King Monkut’s University of Technology Thonburi, Bangkhuntein, Bangkok 10150

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!