part.6 - CRDC

part.6 - CRDC part.6 - CRDC

crdc.kmutt.ac.th
from crdc.kmutt.ac.th More from this publisher
22.02.2015 Views

54 ประสิทธิภาพของสารปองกัน ปที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม-เมษายน 2552 ว. วิทยาศาสตรเกษตร เปรียบเทียบตามลําดับ ทั้งในสภาพเรือนทดลองและแปลงนาทดลอง ตลอดจนบนพันธขาวพิษณุโลก 2 และขาวเจาหอมคลอง หลวง 1 เปนไปในทิศทางเดียวกัน ทําใหเกิดแนวทางที่จะนําเอาชนิดของสารปองกันกําจัดโรคพืชไปใชเปนคําแนะนําในการ ปองกันกําจัดโรคขอบใบแหง ในกรณีที่เกษตรกรมีการปลูกพันธุขาวที่มีความออนแอตอโรคนี้ หรือนําไปใชรวมกับวิธีการปองกัน กําจัดโรคพืชแบบอื่นๆ ในรูปการปองกันกําจัดโรคพืชโดยวิธีผสมผสาน เชน การใชกับพันธุขาวที่มีความตานทานตอโรคนี้ระดับ ปานกลาง รวมกับสารปองกันกําจัดโรคพืชดังกลาว ในกรณีที่เกิดมีการระบาดของโรคนี ้อยางรุนแรง ก็จะเปนการที่จะเพิ่ม ประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไดดียิ่งขึ้น Tabte 1 Comparison of bacterial leaf blight disease severity on PSL2 variety, among different bactericides in green house, Research Group, Bureau of rice Research and Development, dry season 2007/2008. And in field trial, on PSL2 and KJHKLG1 varieties at Pathum Thani Rice Research Center, dry season, 2008. in green house trial 2007/08 in field trial dry season 2008 Treatment % disease severity % disease severity grain yield (Kg/rai) PSL2 PSL2 KJHKLG1 PSL2 KJHKLG1 1. Bactrol 79.52 b 45.69 bc 33.87 bc 412 a 260 a 2. Canoron 48.04 a 35.01 a 28.27 a 467 a 277 a 3. Cuproxat – F 77.07 b 41.74 ab 32.17 ab 432 a 250 a 4. Fuji-one 94.78 cd - - - - 5. Kanker-X 81.91 bc 47.44 bc 34.12 bc 410 a 235 a 6. Starner 92.73 cd - - - - 7. Strep-plus 84.43 bc 49.36 bcd 35.11 bc 405 a 230 a 8. Control 96.33 d 60.83 e 40.37 d 390 a 202 a % CV 12.30 18.20 17.50 18.40 19.80 Mean in the same column followed by letter are not significantly different at 5% level by DMRT เอกสารอางอิง นงรัตน นิลพานิชย วิชิต ศิริสันธนะ และพากเพียร อรัญนารถ. 2548. ประสิทธิภาพของสารปองกันกําจัดโรคพืชบางชนิดในการ ควบคุมโรคขอบใบแหง. หนา 48-49. ในรายงานประจําป 2548. สถาบันวิจัยขาว กรมวิชาการเกษตร.

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 55-58 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 55-58 (2552) การควบคุมโรคใบจุดดําลําไย โดยใชเชื้อราเอนโดไฟตในลําไย Suppression Black Spot of Longan Leaf by Longan Endophytic Fungi วันพร เข็มมุกด 1 และ พิภพ ลํายอง 2 Khemmuk, W. 1 and Lamyong, P. 2 Abstract Endophytic fungi from leaves, branches and roots of healthy longan were collected from various areas in Chiangmai and Lumphun. After triple surface sterilization, 660 endophytic fungi were isolated and grouped into 65 taxa. The experiment was conducted in a CRD with 50 treatments, 4 replications. Fifty isolates were tested in vitro by dual culture method for the inhibition efficiency on Colletotrichum sp., the causal agent of black spot. It was found that Eurotium sp., Colletotrichum sp. No.2, Mycelia Sterilia 19, Beltrania sp. and Trichoderma spp. resulted in the highest percentage of inhibition (57.35-67.89%). Four endophytic fungi (Trichoderma spp., Mycelia Sterilia 19, Colletotrichum sp. No.2 and Eurotium sp.) were applied to longan seedling at weekly intervals for 1 month. The experiment was conducted in a CRD with 5 treatments, 10 replications. The growth of longan seedling treated with endophytic fungi were increased and significantly different from control. When spraying longan seedlings with the pathogen, after treated with endophytic fungi for 1 month, it was found that longan seedling spraying with Eurotium sp. and Colletotrichum sp. No.2 exhibited the lowest disease incidence at 12.5% when compared with that of control (32.5%). Keywords : biological control, endophytic fungi, longan, longan, black spot disease บทคัดยอ แยกเชื้อราเอนโดไฟตจากใบ กิ่งและรากลําไยที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณในพื้นที่จังหวัดเชียงใหมและลําพูน โดยทํา การฆาเชื้อที่ผิวดวยวิธี Triple surface sterilization ไดเชื้อรา 660 ไอโซเลทและสามารถจัดกลุมของเชื้อราไดทั้งสิ้น 65 taxa. คัดเลือกเชื้อราเอนโดไฟตจํานวน 50 ไอโซเลทมาทดสอบความสามารถในการยับยั้งเชื้อรา Colletotrichum sp. สาเหตุโรคใบ จุดดําลําไยดวยวิธี dual culture โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD จํานวน 50 กรรมวิธี 4 ซ้ําพบวา เชื้อรา Eurotium sp. Colletotrichum sp. No.2 Mycelia Sterilia 19 Beltrania sp. และ Trichoderma spp. ใหผลการยับยั้งดีที่สุด (57.35- 67.89%) วางแผนทดสอบความสามารถของเชื้อราเอนโดไฟตตอการเจริญของตนกลาลําไย แบบ CRD จํานวน 5 กรรมวิธี 10 ซ้ํา (Trichoderma spp. Mycelia Sterilia 19 Colletotrichum sp. No.2 Eurotium sp. และชุดควบคุม) โดยฉีดพนเชื้อราเอน โดไฟตทุก 7 วันเปนเวลา 1 เดือน พบวา ตนกลาลําไยสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม และเมื่อ นํามาทดสอบความสามารถในการควบคุมโรคใบจุดดําลําไย พบวา กรรมวิธีที่ฉีดพนดวย Colletotrichum sp. No.2 และ Eurotium sp. มีดัชนีการทําลายนอยที่สุด (12.5%) เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม (32.5%) คําสําคัญ : การควบคุมโดยชีววิธี เชื้อราเอนโดไฟต ลําไย โรคใบจุดดําลําไย คํานํา การปลูกลําไยในอดีตไมคอยพบปญหาเรื่องโรคมากนัก แตในปจจุบันนี้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ โรคที่พบวามี ความสําคัญ ไดแก โรคพุมไมกวาด โรคใบจุดสนิม โรคราดํา โรคราสีชมพู โรคผลเนาหลังการเก็บเกี่ยว โรคใบหงิกและโรคใบจุด ดํา (วันเพ็ญ, 2543) ซึ่งพบวามีการระบาดทุกป แตจะควบคุมไดโดยการใชสารเคมี จึงทําใหมีการนําเขาสารเคมีและการใช สารเคมีในปริมาณมาก กอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอมทั้งยังเปนอันตรายตอเกษตรกรและผูบริโภค ดังนั้นการควบคุมโรคโดย ชีววิธี ที่มีการนําเอาจุลินทรียปฏิปกษ เชน แบคทีเรีย เชื้อรา ในสิ่งแวดลอมมาใชควบคุมเชื้อสาเหตุโรคจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งที่ 1 สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว จตุจักร กทม. 10900 1 Bureau of Rice Research and Development, Rice Department, Chatuchak, Bangkok 10900 2 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 50300 2 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University 50300

Agricultural Sci. J. 40 : 1 (Suppl.) : 55-58 (2009) ว. วิทย. กษ. 40 : 1 (พิเศษ) : 55-58 (2552)<br />

การควบคุมโรคใบจุดดําลําไย โดยใชเชื้อราเอนโดไฟตในลําไย<br />

Suppression Black Spot of Longan Leaf by Longan Endophytic Fungi<br />

วันพร เข็มมุกด 1 และ พิภพ ลํายอง 2<br />

Khemmuk, W. 1 and Lamyong, P. 2<br />

Abstract<br />

Endophytic fungi from leaves, branches and roots of healthy longan were collected from various areas in<br />

Chiangmai and Lumphun. After triple surface sterilization, 660 endophytic fungi were isolated and grouped into 65<br />

taxa. The experiment was conducted in a CRD with 50 treatments, 4 replications. Fifty isolates were tested in vitro<br />

by dual culture method for the inhibition efficiency on Colletotrichum sp., the causal agent of black spot. It was<br />

found that Eurotium sp., Colletotrichum sp. No.2, Mycelia Sterilia 19, Beltrania sp. and Trichoderma spp. resulted<br />

in the highest percentage of inhibition (57.35-67.89%). Four endophytic fungi (Trichoderma spp., Mycelia Sterilia<br />

19, Colletotrichum sp. No.2 and Eurotium sp.) were applied to longan seedling at weekly intervals for 1 month. The<br />

experiment was conducted in a CRD with 5 treatments, 10 replications. The growth of longan seedling treated with<br />

endophytic fungi were increased and significantly different from control. When spraying longan seedlings with the<br />

pathogen, after treated with endophytic fungi for 1 month, it was found that longan seedling spraying with<br />

Eurotium sp. and Colletotrichum sp. No.2 exhibited the lowest disease incidence at 12.5% when compared with<br />

that of control (32.5%).<br />

Keywords : biological control, endophytic fungi, longan, longan, black spot disease<br />

บทคัดยอ<br />

แยกเชื้อราเอนโดไฟตจากใบ กิ่งและรากลําไยที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณในพื้นที่จังหวัดเชียงใหมและลําพูน โดยทํา<br />

การฆาเชื้อที่ผิวดวยวิธี Triple surface sterilization ไดเชื้อรา 660 ไอโซเลทและสามารถจัดกลุมของเชื้อราไดทั้งสิ้น 65 taxa.<br />

คัดเลือกเชื้อราเอนโดไฟตจํานวน 50 ไอโซเลทมาทดสอบความสามารถในการยับยั้งเชื้อรา Colletotrichum sp. สาเหตุโรคใบ<br />

จุดดําลําไยดวยวิธี dual culture โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD จํานวน 50 กรรมวิธี 4 ซ้ําพบวา เชื้อรา Eurotium sp.<br />

Colletotrichum sp. No.2 Mycelia Sterilia 19 Beltrania sp. และ Trichoderma spp. ใหผลการยับยั้งดีที่สุด (57.35-<br />

67.89%) วางแผนทดสอบความสามารถของเชื้อราเอนโดไฟตตอการเจริญของตนกลาลําไย แบบ CRD จํานวน 5 กรรมวิธี 10<br />

ซ้ํา (Trichoderma spp. Mycelia Sterilia 19 Colletotrichum sp. No.2 Eurotium sp. และชุดควบคุม) โดยฉีดพนเชื้อราเอน<br />

โดไฟตทุก 7 วันเปนเวลา 1 เดือน พบวา ตนกลาลําไยสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม และเมื่อ<br />

นํามาทดสอบความสามารถในการควบคุมโรคใบจุดดําลําไย พบวา กรรมวิธีที่ฉีดพนดวย Colletotrichum sp. No.2 และ<br />

Eurotium sp. มีดัชนีการทําลายนอยที่สุด (12.5%) เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม (32.5%)<br />

คําสําคัญ : การควบคุมโดยชีววิธี เชื้อราเอนโดไฟต ลําไย โรคใบจุดดําลําไย<br />

คํานํา<br />

การปลูกลําไยในอดีตไมคอยพบปญหาเรื่องโรคมากนัก แตในปจจุบันนี้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ โรคที่พบวามี<br />

ความสําคัญ ไดแก โรคพุมไมกวาด โรคใบจุดสนิม โรคราดํา โรคราสีชมพู โรคผลเนาหลังการเก็บเกี่ยว โรคใบหงิกและโรคใบจุด<br />

ดํา (วันเพ็ญ, 2543) ซึ่งพบวามีการระบาดทุกป แตจะควบคุมไดโดยการใชสารเคมี จึงทําใหมีการนําเขาสารเคมีและการใช<br />

สารเคมีในปริมาณมาก กอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอมทั้งยังเปนอันตรายตอเกษตรกรและผูบริโภค ดังนั้นการควบคุมโรคโดย<br />

ชีววิธี ที่มีการนําเอาจุลินทรียปฏิปกษ เชน แบคทีเรีย เชื้อรา ในสิ่งแวดลอมมาใชควบคุมเชื้อสาเหตุโรคจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งที่<br />

1 สํานักวิจัยและพัฒนาขาว กรมการขาว จตุจักร กทม. 10900<br />

1 Bureau of Rice Research and Development, Rice Department, Chatuchak, Bangkok 10900<br />

2 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 50300<br />

2 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University 50300

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!