part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

64 คุณสมบัติของไคโตซานในการปองกันเชื้อรา ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร อุปกรณและวิธีการ เตรียมกระดาษ โดยนําเยื่อกระดาษ (craft) มาผสมกับสารละลายไคโตซานเขมขน 1% และ 2% (w/v) และแปร สัดสวนของกระดาษ : ไคโตซาน 6 ระดับ คือ 1:0 1:0.25 1:0.5 1:0.75 1:1 และ 0:1 วิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพ ไดแก น้ําหนักมาตรฐาน (Basis Weight) (TAPPI T410-om88, 1991) คาความตานทานแรงฉีกขาด (Tearing Strength) (ISO. 1974) คาความตานทานแรงดึง (Tensile Strength) (ASTM D 882) คาความตานทานแรงดันทะลุ (Bursting Strength) (TAPPI T403-om85, 1991) คาการดูดซึมน้ํา (Cobb test) (TAPPI T441-om90, 1991) คาสี (color reader monitor รุนCR- 10) คาความชื้น (Moisture Content) (moisture analyzer รุน MA 50) สําหรับการวิเคราะหสมบัติการปองกันเชื้อรา ทดสอบ กับเชื้อรา 3 ชนิด คือ Aspergillus niger A. terreus และ A. flavus กอนการทดสอบนําเชื้อราไปบมนาน 7 วัน แลวนําเชื้อรา ดังกลาวมาทํา spore suspension แลวนํากระดาษผสมไคโตซาน (ตัดเปนวงกลมมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 2 เซนติเมตร) มา วางบนอาหารเลี้ยงเชื้อ Potato dextrose agar (PDA) ที่เกลี่ยสปอร suspension ของเชื้อไวกอนหนานี้แลว แลวนําไปบมที่ อุณหภูมิ 25 ๐ C ± 5 ความชื้นสัมพัทธ 90% ± 5 (TAPPI T487-pm85, 1991; อุดมลักษณ, 2545) บันทึกการเจริญเติบโตของ เชื้อทุกๆ วันเปนเวลา 14 วัน การทดลองนี้วางแผนการทดลองแบบ Factorial in RCBD จํานวน 3 ซ้ํา ผล การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของกระดาษผสมไคโตซาน พบวา น้ําหนักมาตรฐานของกระดาษเพิ่มมากขึ้นตาม ความเขมขนและสัดสวนของไคโตซานที่เพิ่มในกระดาษ และมีคาความตานทานแรงฉีกขาดเพิ่มขึ้น แตเมื่อความเขมขนของไค โตซาน เทากับ 2% และใชสัดสวน กระดาษ: ไคโตซาน เทากับ 1: 0.75 คาความตานทานแรงฉีกขาดลดลงดังรูป (Figure 1) เนื่องจากลักษณะของกระดาษเขาใกลลักษณะของฟลม (film) มากขึ้น สงผลใหคาความตานทานแรงฉีกขาดลดลง อยางไรก็ ตามคาความตานทานแรงดึงตรงกันขามกับคาความตานทานแรงฉีกขาดที่เพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะกระดาษที่ผสมไคโตซานเขมขน 2 % และใชสัดสวนกระดาษ: ไคโตซาน เทากับ 1:1 มีคาความตานทานแรงดึงสูง (ไมสามารถบันทึกขอมูลได) เมื่อปริมาณความ เขมขนของไคโตซานสูงทําใหการดูดซึมน้ําลดลง หรือสามารถปองกันการดูดซึมน้ําได (Figure 2) สวนคาสีของกระดาษ พบวา คา L ลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณและสัดสวนของไคโตซาน แตคา a* และ b* มีคาสูงขึ้นเมื่อปริมาณไคซานสูงขึ้น สําหรับคาความชื้น ของกระดาษที่ผสมไคโตซาน ไมพบความแตกตางกัน แตกระดาษผสมไคโตซาน ความเขมขน 1 และ 2% และใชสัดสวน 0:1 (ไมมีเยื่อกระดาษ) มีความชื้นสูงที่สุด สําหรับสมบัติการปองกันเชื้อราของกระดาษผสมไคโตซาน พบวา ในวันที่ 14 ของการทดลอง กระดาษผสมไคโตซาน ทุกความเขมขน สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได แตกระดาษผสมไคโตซาน ความเขมขน 2% สามารถปองกันการ เจริญเติบโตของเชื้อราไดดีกวากระดาษผสมไคโตซาน ความเขมขน 1% และการผสมไคโตซานลงในกระดาษในสัดสวนที่สูงขึ้น สามารถปองกันการเจริญของเชื้อราไดดีกวาการใชไคโตซานในสัดสวนที่นอยลง (Table 1) อยางไรก็ตามความสามารถในการ ปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อราในกระดาษผสมไคโตซานแตกตางกันตามชนิดของเชื้อราที่นํามาศึกษา โดยกระดาษผสมไค โตซานสามารถปองกันการเจริญของ A. terreus ไดดีที่สุด รองลงมาคือ A. flavus และ A. niger ตามลําดับ วิจารณผล กระดาษผสมไคโตซานสามารถปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อรา สอดคลองกับงานวิจัยโดย Potinit (2000) ที่นํา กระดาษที่ผสมไคโตซานมาใชปองกันเชื้อรา ซึ่งเมื่อใชไคโตซานความเขมขนสูงขึ้น สามารถปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อราได ดียิ่งขึ้น สําหรับสมบัติทางกายภาพของกระดาษผสมไคโตซานที่มีคาความตานทานแรงฉีกขาดลดลง แตคาความตานทานแรง ดึงเพิ่มขึ้น อาจเนื่องมาจากสารที่ผสมลงในกระดาษเกิดการสรางพันธะกันขึ้นทําใหคาความตานทานแรงฉีกขาดมีคาลดลง Laohakunjit และ Noomhorm (2004) สําหรับคุณสมบัติดานอื่นๆ เชน สี ความชื้น สอดคลองกับงานของ Lertsutthiwong (1997) ที่พบวา การผสมไคโตซานในกระดาษสงผลตอสมบัติของกระดาษ เชนเดียวกับงานวิจัยโดย Potinit (2000) และ Rinaudo (2006) ที่รายงานวา กระดาษผสมไคโตซานมีความตานทานการดูดซึมน้ําไดดี เนื่องจากหมูอะมิโน (NH 2 ) ที่คารบอน ตําแหนงที่ 2 ทําใหไคโตซานไมละลายน้ํา เมื่อปริมาณไคโตซานมากขึ้นจึงสงผลใหกระดาษที่ผสมไคโตซานสามารถปองกันน้ํา ไดเพิ่มขึ้น

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 คุณสมบัติของไคโตซานในการปองกันเชื้อรา 65 สรุป กระดาษผสมไคโตซาน โดยใชไคโตซานความเขมขน 2% สัดสวนของกระดาษ:ไคโตซาน เทากับ 1:1 มีประสิทธิภาพ ในการปองกันการเจริญเติบโตเชื้อราทั้ง 3 ชนิด ทดสอบที่อุณหภูมิ 25 ๐ C±5 ความชื้นสัมพัทธ 90%±5 โดยปองกันการ เจริญเติบโตของเชื้อ A. terreus ไดดีที่สุด รองลงมาคือ A. flavus และ A. niger ตามลําดับ สําหรับคุณสมบัติของกระดาษที่ ผสมไคโตซานมีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีคาความตานทานแรงฉีกขาดลดลง แตคาความตานทานแรงดึงเพิ่มขึ้น และมีสีคล้ําขึ้น แตมีความชื้นและการดูดซึมน้ําลดลง ดังนั้นควรนําไปใชประโยชนในผลิตภัณฑที่มีน้ําอยูในผลิตภัณฑสูง เชน ผลิตภัณฑอาหาร และในผักและผลไมสด เปนตน คําขอบคุณ ขอขอบคุณบริษัทกระดาษสหไทย จํากัด (มหาชน) ที่ไดใหความอนุเคราะหเยื่อกระดาษในการวิจัยครั้งนี้ เอกสารอางอิง สิริรัตน จงฤทธิพร พรรณทิพย สุวรรณสาครกุล รัดดาวัลย บุญแตง และสุดานันท หยองเอน. 2548. การยับยั้งการเจริญของเชื้อ ราโดยใชแผนฟลมไคโตซาน. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประมง ประจําป 2548. กองพัฒนาอุตสาหกรรม สัตวน้ํา. กรมปศุสัตว. หนา 122-126. อุดมลักษณ สุขอัตตะ. 2545. การพัฒนากระดาษฟางขาวเคลือบน้ํามันพลูเพื่อยืดอายุการเก็บทุเรียนกวน. วิทยานิพนธ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. คณะอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 113 น. Chavanunt. 2548. yalor.yru.ac.th/~dolah/notes/MYCOL1-48/NEWS/News_404552012.doc. (11 Aug 08). Laohakunjit, N. and A. Noomhorm. 2004. Effect of plasticizers on mechanical and barrier properties of rice starch film. Asian Institute of Technology. p. 1-9. Lertsutthiwong, P. 1997. Improve paper performance using chitosan. Thesis. Asian Institute of Technology. 104 p. Potinit, R. 2000. Antifungal effects of chitosan. Thesis. Asian Institute of Technology. 92 p. Rinaudo, M. 2006. Chitin and Chitosan: Properties and Applications. Progress in Polymer Science. 31: 603–632. TAPPI. 1991. TAPPI TEST METHODS 1991: Volume 1. Technology Park. Atlanta USA. 3000 2500 1% 2% chitosan chitosan Tearing Strength (mN) 2000 1500 1000 500 0 Figure 1 Tearing Strength of the chitosan paper 1:0 1:0.25 1:0.5 1:0.75 1:1 0:1

64 คุณสมบัติของไคโตซานในการปองกันเชื้อรา ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

เตรียมกระดาษ โดยนําเยื่อกระดาษ (craft) มาผสมกับสารละลายไคโตซานเขมขน 1% และ 2% (w/v) และแปร<br />

สัดสวนของกระดาษ : ไคโตซาน 6 ระดับ คือ 1:0 1:0.25 1:0.5 1:0.75 1:1 และ 0:1 วิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพ ไดแก<br />

น้ําหนักมาตรฐาน (Basis Weight) (TAPPI T410-om88, 1991) คาความตานทานแรงฉีกขาด (Tearing Strength) (ISO.<br />

1974) คาความตานทานแรงดึง (Tensile Strength) (ASTM D 882) คาความตานทานแรงดันทะลุ (Bursting Strength)<br />

(TAPPI T403-om85, 1991) คาการดูดซึมน้ํา (Cobb test) (TAPPI T441-om90, 1991) คาสี (color reader monitor รุนCR-<br />

10) คาความชื้น (Moisture Content) (moisture analyzer รุน MA 50) สําหรับการวิเคราะหสมบัติการปองกันเชื้อรา ทดสอบ<br />

กับเชื้อรา 3 ชนิด คือ Aspergillus niger A. terreus และ A. flavus กอนการทดสอบนําเชื้อราไปบมนาน 7 วัน แลวนําเชื้อรา<br />

ดังกลาวมาทํา spore suspension แลวนํากระดาษผสมไคโตซาน (ตัดเปนวงกลมมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 2 เซนติเมตร) มา<br />

วางบนอาหารเลี้ยงเชื้อ Potato dextrose agar (PDA) ที่เกลี่ยสปอร suspension ของเชื้อไวกอนหนานี้แลว แลวนําไปบมที่<br />

อุณหภูมิ 25 ๐ C ± 5 ความชื้นสัมพัทธ 90% ± 5 (TAPPI T487-pm85, 1991; อุดมลักษณ, 2545) บันทึกการเจริญเติบโตของ<br />

เชื้อทุกๆ วันเปนเวลา 14 วัน การทดลองนี้วางแผนการทดลองแบบ Factorial in RCBD จํานวน 3 ซ้ํา<br />

ผล<br />

การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของกระดาษผสมไคโตซาน พบวา น้ําหนักมาตรฐานของกระดาษเพิ่มมากขึ้นตาม<br />

ความเขมขนและสัดสวนของไคโตซานที่เพิ่มในกระดาษ และมีคาความตานทานแรงฉีกขาดเพิ่มขึ้น แตเมื่อความเขมขนของไค<br />

โตซาน เทากับ 2% และใชสัดสวน กระดาษ: ไคโตซาน เทากับ 1: 0.75 คาความตานทานแรงฉีกขาดลดลงดังรูป (Figure 1)<br />

เนื่องจากลักษณะของกระดาษเขาใกลลักษณะของฟลม (film) มากขึ้น สงผลใหคาความตานทานแรงฉีกขาดลดลง อยางไรก็<br />

ตามคาความตานทานแรงดึงตรงกันขามกับคาความตานทานแรงฉีกขาดที่เพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะกระดาษที่ผสมไคโตซานเขมขน 2<br />

% และใชสัดสวนกระดาษ: ไคโตซาน เทากับ 1:1 มีคาความตานทานแรงดึงสูง (ไมสามารถบันทึกขอมูลได) เมื่อปริมาณความ<br />

เขมขนของไคโตซานสูงทําใหการดูดซึมน้ําลดลง หรือสามารถปองกันการดูดซึมน้ําได (Figure 2) สวนคาสีของกระดาษ พบวา<br />

คา L ลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณและสัดสวนของไคโตซาน แตคา a* และ b* มีคาสูงขึ้นเมื่อปริมาณไคซานสูงขึ้น สําหรับคาความชื้น<br />

ของกระดาษที่ผสมไคโตซาน ไมพบความแตกตางกัน แตกระดาษผสมไคโตซาน ความเขมขน 1 และ 2% และใชสัดสวน 0:1<br />

(ไมมีเยื่อกระดาษ) มีความชื้นสูงที่สุด<br />

สําหรับสมบัติการปองกันเชื้อราของกระดาษผสมไคโตซาน พบวา ในวันที่ 14 ของการทดลอง กระดาษผสมไคโตซาน<br />

ทุกความเขมขน สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราได แตกระดาษผสมไคโตซาน ความเขมขน 2% สามารถปองกันการ<br />

เจริญเติบโตของเชื้อราไดดีกวากระดาษผสมไคโตซาน ความเขมขน 1% และการผสมไคโตซานลงในกระดาษในสัดสวนที่สูงขึ้น<br />

สามารถปองกันการเจริญของเชื้อราไดดีกวาการใชไคโตซานในสัดสวนที่นอยลง (Table 1) อยางไรก็ตามความสามารถในการ<br />

ปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อราในกระดาษผสมไคโตซานแตกตางกันตามชนิดของเชื้อราที่นํามาศึกษา โดยกระดาษผสมไค<br />

โตซานสามารถปองกันการเจริญของ A. terreus ไดดีที่สุด รองลงมาคือ A. flavus และ A. niger ตามลําดับ<br />

วิจารณผล<br />

กระดาษผสมไคโตซานสามารถปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อรา สอดคลองกับงานวิจัยโดย Potinit (2000) ที่นํา<br />

กระดาษที่ผสมไคโตซานมาใชปองกันเชื้อรา ซึ่งเมื่อใชไคโตซานความเขมขนสูงขึ้น สามารถปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อราได<br />

ดียิ่งขึ้น สําหรับสมบัติทางกายภาพของกระดาษผสมไคโตซานที่มีคาความตานทานแรงฉีกขาดลดลง แตคาความตานทานแรง<br />

ดึงเพิ่มขึ้น อาจเนื่องมาจากสารที่ผสมลงในกระดาษเกิดการสรางพันธะกันขึ้นทําใหคาความตานทานแรงฉีกขาดมีคาลดลง<br />

Laohakunjit และ Noomhorm (2004) สําหรับคุณสมบัติดานอื่นๆ เชน สี ความชื้น สอดคลองกับงานของ Lertsutthiwong<br />

(1997) ที่พบวา การผสมไคโตซานในกระดาษสงผลตอสมบัติของกระดาษ เชนเดียวกับงานวิจัยโดย Potinit (2000) และ<br />

Rinaudo (2006) ที่รายงานวา กระดาษผสมไคโตซานมีความตานทานการดูดซึมน้ําไดดี เนื่องจากหมูอะมิโน (NH 2 ) ที่คารบอน<br />

ตําแหนงที่ 2 ทําใหไคโตซานไมละลายน้ํา เมื่อปริมาณไคโตซานมากขึ้นจึงสงผลใหกระดาษที่ผสมไคโตซานสามารถปองกันน้ํา<br />

ไดเพิ่มขึ้น

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!