22.02.2015 Views

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

part.6 - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

62 การควบคุมแมลงวันผลไมแบบพื้นที่กวาง ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร<br />

ผูอื่นมาหยิบจับซึ่งอาจไดรับอันตรายจากสารเคมีได โดยแผนลอแมลงวันผลไมดังกลาวจะมีประสิทธิภาพ ประมาณ 4-6<br />

สัปดาห ขึ้นอยูกับปจจัยที่อาจทําใหสารเคมีเสื่อมสภาพไดแก ปริมาณน้ําฝนและแสงแดด<br />

จาก Table 1 แสดงจํานวนแมลงวันผลไมที่เขากับดัก (Monitor traps) ทั้ง 34 กับดักพบวา วิธีการควบคุมการระบาด<br />

ของแมลงวันผลไมโดยใชวิธี MAT การทําความสะอาดสวน ในชวงเดือน มี.ค.– ก.ค. 2549 พบแมลงวันผลไมที่เขากับดัก คิด<br />

เปน 12 33 22 20 และ 17 เปอรเซ็นตตามลําดับ ในขณะที่เมื่อเทียบจํานวนแมลงป 2548 สอดคลองกับความเสียหายของ<br />

มะปรางหวานใน Table 2 พบวา บางสวนถูกแมลงวันผลไมทําลายสูงถึง 43 เปอรเซ็นต ในขณะที่ ป 2549 การทําลายของ<br />

แมลงวันผลไมสูงสุดเหลือเพียง 26 เปอรเซ็นต หลังจากนั้นในป 2550 พบวาการระบาดของแมลงวันผลไมจะเริ่มคอยๆ ขยับตัว<br />

และระบาดสูงขึ้นเนื่องจากไมมีการใชวิธี MAT เกษตรกรไมสามารถรวมกลุมเพื่อดําเนินการควบคุมแมลงวันผลไมแบบตอเนื่อง<br />

โดยใชงบประมาณของตนเอง นอกจากนี้ยังขาดความรวมมือกับชุมชนในพื้นที่ ที่เปนแหลงขยายพันธุของแมลงวันผลไม เชน<br />

สวนหลังบาน หรือผลไมในบริเวณบานที่ปลูกเพื่อตองการรมเงา หรือสวนของนายทุนตางๆ ถาจะไดรับความรวมมือการ<br />

ดําเนินงานควบคุมแมลงวันผลไมจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น สอดคลองกับรายงานของ IAEA (2005) การควบคุมแมลงวันผลไม<br />

แบบพื้นที่กวางจะมีประสิทธิภาพสูงหรือต่ําขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง ไดแก เทคนิค นโยบายภาครัฐ ความรวมมือของชุมชน<br />

ความตอเนื่อง งบประมาณ ระยะเวลา การประชาสัมพันธ เปนตน<br />

สรุป<br />

แมลงวันผลไมที่ระบาดและทําลายเศรษฐกิจของผู ปลูกผลไม ต.สาริกา และ ต.หินตั้ง อ.เมือง จ.นครนายก คือ<br />

แมลงวันผลไมชนิด B. dorsalis โดยจะระบาดและทําความเสียหาย ตั้งแตเดือน ม.ค.-ก.ย. และสูงสุดประมาณเดือน พ.ค. ของ<br />

ทุกๆ ป การควบคุมและกําจัดแมลงวันผลไมโดยใชหลักของการควบคุมแมลงวันแบบพื้นที่กวาง โดยใชสารลอเพื่อกําจัดเพศผู<br />

(MAT) ครอบคลุมทั้งพื้นที่พรอมๆ กัน ผสมผสานกับการเก็บผลไมที่รวงหลนไปทําลายสามารถลดแมลงวันผลไมที่เขากับดักได<br />

43-91%<br />

เอกสารอางอิง<br />

กรมวิชาการเกษตร. 2544. แมลงวันผลไมในประเทศไทย. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ.<br />

244 น.<br />

FAO/IAEA. 2003. Trapping guidelines for area-wide fruit fly programme. Vienna. Austria. 47 p.<br />

International Atomic Energy Agency (IAEA). 2005. Sterile Insect Technique. Vienna. Austria. 787 p.<br />

Seewooruthun,S.I., S. Permalloo, B. Gungah, A.R. Soonnoo and M. Alleck. 2000. Eradication of an exotic fruit fly<br />

from Mauritius. of International Conference on Area-Wide Control of Fruit Flies and Other Insect Pests.<br />

May 28 - June 5,1998. Penang, Malaysia. p. 389-394.<br />

White, L.M. and E.M. Marlene. 1992. Fruit flies of significance. Their identification and bionomics. C.A.B.<br />

International in association with ACIAR (Australian Centre for International Agricultural Research)<br />

International Institute of Entomology. London. UK. 601 p.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!