part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

74 ผลของรังสีตอคุณภาพทางจุลินทรีย ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร สรุป 1. การฉายรังสีฟาทะลายโจรที่ปริมาณ 6 กิโลเกรย เปนปริมาณรังสีที่เหมาะสมในการควบคุมปริมาณเชื้อจุลินทรียกอโรค 2. คา MIC ของฟาทะลายโจร ที่ฉายรังสี 10 กิโลเกรยตอเชื้อ S. aureus มีคาเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 75-78 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 75-78 (2552) การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) สาเหตุโรคแอนแทรคโนสมะมวง ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรดวยตัวทําลายที่แตกตางกัน Antifungal activities from Different Solvent Extracts of Medicinal Plants Against Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Causal Organism of Mango Anthracnose Disease วิไลรัตน ศรีนนท1 ธีรพล วันทิตย 2 และเกษม สรอยทอง 3 Srinon, W. 1 , Wuntid, T. 2 and Soytong, K. 3 Abstract Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) was isolated and identified as causal organism of mango anthracnose disease. Efficacy of ten medicinal plant extracts were used to against the pathogen by mixing potato dextrose agar (PDA) with the extract at the concentrations of 50, 500, 5000, 10000 and 20000 µg/ml and PDA without the extract was control (0 µg/ml). All plant extracts, in different solvents significantly (P=0.01) inhibited spore production of the pathogen at high concentration. Mostly extract of Alpinia galangal were extracted with hexane, dichloromethane, ethyl acetate, acetone and ethanol had a great antifungal effect against pathogenic fungi [100% spore inhibition (up to 5000 µg/ml)] followed by same solvents extracts of Allium sativum and Piper chaba (leaf) (82.50-100%). Furthermore, extracts of P. chaba (fruit), Cymbopogon citratus, Bambusa spp. and Chromolaena odorata were extracted with low and moderated polarity solvents at 5000 µg/ml were also highly effective against the pathogen tested (100%), except hexane extracts of Bambusa spp. and C. odorata. In most cases, Allium cepa extracted by dichloromethane and acetone, Zingiber offcinale and Calotropis gigantean (leaf) extracted by ethyl acetate and acetone showed good results in their inhibition at concentration levels in the range of 10000 – 20000 µg/ml (except water extracts of onion and ginger). Hyptis suaveolens and C. gigantean (flower) extracts mostly exhibited moderate to low inhibitory effect on the pathogen. Keywords : antifungal activities, inhibitory effect, medicinal plants, Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) บทคัดยอ เชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสของมะมวง พบวา มีสาเหตุมาจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) การทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร 10 ชนิด โดยใชสารสกัดผสมลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ potato dextrose agar (PDA) 5 ระดับความเขมขน คือ 50 500 5000 10000 และ 20000 µg/ml และไมผสมสารสกัด (0 µg/ml) พบวา สารสกัด จากพืชทุกชนิด ที่สกัดดวยตัวทําละลายตางชนิดกัน สามารถยับยั้งการสรางสปอรของเชื้อโรคได ซึ่งมีความแตกตางกันทางสถิติ อยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P=0.01) เมื่อความเขมขนสูงขึ้น โดยพบวา สารสกัดจากขา ที่สกัดดวย hexane dichloromethane ethyl acetate acetone และ ethanol มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อโรคได 100 เปอรเซ็นต รองลงมา ไดแก สารสกัดกระเทียม และใบดีปลี ที่สกัดดวยตัวทําละลายดังกลาว (82.50-100%) ที่ความเขมขน 5000 µg/ml ขึ้นไป นอกจากนี้สารสกัดผลดีปลี ตะไคร หนอไม และสาบเสือ ที่สกัดดวยตัวทําละลายที่มีขั้วนอยถึงปานกลางบางชนิด ที่ความเขมขน 5000 µg/ml ยับยั้งเชื้อโรคได 100 เปอรเซ็นต เชนเดียวกัน ยกเวนสารสกัดหนอไมและสาบเสือ ที่สกัดดวย hexane ทุกความเขมขนยับยั้งไดนอย สารสกัด หอมหัวใหญ ที่สกัดดวย dichloromethane และ acetone ที่ความเขมขน 10000-20000 µg/ml รวมทั้งสารสกัดจากขิง และใบ รัก ที่สกัดดวย ethyl acetate และ acetone มีผลยับยั้งไดดี ยกเวนสารสกัดจากหอมหัวใหญและขิงที่สกัดดวยน้ํา ในขณะที่สาร สกัดจากกะเพราปา และดอกรัก ยับยั้งไดดีในตัวทําละลายบางชนิดเทานั้น แตสวนใหญใหผลยับยั้งระดับปานกลาง และต่ํา คําสําคัญ : ฤทธิ์ตานทานเชื้อรา ประสิทธิภาพในการยับยั้ง พืชสมุนไพร เชื้อราสาเหตุของโรคแอนแทรคโนส 1 สาขาวิชาพืชศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ-แพร เฉลิมพระเกียรติ อ.รองกวาง จ. แพร 54140 1 Plant Science, Maejo-Phare University, Rongkwang, Phare 54140 2 ศูนยผลิตเมล็ดพันธุ บริษัท เจียไต จํากัด สาขาจังหวัดนาน อ.เวียงสา จ.นาน 55110 2 Nan seed production center, Chia Tai Co., Ltd, Wiengsa, Nan 55110 3 ภาควิชาเทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 3 Department of Plant Pest Management, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok 10520

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 75-78 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 75-78 (2552)<br />

การทดสอบฤทธิ์ตานเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) สาเหตุโรคแอนแทรคโนสมะมวง<br />

ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรดวยตัวทําลายที่แตกตางกัน<br />

Antifungal activities from Different Solvent Extracts of Medicinal Plants Against<br />

Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Causal Organism of Mango Anthracnose Disease<br />

วิไลรัตน ศรีนนท1 ธีรพล วันทิตย<br />

2 และเกษม สรอยทอง 3<br />

Srinon, W. 1 , Wuntid, T. 2 and Soytong, K. 3<br />

Abstract<br />

Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) was isolated and identified as causal organism of mango<br />

anthracnose disease. Efficacy of ten medicinal plant extracts were used to against the pathogen by mixing potato<br />

dextrose agar (PDA) with the extract at the concentrations of 50, 500, 5000, 10000 and 20000 µg/ml and PDA<br />

without the extract was control (0 µg/ml). All plant extracts, in different solvents significantly (P=0.01) inhibited<br />

spore production of the pathogen at high concentration. Mostly extract of Alpinia galangal were extracted with<br />

hexane, dichloromethane, ethyl acetate, acetone and ethanol had a great antifungal effect against pathogenic<br />

fungi [100% spore inhibition (up to 5000 µg/ml)] followed by same solvents extracts of Allium sativum and Piper<br />

chaba (leaf) (82.50-100%). Furthermore, extracts of P. chaba (fruit), Cymbopogon citratus, Bambusa spp. and<br />

Chromolaena odorata were extracted with low and moderated polarity solvents at 5000 µg/ml were also highly<br />

effective against the pathogen tested (100%), except hexane extracts of Bambusa spp. and C. odorata. In most<br />

cases, Allium cepa extracted by dichloromethane and acetone, Zingiber offcinale and Calotropis gigantean (leaf)<br />

extracted by ethyl acetate and acetone showed good results in their inhibition at concentration levels in the range<br />

of 10000 – 20000 µg/ml (except water extracts of onion and ginger). Hyptis suaveolens and C. gigantean (flower)<br />

extracts mostly exhibited moderate to low inhibitory effect on the pathogen.<br />

Keywords : antifungal activities, inhibitory effect, medicinal plants, Colletotrichum gloeosporioides (Penz.)<br />

บทคัดยอ<br />

เชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสของมะมวง พบวา มีสาเหตุมาจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.)<br />

การทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร 10 ชนิด โดยใชสารสกัดผสมลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ potato dextrose<br />

agar (PDA) 5 ระดับความเขมขน คือ 50 500 5000 10000 และ 20000 µg/ml และไมผสมสารสกัด (0 µg/ml) พบวา สารสกัด<br />

จากพืชทุกชนิด ที่สกัดดวยตัวทําละลายตางชนิดกัน สามารถยับยั้งการสรางสปอรของเชื้อโรคได ซึ่งมีความแตกตางกันทางสถิติ<br />

อยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P=0.01) เมื่อความเขมขนสูงขึ้น โดยพบวา สารสกัดจากขา ที่สกัดดวย hexane dichloromethane ethyl<br />

acetate acetone และ ethanol มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อโรคได 100 เปอรเซ็นต รองลงมา ไดแก สารสกัดกระเทียม และใบดีปลี<br />

ที่สกัดดวยตัวทําละลายดังกลาว (82.50-100%) ที่ความเขมขน 5000 µg/ml ขึ้นไป นอกจากนี้สารสกัดผลดีปลี ตะไคร หนอไม<br />

และสาบเสือ ที่สกัดดวยตัวทําละลายที่มีขั้วนอยถึงปานกลางบางชนิด ที่ความเขมขน 5000 µg/ml ยับยั้งเชื้อโรคได 100<br />

เปอรเซ็นต เชนเดียวกัน ยกเวนสารสกัดหนอไมและสาบเสือ ที่สกัดดวย hexane ทุกความเขมขนยับยั้งไดนอย สารสกัด<br />

หอมหัวใหญ ที่สกัดดวย dichloromethane และ acetone ที่ความเขมขน 10000-20000 µg/ml รวมทั้งสารสกัดจากขิง และใบ<br />

รัก ที่สกัดดวย ethyl acetate และ acetone มีผลยับยั้งไดดี ยกเวนสารสกัดจากหอมหัวใหญและขิงที่สกัดดวยน้ํา ในขณะที่สาร<br />

สกัดจากกะเพราปา และดอกรัก ยับยั้งไดดีในตัวทําละลายบางชนิดเทานั้น แตสวนใหญใหผลยับยั้งระดับปานกลาง และต่ํา<br />

คําสําคัญ : ฤทธิ์ตานทานเชื้อรา ประสิทธิภาพในการยับยั้ง พืชสมุนไพร เชื้อราสาเหตุของโรคแอนแทรคโนส<br />

1<br />

สาขาวิชาพืชศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ-แพร เฉลิมพระเกียรติ อ.รองกวาง จ. แพร 54140<br />

1<br />

Plant Science, Maejo-Phare University, Rongkwang, Phare 54140<br />

2<br />

ศูนยผลิตเมล็ดพันธุ บริษัท เจียไต จํากัด สาขาจังหวัดนาน อ.เวียงสา จ.นาน 55110<br />

2<br />

Nan seed production center, Chia Tai Co., Ltd, Wiengsa, Nan 55110<br />

3<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520<br />

3<br />

Department of Plant Pest Management, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok 10520

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!