part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

76 การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร คํานํา โรคแอนแทรคโนสที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) เปนปญหาสําคัญที่พบมากในการผลิต มะมวงใหมีคุณภาพดี นอกจากทําความเสียหายใหกับผลมะมวงแลวยังทําลายพืชเศรษฐกิจอื่นจํานวนมาก การควบคุมโรคโดย ใชสารปองกันกําจัดโรคพืชในการกําจัดโรคนี้เปนจํานวนมาก ทําใหมีสารพิษตกคางในผลผลิต สงผลกระทบตอผูบริโภค และ สภาพแวดลอม ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญอีกหนึ่งประการที่ทําใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน (Global warming) ในปจจุบันจากปญหา ดังกลาวนักวิจัยทั่วโลกจึงไดพัฒนาวิธีการควบคุมโรคพืชโดยชีววิธีขึ้นมาทดแทน เชน การนําพืชสมุนไพรมาใชในการกําจัดโรค พืช มีรายงานการใชสารสกัดจากพืชอีกหลายชนิดที่ใชในการควบคุมโรคพืชไดผลสําเร็จ (Abad et al., 2007) การทดลองนี้มี วัตถุประสงคเพื่อทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา C. gloeosporioides (Penz.) ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรดวยตัวทําลายที่แตกตาง กัน เพื่อเปนแนวทางในการนําสารสกัดจากพืชชนิดอื่นๆ ไปประยุกตใชกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธีตอไป อุปกรณและวิธีการ แยกเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสจากผลมะมวง โดยวิธีการ tissue transplanting แลวทดสอบความสามารถการ เกิดโรค ตามสมมติฐานของ Koch เตรียมสารสกัดหยาบ (crude extract) จากพืชสมุนไพร 10 ชนิด ไดแก กระเทียม (Allium sativum L. : bulb) ขา (Alpinia galanga Swartz.: rhizome) ขิง (Zingiber offcinale Rosc.: rhizome) ดีปลี (Piper chaba Vahl.: leaf ; fruit) ตระไคร (Cymbopogon citratus Stapf.: basal; leaf) หอมหัวใหญ (Allium cepa L.: bulb) หนอไม (Bambusa spp.: shoots) สาบเสือ (Chromolaena odorata L.: leaf) กะเพราปา (Hyptis suaveolens Poit.: leaf) และ รัก (Calotropis gigantean R.Br.ex Ait.: leaf; flower) ดวยตัวทําละลาย 7 ชนิด ไดแก hexane dichloromethane ethyl acetate acetone ethanol methanol และน้ํากลั่น โดยการนําพืชแหงสับหรือบดเปนชิ้นเล็กๆ แชดวยตัวทําละลายตางๆ ในปริมาตร 1:5 (v/v) เปนเวลา 48 ชั่วโมง กรองแยกกากกับสารละลาย นําไปกลั่นดวย rotary vacuum evaporator การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา C. gloeosporioides (Penz.) ทําการทดลองแบบ CRD โดยใชอาหารเลี้ยงเชื้อ potato dextrose agar (PDA) ที่ผสมสารสกัด พืชสมุนไพรแตละชนิด ที่ความเขมขน; 50 500 5000 10000 และ 20000 µg/ml และไมผสมสารสกัด (0 µg/ml) โดยวิธี Poison food technique เปนเวลา 7 วัน ตรวจผลโดยการนับจํานวนสปอร แลวนําคาที่ไดมาคํานวณหาเปอรเซ็นตยับยั้งการ สรางสปอร (% Spore Inhibition) นําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหคาความแปรปรวนทางสถิติ โดยเปรียบเทียบแบบ Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) ที่ P=0.01 โดยที่ SC = จํานวนสปอรของเชื้อโรคที่ 0 µg/ml ST = จํานวนสปอรของเชื้อโรคในแตละความเขมขน ผลและวิจารณ จากการแยกเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสของผลมะมวง ตรวจสอบแลว พบวา เปนเชื้อรา C. gloeosporioides (Penz.) (Kuo, 2001) การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชในการตานเชื้อ C. gloeosporioides พบวา สารสกัดจากพืชทุกชนิด สามารถยับยั้งการสรางสปอรเชื้อราสาเหตุโรคไดดีแตกตางกัน สวนมากตัวทําละลายที่มีขั้วนอยและปานกลางสงผลใหสารสกัด ยับยั้งเชื้อโรคไดดี เปอรเซ็นตยับยั้งการสรางสปอรมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P=0.01) เมื่อความเขมขน สูงขึ้น (Table 1) โดยพบวา สารสกัดที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อโรคไดดีที่สุด 100 เปอรเซ็นต ที่ความเขมขน 5000 µg/ml ขึ้นไป ไดแก สารสกัดจากขา ที่สกัดดวย hexane dichloromethane ethyl acetate acetone และ ethanol สารสกัดจากกระเทียม ใบดีปลี ที่สกัดดวย hexane dichloromethane ethyl acetate และ acetone สารสกัดจากผลดีปลี ที่สกัดดวย acetone และ ethanol สารสกัดจากตะไคร ที่สกัดดวย hexane และ dichloromethane สารสกัดจากหนอไม และสาบเสือ ที่สกัดดวย ethyl acetate และ acetone ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับ Trikarunasawat และ Korpraditskul (2002) ที ่รายงานวา สารออกฤทธิ์ใน พลูและกานพลูเปนสารที่มีขั้วปานกลางและขั้วนอย สามารถยับยั้งเชื้อสาเหตุโรคขิงเนาได นอกจากนี้ยังมีรายงานเกี่ยวกับการ ใชสารสกัดจากขา กระเทียม ดีปลี และตระไคร ที่สกัดดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ เชน hexane และ chloroform ฯลฯ สามารถ ยับยั้งเชื้อสาเหตุโรคได (Vuddhakul et al., 2007; Chand และ Singh, 2005; Lee et al., 2001; Nwachukwu และ Umechuruba, 2001) สวนการใชสารสกัดจากหนอไมเปนรายงานการกําจัดเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสไดครั้งแรกในการ ทดลองครั้งนี้ ซึ่งทั่วโลกมีรายงานการวิจัยการใชสารสกัดนี้ดานโรคพืชนอยมาก นอกจากนี้สารสกัดจากหอมหัวใหญ ที่สกัดดวย dichloromethane และ acetone ที่ความเขมขน 10000-20000 µg/ml รวมทั้งสารสกัดจากขิง และใบรัก ที่สกัดดวย ethyl acetate และ acetone มีผลยับยั้งไดดี (100%) ยกเวนสารสกัดจากหอมหัวใหญและขิงที่สกัดดวยน้ํา ทั้งนี้เพราะน้ํามีขอดอย

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา 77 คือ สามารถละลายองคประกอบที่ไมตองการออกมาไดมาก และการใชอุณหภูมิสูงในการระเหยไลน้ําออกไป จะมีผลกระทบตอ บทบาทของเอนไซมและสารออกฤทธิ์สําคัญในพืชนั้นๆ ได (รัตนา, 2547) รวมทั้งสารสกัดกะเพราปา ที่ใช dichloromethane, และ ethanol เปนตัวทําละลาย และสารสกัดดอกรัก ที่สกัดดวย dichloromethane ethyl acetate และ acetone มีผลยับยั้ง เชื้อโรคไดดี สวนมากใหผลยับยั้งปานกลาง และต่ํา ในขณะที่สารสกัดหอมหัวใหญ ที่สกัดดวยน้ํากลั่น และสารสกัดดอกรัก ที่ สกัดดวยตัวทําละลายบางชนิด ที่ความเขมขนสูงขึ้น มีผลกระตุนใหเชื้อรามีการสรางสปอรเพิ่มมากขึ้นนั้น อาจเนื่องมาจากสาร สกัดจากพืชเหลานั้น มีสวนประกอบของสารที่เปนแหลงอาหารของเชื้อโรค จึงสงผลใหเชื้อโรคสรางสปอรเพิ่มมากขึ้น (รัตนา, 2547) เชน สารสกัดจากถั่วเลนทิล หอมหัวใหญ หัวผักกาด และการเดนเครส (Demirci และ Dolar, 2006) ในขณะที่สารสกัด จากเสนียด มะคําดีควาย และสบูดํา เมื่อใชที่ความเขมขนเหมาะสมก็สามารถยับยั้งเชื ้อโรคได (Sivae et al., 2008) การ เลือกใชชนิดของตัวทําละลาย ควรเลือกใชชนิดที่มีประสิทธิภาพดี หางาย ปริมาณมาก และราคาถูก เชน ethanol methanol และน้ํา เปนตน งานวิจัยนี้เปนแนวทางในการนําสารสกัดจากพืชสมุนไพรชนิดอื่นๆ มาใชในการกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี ตลอดจนการศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสารสกัด เพื่อนําไปประยุกตใชในภาคสนาม รวมทั้งพัฒนาเปนชีวผลิตภัณฑที่มี ประโยชนในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการแพทยตอไป คําขอบคุณ งานวิจัยนี้ไดรับทุนจากสํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ เอกสารอางอิง รัตนา อินทรานุปกรณ. 2547. การตรวจสอบและการสกัดแยกสารสําคัญสมุนไพร. โรงพิมพแอคทีฟ พริ้นท จํากัด. กรุงเทพฯ. Abad, M.J., M. Ansuategui and P. Bermejo. 2007. Active antifungal substances from natural sources. ARKIVOC 7: 116-145. Chand, H. and S. Singh. 2005. Control of chick pea wilt (Fusarium oxysporum f. sp. ciceri) using bioagents and plant extracts. Indian J. of Agricultural Sciences. 75( 2): 115-116. Demirci, F. and F.S. Dolar. 2006. Effects of some plant materials on phytophthora blight (Phytophthora capsici Leon.) of pepper. Turk .J. Agric For. 30: 247-252. Kuo, K.C. 2001. Sensitivity of mango Anthracnose Pathogen, Colletotrichum gloeosporioides, to the Fungicide Prochloraz in Taiwan, Proc. Natl. Sci. Counc. ROC(B). 25(3): 174-179. Lee, S.E., B.S. Park, M.K. Kim, W.S. Choi, H.T. Kim, K.Y. Cho, S.G. Lee and H.S. Lee. 2001. Fungicidal activity of pipernonaline. A piperidine alkaloid derived from long pepper, Piper longum L. against phytopathogenic fungi. Crop Protection. 20: 523-528. Nwachukwu, E.O. and C.I. Umechuruba. 2001. Antifungal activities of some leaf extracts on seed borne fungi of african yam seeds. Seed Germination and Seedling Emergence. Appl. Environ. Mgt. 5: 29-32. Siva, N., S. Ganesan, N. Banumathy and Muthuchelian. 2008, Antifungal effect of leaf extract of some medicinal plants against Fusarium oxysporum causing wilt disease of Solanum melongena L. Ethnobotanical Leaflets. 12: 156-163. Trikarunasawat, C. and V. Korpraditskul. 2002. Effects of medicinal plant extracts and antagonistic microorganism on growth of pathogenic fungus of ginger rhizome rot during storage. Agricultural Sci. 33: 16-22. Vuddhakul, V., P. Bhoopong, F. Hayeebilan and S. Subhadhirasakul. 2007. Inhibitory activity of thai condiments on pandemic strain of Vibrio parahaemolyticus. Food Microbiology. 24(4): 413-418. Table 1 Efficacy of medicinal plant extracts against spore production of C. gloeosporioides (Penz.). Plant extracts Garlic (Allium sativum Linn.) Solvents Spore inhibition (%) 2/ at the different concentrations (µg/ml) 0 50 500 5000 10000 20000 Hexane 0.00 51.87b 1/ 54.59b 100.0a 100.0a 100.0a Dichloromethane 0.00 14.73c 74.06b 100.0a 100.0a 100.0a Ethyl acetate 0.00 75.87b 75.98b 100.0a 100.0a 100.0a Acetone 0.00 53.04b 90.85a 94.08a 94.45a 95.40a Ethanol 0.00 13.62b 83.35a 89.18a 93.37a 97.02a Methanol 0.00 23.30c 69.86b 77.30ab 73.28ab 95.44a Distilled water 0.00 4.41e 19.07d 27.88c 41.62b 60.05a

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา 77<br />

คือ สามารถละลายองคประกอบที่ไมตองการออกมาไดมาก และการใชอุณหภูมิสูงในการระเหยไลน้ําออกไป จะมีผลกระทบตอ<br />

บทบาทของเอนไซมและสารออกฤทธิ์สําคัญในพืชนั้นๆ ได (รัตนา, 2547) รวมทั้งสารสกัดกะเพราปา ที่ใช dichloromethane,<br />

และ ethanol เปนตัวทําละลาย และสารสกัดดอกรัก ที่สกัดดวย dichloromethane ethyl acetate และ acetone มีผลยับยั้ง<br />

เชื้อโรคไดดี สวนมากใหผลยับยั้งปานกลาง และต่ํา ในขณะที่สารสกัดหอมหัวใหญ ที่สกัดดวยน้ํากลั่น และสารสกัดดอกรัก ที่<br />

สกัดดวยตัวทําละลายบางชนิด ที่ความเขมขนสูงขึ้น มีผลกระตุนใหเชื้อรามีการสรางสปอรเพิ่มมากขึ้นนั้น อาจเนื่องมาจากสาร<br />

สกัดจากพืชเหลานั้น มีสวนประกอบของสารที่เปนแหลงอาหารของเชื้อโรค จึงสงผลใหเชื้อโรคสรางสปอรเพิ่มมากขึ้น (รัตนา,<br />

2547) เชน สารสกัดจากถั่วเลนทิล หอมหัวใหญ หัวผักกาด และการเดนเครส (Demirci และ Dolar, 2006) ในขณะที่สารสกัด<br />

จากเสนียด มะคําดีควาย และสบูดํา เมื่อใชที่ความเขมขนเหมาะสมก็สามารถยับยั้งเชื ้อโรคได (Sivae et al., 2008) การ<br />

เลือกใชชนิดของตัวทําละลาย ควรเลือกใชชนิดที่มีประสิทธิภาพดี หางาย ปริมาณมาก และราคาถูก เชน ethanol methanol<br />

และน้ํา เปนตน งานวิจัยนี้เปนแนวทางในการนําสารสกัดจากพืชสมุนไพรชนิดอื่นๆ มาใชในการกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี<br />

ตลอดจนการศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสารสกัด เพื่อนําไปประยุกตใชในภาคสนาม รวมทั้งพัฒนาเปนชีวผลิตภัณฑที่มี<br />

ประโยชนในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการแพทยตอไป<br />

คําขอบคุณ<br />

งานวิจัยนี้ไดรับทุนจากสํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ สํานักงานคณะกรรมการวิจัย<br />

แหงชาติ<br />

เอกสารอางอิง<br />

รัตนา อินทรานุปกรณ. 2547. การตรวจสอบและการสกัดแยกสารสําคัญสมุนไพร. โรงพิมพแอคทีฟ พริ้นท จํากัด. กรุงเทพฯ.<br />

Abad, M.J., M. Ansuategui and P. Bermejo. 2007. Active antifungal substances from natural sources. ARKIVOC 7:<br />

116-145.<br />

Chand, H. and S. Singh. 2005. Control of chick pea wilt (Fusarium oxysporum f. sp. ciceri) using bioagents and<br />

plant extracts. Indian J. of Agricultural Sciences. 75( 2): 115-116.<br />

Demirci, F. and F.S. Dolar. 2006. Effects of some plant materials on phytophthora blight (Phytophthora capsici<br />

Leon.) of pepper. Turk .J. Agric For. 30: 247-252.<br />

Kuo, K.C. 2001. Sensitivity of mango Anthracnose Pathogen, Colletotrichum gloeosporioides, to the Fungicide<br />

Prochloraz in Taiwan, Proc. Natl. Sci. Counc. ROC(B). 25(3): 174-179.<br />

Lee, S.E., B.S. Park, M.K. Kim, W.S. Choi, H.T. Kim, K.Y. Cho, S.G. Lee and H.S. Lee. 2001. Fungicidal activity of<br />

pipernonaline. A piperidine alkaloid derived from long pepper, Piper longum L. against phytopathogenic<br />

fungi. Crop Protection. 20: 523-528.<br />

Nwachukwu, E.O. and C.I. Umechuruba. 2001. Antifungal activities of some leaf extracts on seed borne fungi of<br />

african yam seeds. Seed Germination and Seedling Emergence. Appl. Environ. Mgt. 5: 29-32.<br />

Siva, N., S. Ganesan, N. Banumathy and Muthuchelian. 2008, Antifungal effect of leaf extract of some medicinal<br />

plants against Fusarium oxysporum causing wilt disease of Solanum melongena L. Ethnobotanical<br />

Leaflets. 12: 156-163.<br />

Trikarunasawat, C. and V. Korpraditskul. 2002. Effects of medicinal plant extracts and antagonistic microorganism<br />

on growth of pathogenic fungus of ginger rhizome rot during storage. Agricultural Sci. 33: 16-22.<br />

Vuddhakul, V., P. Bhoopong, F. Hayeebilan and S. Subhadhirasakul. 2007. Inhibitory activity of thai condiments on<br />

pandemic strain of Vibrio parahaemolyticus. Food Microbiology. 24(4): 413-418.<br />

Table 1 Efficacy of medicinal plant extracts against spore production of C. gloeosporioides (Penz.).<br />

Plant extracts<br />

Garlic<br />

(Allium sativum<br />

Linn.)<br />

Solvents<br />

Spore inhibition (%) 2/ at the different concentrations (µg/ml)<br />

0 50 500 5000 10000 20000<br />

Hexane 0.00 51.87b 1/ 54.59b 100.0a 100.0a 100.0a<br />

Dichloromethane 0.00 14.73c 74.06b 100.0a 100.0a 100.0a<br />

Ethyl acetate 0.00 75.87b 75.98b 100.0a 100.0a 100.0a<br />

Acetone 0.00 53.04b 90.85a 94.08a 94.45a 95.40a<br />

Ethanol 0.00 13.62b 83.35a 89.18a 93.37a 97.02a<br />

Methanol 0.00 23.30c 69.86b 77.30ab 73.28ab 95.44a<br />

Distilled water 0.00 4.41e 19.07d 27.88c 41.62b 60.05a

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!