22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

76 การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

คํานํา<br />

โรคแอนแทรคโนสที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) เปนปญหาสําคัญที่พบมากในการผลิต<br />

มะมวงใหมีคุณภาพดี นอกจากทําความเสียหายใหกับผลมะมวงแลวยังทําลายพืชเศรษฐกิจอื่นจํานวนมาก การควบคุมโรคโดย<br />

ใชสารปองกันกําจัดโรคพืชในการกําจัดโรคนี้เปนจํานวนมาก ทําใหมีสารพิษตกคางในผลผลิต สงผลกระทบตอผูบริโภค และ<br />

สภาพแวดลอม ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญอีกหนึ่งประการที่ทําใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน (Global warming) ในปจจุบันจากปญหา<br />

ดังกลาวนักวิจัยทั่วโลกจึงไดพัฒนาวิธีการควบคุมโรคพืชโดยชีววิธีขึ้นมาทดแทน เชน การนําพืชสมุนไพรมาใชในการกําจัดโรค<br />

พืช มีรายงานการใชสารสกัดจากพืชอีกหลายชนิดที่ใชในการควบคุมโรคพืชไดผลสําเร็จ (Abad et al., 2007) การทดลองนี้มี<br />

วัตถุประสงคเพื่อทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา C. gloeosporioides (Penz.) ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรดวยตัวทําลายที่แตกตาง<br />

กัน เพื่อเปนแนวทางในการนําสารสกัดจากพืชชนิดอื่นๆ ไปประยุกตใชกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธีตอไป<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

แยกเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสจากผลมะมวง โดยวิธีการ tissue transplanting แลวทดสอบความสามารถการ<br />

เกิดโรค ตามสมมติฐานของ Koch เตรียมสารสกัดหยาบ (crude extract) จากพืชสมุนไพร 10 ชนิด ไดแก กระเทียม (Allium<br />

sativum L. : bulb) ขา (Alpinia galanga Swartz.: rhizome) ขิง (Zingiber offcinale Rosc.: rhizome) ดีปลี (Piper chaba<br />

Vahl.: leaf ; fruit) ตระไคร (Cymbopogon citratus Stapf.: basal; leaf) หอมหัวใหญ (Allium cepa L.: bulb) หนอไม<br />

(Bambusa spp.: shoots) สาบเสือ (Chromolaena odorata L.: leaf) กะเพราปา (Hyptis suaveolens Poit.: leaf) และ รัก<br />

(Calotropis gigantean R.Br.ex Ait.: leaf; flower) ดวยตัวทําละลาย 7 ชนิด ไดแก hexane dichloromethane ethyl acetate<br />

acetone ethanol methanol และน้ํากลั่น โดยการนําพืชแหงสับหรือบดเปนชิ้นเล็กๆ แชดวยตัวทําละลายตางๆ ในปริมาตร 1:5<br />

(v/v) เปนเวลา 48 ชั่วโมง กรองแยกกากกับสารละลาย นําไปกลั่นดวย rotary vacuum evaporator การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา<br />

C. gloeosporioides (Penz.) ทําการทดลองแบบ CRD โดยใชอาหารเลี้ยงเชื้อ potato dextrose agar (PDA) ที่ผสมสารสกัด<br />

พืชสมุนไพรแตละชนิด ที่ความเขมขน; 50 500 5000 10000 และ 20000 µg/ml และไมผสมสารสกัด (0 µg/ml) โดยวิธี<br />

Poison food technique เปนเวลา 7 วัน ตรวจผลโดยการนับจํานวนสปอร แลวนําคาที่ไดมาคํานวณหาเปอรเซ็นตยับยั้งการ<br />

สรางสปอร (% Spore Inhibition) นําขอมูลที่ไดไปวิเคราะหคาความแปรปรวนทางสถิติ โดยเปรียบเทียบแบบ Duncan’s<br />

Multiple Range Test (DMRT) ที่ P=0.01<br />

โดยที่ SC = จํานวนสปอรของเชื้อโรคที่ 0 µg/ml<br />

ST = จํานวนสปอรของเชื้อโรคในแตละความเขมขน<br />

ผลและวิจารณ<br />

จากการแยกเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสของผลมะมวง ตรวจสอบแลว พบวา เปนเชื้อรา C. gloeosporioides<br />

(Penz.) (Kuo, 2001) การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชในการตานเชื้อ C. gloeosporioides พบวา สารสกัดจากพืชทุกชนิด<br />

สามารถยับยั้งการสรางสปอรเชื้อราสาเหตุโรคไดดีแตกตางกัน สวนมากตัวทําละลายที่มีขั้วนอยและปานกลางสงผลใหสารสกัด<br />

ยับยั้งเชื้อโรคไดดี เปอรเซ็นตยับยั้งการสรางสปอรมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P=0.01) เมื่อความเขมขน<br />

สูงขึ้น (Table 1) โดยพบวา สารสกัดที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อโรคไดดีที่สุด 100 เปอรเซ็นต ที่ความเขมขน 5000 µg/ml ขึ้นไป<br />

ไดแก สารสกัดจากขา ที่สกัดดวย hexane dichloromethane ethyl acetate acetone และ ethanol สารสกัดจากกระเทียม<br />

ใบดีปลี ที่สกัดดวย hexane dichloromethane ethyl acetate และ acetone สารสกัดจากผลดีปลี ที่สกัดดวย acetone และ<br />

ethanol สารสกัดจากตะไคร ที่สกัดดวย hexane และ dichloromethane สารสกัดจากหนอไม และสาบเสือ ที่สกัดดวย ethyl<br />

acetate และ acetone ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับ Trikarunasawat และ Korpraditskul (2002) ที ่รายงานวา สารออกฤทธิ์ใน<br />

พลูและกานพลูเปนสารที่มีขั้วปานกลางและขั้วนอย สามารถยับยั้งเชื้อสาเหตุโรคขิงเนาได นอกจากนี้ยังมีรายงานเกี่ยวกับการ<br />

ใชสารสกัดจากขา กระเทียม ดีปลี และตระไคร ที่สกัดดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ เชน hexane และ chloroform ฯลฯ สามารถ<br />

ยับยั้งเชื้อสาเหตุโรคได (Vuddhakul et al., 2007; Chand และ Singh, 2005; Lee et al., 2001; Nwachukwu และ<br />

Umechuruba, 2001) สวนการใชสารสกัดจากหนอไมเปนรายงานการกําจัดเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสไดครั้งแรกในการ<br />

ทดลองครั้งนี้ ซึ่งทั่วโลกมีรายงานการวิจัยการใชสารสกัดนี้ดานโรคพืชนอยมาก นอกจากนี้สารสกัดจากหอมหัวใหญ ที่สกัดดวย<br />

dichloromethane และ acetone ที่ความเขมขน 10000-20000 µg/ml รวมทั้งสารสกัดจากขิง และใบรัก ที่สกัดดวย ethyl<br />

acetate และ acetone มีผลยับยั้งไดดี (100%) ยกเวนสารสกัดจากหอมหัวใหญและขิงที่สกัดดวยน้ํา ทั้งนี้เพราะน้ํามีขอดอย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!