part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

60 การควบคุมแมลงวันผลไมแบบพื้นที่กวาง ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร คํานํา แมลงวันผลไมจัดเปนแมลงศัตรูพืชที่สําคัญที่สุดของไมผลในประเทศไทย ทําใหผลไมเนาเสีย กอใหเกิดความเสียหาย ตอเศรษฐกิจของประเทศ เกษตรกรตองใชสารเคมีในการกําจัดแมลงวันผลไมกอนที่แมลงจะเขาทําลายผลผลิตใหไดรับความ เสียหาย โดยดําเนินการควบคุมและกําจัดเฉพาะสวนของตนเองเทานั ้น ทําใหไมสามารถควบคุมแมลงวันผลไมไดเนื่องจาก แมลงวันผลไมที่อาศัยหรือหลบซอนอยูบริเวณใกลเคียงเชน สวนผลไมภายในบานเรือนหรือเรียกวาสวนหลังบาน สวนที่ไมไดรับ การดูแล พื้นที่สาธารณะ และสามารถอพยพเขามาทําลายและขยายพันธุใหม ทําใหเกษตรกรตองฉีดพนสารเคมีในปริมาณ มากและตองใชสารเคมีที่มีพิษสูง ฉีดพนเปนระยะๆ อยางตอเนื่องสงผลใหมีสารเคมีตกคางอยูในผลผลิต เปนปญหามากมาย ทั้งทางตรงและทางออมตอทั้งสิ่งแวดลอมตอสุขอนามัยของเกษตรกรและประชาชนทั่วไป การจัดทําเขตควบคุมแมลงวันผลไม แบบพื้นที่กวางโดยวิธีการผสมผสาน เปนการบริหารจัดการควบคุมแมลงวันผลไมอยางเปนระบบครอบคลุมทั้งพื้นที่ มีการ จัดเก็บขอมูล เฝาระวังการระบาดของแมลงอยางตอเนื่อง และนําวิธีการควบคุมแมลงวันผลไมหลายๆ วิธีมาผสมผสาน กอนที่ แมลงวันผลไมจะระบาด ซึ่งเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปและประสบความสําเร็จในหลายประเทศทั่วโลก ไดแก ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก กัวเตมาลา อารเจนตินา และสเปน เปนตน กลุมวิจัยและพัฒนานิวเคลียร สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ จึงตั้ง โครงการเขตควบคุมแมลงวันผลไมแบบพื้นที่กวางโดยวิธีการผสมผสาน อ.เมือง จ.นครนายก เพื่อพัฒนาและสงเสริมใหเปน พื้นที่นํารองที่มีการควบคุมแมลงวันผลไมอยางเปนระบบแบบยั่งยืน เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตทํารายไดใหแกเกษตรกรที่ปลูกไม ผล ในพื้นที่โครงการตอไป อุปกรณและวิธีการ 1. กําหนดขอบเขตพื้นที่โครงการ ณ ตําบลหินตั้ง และตําบลสาริกา อ.เมือง จ.นครนายก พรอมสํารวจและศึกษา นิเวศวิทยาของแมลงวันผลไมที่ระบาดในพื้นที่โครงการ โดยใชกับดักชนิด Steiner ซึ่งมีสวนผสมของเมทธิลยูจินอล ผสมกับ มาลาไธออนในสัดสวน 3:1 โดยวางกับดักในระยะหางกันประมาณ 1 กิโลเมตร ตามแนวเสนทางเดินรถ โดยใช GPS กําหนด ระยะหางครอบคลุมทั้งพื้นที่ เปลี่ยนกับดักทุกๆ 2 สัปดาห นําแมลงวันผลไมที่เขากับดักมาแยกชนิดและบันทึกจํานวน ตั้งแตเริ่ม จนจบโครงการตามวิธีการของ FAO/IAEA (2003) 2. สุมตัวอยางผลไมที่มีลักษณะผิวบาง เนื้อนุมและผลไมเศรษฐกิจ เพื่อตรวจสอบความเสียหายหรือการทําลายของ แมลงวันผลไม โดยนําผลที่มีหนอนแมลงวันผลไมมาวางบนภาชนะที่บรรจุขี้เลื่อย เพื่อใหหนอนเขาดักแด สวนฝากลองทําการ เจาะรูและติดมุงลวดเพื่อระบายอากาศและปองกันแมลงวันผลไมหรือแมลงชนิดอื่นจากภายนอกเขาไปในกลอง ทิ้งไวประมาณ 1 สัปดาห ทําการรอนดักแดออกจากขี้เลื่อย นําดักแดที่ไดนําใสกลองพลาสติกใส รอจนกระทั่งแมลงออกเปนตัวเต็มวัย นับ จํานวนและแยกชนิดของแมลงวันผลไมที่เขาทําลายผลไมตามวิธีการของ White และ Marlene (1992) บันทึกขอมูล 3. ผสมผสานวิธีการควบคุมแมลงวันผลไมโดยเริ่มดําเนินการกอนที่การระบาดของแมลงจะเริ่มสูงขึ้นและกอนที่ผลิต ผลจะเริ่มออก กําจัดแมลงวันผลไมเพศผู โดยใช Male annihilation technique (MAT) โดยตัดแผนชานออย ขนาดกวาง x ยาว ประมาณ 5 x 5 เซนติเมตร จุมสารละลายที่มีสวนผสมของ เมทธิลยูจินอล กับมาลาไธออน ในสัดสวน 3:1 ประมาณ 10 ซีซี จํานวน 1 แผน:ไร แขวนในสวนมะปรางหวาน มะยงชิดและบริเวณสวนหลังบาน กระจายครอบคลุมทั่วพื้นที่ปลูกโดยแขวน ทั้งสิ้น 3 ครั้ง ครั้งละ 6 สัปดาห โดยเริ่มแขวนเดือนมีนาคม และสิ้นสุดเดือนมิถุนายน 2549 แนะนําใหเกษตรกรทําความสะอาดแปลง (Sanitation) เก็บผลไมรวงหลนออกจากพื้นที่หรือทําลาย และหอผลไมดวย กระดาษกอนที่ผลไมจะถูกทําลาย ผลการทดลอง ในป 2548 ตั้งแตเดือน มกราคม-ธันวาคม พบวาแมลงวันผลไมที่เขากับดัก และแยกชนิด พบวามี 5 ชนิดไดแก Bactrocera dorsalis B. correcta B. umbrosa B. tuberculata และ B. diversa ซึ่งสอดคลองกับเอกสารของกรมวิชาการ เกษตร (2544) โดยพบแมลงวันผลไมชนิด B. dorsalis มากที่สุดในสัดสวน 97.67 1.76 0.53 0.02 และ 0.02 ตามลําดับ โดย ประชากรแมลงวันผลไมเริ่มสูงขึ้นตั้งแตเดือนมีนาคม และสูงสุดประมาณเดือนพฤษภาคม จากนั้นเริ่มลดลงและอยูในระดับต่ํา ประมาณเดือน ตุลาคม-ธันวาคม (Table 1)

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 การควบคุมแมลงวันผลไมแบบพื้นที่กวาง 61 Table 1 The number of fruit flies in methyl eugenol traps during 2005–2007 Month The number of fruit flies in methyl eugenol traps (No.) The number of fruit flies in methyl eugenol traps compared with the year 2005 (%) 2005 2006 2007 2005 2006 2007 January 38,350 9,799 7,949 100 26 21 February 68,020 8,684 23,743 100 13 35 March 126,790 27,671 91,693 100 12 72 April 250,385 82,949 135,073 100 33 54 May 282,878 62,253 136,674 100 22 48 June 202,874 39,677 72,664 100 20 56 July 104,156 17,598 44,462 100 17 43 August 48,367 4,295 11,120 100 9 23 September 5,618 2,236 6,500 100 40 116 October 6,357 1,614 8,356 100 25 131 November 5,492 3,126 8,696 100 57 158 December 11,671 4,101 14,616 100 35 125 ทําการสุมผลไมตลอดป 2548 จํานวนทั้งสิ้น 2,179 ผล ประมาณ 232 กก. พบแมลงวันผลไมที่ทําลายผลไมในพื้นที่ ไดแก B. dorsalis และความเสียหายของมะปรางหวานที่สุมมาตรวจสอบตั้งแตป 2548-50 พบวาความเสียหายจะสอดคลอง กับจํานวนแมลงที่เขากับดัก ซึ่งแสดงไวใน Table 2 Table 2 The infestation level of Marian plum fruits were infested by fruit flies during 2005-2007 Host Infestation (%) 2005 2006 2007 Marian plum (Bouae burmanica) 43 26 38 วิจารณผล ทําการสํารวจพื้นที่โครงการทั้งหมดโดยนําเครื่องกําหนดพิกัด (GPS) เพื่อกําหนดพิกัดในการแขวนกับดักตรวจสอบ (Monitor traps) ทุกๆ 1 กิโลเมตรตามแนวถนน ทั้งสิ้น 34 กับดัก ครอบคลุมรวบพื้นที่ประมาณ 35,000 ไร ในขณะที่มีพื้นที่ปลูก ไมผลสําคัญทางเศรษฐกิจ คือ มะปราง มะมวงและสมโอ ประมาณ 11,000 ไร การกระจายตัวของสวนผลไมมีลักษณะแบบ กระจายสลับกับชุมชนและพื้นที่วางเปลา กับดักทั้ง 34 กับดัก จะไมมีการเคลื่อนยาย แตจะทําการเปลี่ยนทุกๆ 2 สัปดาห เพื่อ นําตัวเต็มวัยของแมลงวันผลไมที่เขากับดักไปนับจํานวนและแยกชนิด พบวาแมลงวันผลไมที่เขากับดักมากที่สุดคือ B.dorsalis และจะเริ่มเขากับดักหรือระบาดประมาณ เดือนกุมภาพันธ ผลไมที่เปนแหลงขยายพันธุหรือแหลงหลบซอนของแมลงวันผลไม B. dorsalis ไดแก ชมพู มะเฟอง มะมวงพันธุพื้นบาน ซึ่งสวนใหญจะปลูกไวแตไมไดดูแลหรือปองกัน โดยเฉพาะชมพูและ มะเฟอง จะใหผลผลิตตลอดทั้งป ดังนั้นจึงเปนสาเหตุทําใหแมลงวันผลไมสามารถขยายพันธุไดตลอดทั้งป ป 2549 ทําการควบคุมแมลงวันผลไมในพื้นที่กอนที่แมลงจะระบาด โดยใช MAT โดยนําแผนชานออยจุมสารลอ แมลงวันผลไมเพศผู ซึ่งประกอบดวย เมทธิลยูจินอล ผสม มาลาไธออน สัดสวน 3:1 แขวนไรละ 1 แผน ครอบคลุมพื้นที่ปลูก มะปรางหวาน มะยงชิด และบริเวณสวนหลังบาน คลายกับวิธีการของ Seewooruthun et.al. (2000) โดยในการแขวนนั้นควร แขวนในทรงพุมไมใหถูกแสงแดดโดยตรง เพื่อยืดอายุและแขวนสูงจากพื้นประมาณ 1.8-2.0 เมตร เพื่อปองกันไมใหเด็กหรือ

ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 การควบคุมแมลงวันผลไมแบบพื้นที่กวาง 61<br />

Table 1 The number of fruit flies in methyl eugenol traps during 2005–2007<br />

Month<br />

The number of fruit flies in methyl eugenol traps<br />

(No.)<br />

The number of fruit flies in methyl eugenol traps<br />

compared with the year 2005 (%)<br />

2005 2006 2007 2005 2006 2007<br />

January 38,350 9,799 7,949 100 26 21<br />

February 68,020 8,684 23,743 100 13 35<br />

March 126,790 27,671 91,693 100 12 72<br />

April 250,385 82,949 135,073 100 33 54<br />

May 282,878 62,253 136,674 100 22 48<br />

June 202,874 39,677 72,664 100 20 56<br />

July 104,156 17,598 44,462 100 17 43<br />

August 48,367 4,295 11,120 100 9 23<br />

September 5,618 2,236 6,500 100 40 116<br />

October 6,357 1,614 8,356 100 25 131<br />

November 5,492 3,126 8,696 100 57 158<br />

December 11,671 4,101 14,616 100 35 125<br />

ทําการสุมผลไมตลอดป 2548 จํานวนทั้งสิ้น 2,179 ผล ประมาณ 232 กก. พบแมลงวันผลไมที่ทําลายผลไมในพื้นที่<br />

ไดแก B. dorsalis และความเสียหายของมะปรางหวานที่สุมมาตรวจสอบตั้งแตป 2548-50 พบวาความเสียหายจะสอดคลอง<br />

กับจํานวนแมลงที่เขากับดัก ซึ่งแสดงไวใน Table 2<br />

Table 2 The infestation level of Marian plum fruits were infested by fruit flies during 2005-2007<br />

Host Infestation (%)<br />

2005 2006 2007<br />

Marian plum (Bouae burmanica) 43 26 38<br />

วิจารณผล<br />

ทําการสํารวจพื้นที่โครงการทั้งหมดโดยนําเครื่องกําหนดพิกัด (GPS) เพื่อกําหนดพิกัดในการแขวนกับดักตรวจสอบ<br />

(Monitor traps) ทุกๆ 1 กิโลเมตรตามแนวถนน ทั้งสิ้น 34 กับดัก ครอบคลุมรวบพื้นที่ประมาณ 35,000 ไร ในขณะที่มีพื้นที่ปลูก<br />

ไมผลสําคัญทางเศรษฐกิจ คือ มะปราง มะมวงและสมโอ ประมาณ 11,000 ไร การกระจายตัวของสวนผลไมมีลักษณะแบบ<br />

กระจายสลับกับชุมชนและพื้นที่วางเปลา กับดักทั้ง 34 กับดัก จะไมมีการเคลื่อนยาย แตจะทําการเปลี่ยนทุกๆ 2 สัปดาห เพื่อ<br />

นําตัวเต็มวัยของแมลงวันผลไมที่เขากับดักไปนับจํานวนและแยกชนิด พบวาแมลงวันผลไมที่เขากับดักมากที่สุดคือ B.dorsalis<br />

และจะเริ่มเขากับดักหรือระบาดประมาณ เดือนกุมภาพันธ ผลไมที่เปนแหลงขยายพันธุหรือแหลงหลบซอนของแมลงวันผลไม<br />

B. dorsalis ไดแก ชมพู มะเฟอง มะมวงพันธุพื้นบาน ซึ่งสวนใหญจะปลูกไวแตไมไดดูแลหรือปองกัน โดยเฉพาะชมพูและ<br />

มะเฟอง จะใหผลผลิตตลอดทั้งป ดังนั้นจึงเปนสาเหตุทําใหแมลงวันผลไมสามารถขยายพันธุไดตลอดทั้งป<br />

ป 2549 ทําการควบคุมแมลงวันผลไมในพื้นที่กอนที่แมลงจะระบาด โดยใช MAT โดยนําแผนชานออยจุมสารลอ<br />

แมลงวันผลไมเพศผู ซึ่งประกอบดวย เมทธิลยูจินอล ผสม มาลาไธออน สัดสวน 3:1 แขวนไรละ 1 แผน ครอบคลุมพื้นที่ปลูก<br />

มะปรางหวาน มะยงชิด และบริเวณสวนหลังบาน คลายกับวิธีการของ Seewooruthun et.al. (2000) โดยในการแขวนนั้นควร<br />

แขวนในทรงพุมไมใหถูกแสงแดดโดยตรง เพื่อยืดอายุและแขวนสูงจากพื้นประมาณ 1.8-2.0 เมตร เพื่อปองกันไมใหเด็กหรือ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!